เล่ม ๑๓๘ ตอนท่ี ๑๑ ก หน้า ๔๔ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔
ราชกจิ จานเุ บกษา
(๓) บุคคลซ่ึงตามพฤติการณ์มีอานาจควบคุมหรือครอบงากรรมการ ผู้จัดการ รองผู้จัดการ
ผู้ช่วยผู้จัดการ พนักงานเจ้าหน้าที่ของผู้ให้บริการทางการเงิน หรือเจ้าหน้าท่ีของสหกรณ์ ให้ปฏิบัติ
ตามคาสัง่ ของตนในการดาเนนิ งานของสหกรณห์ รอื ผู้ใหบ้ รกิ ารทางการเงิน
“ที่ปรึกษาของสหกรณ์” หมายความวา่ บุคคลซ่ึงไดร้ ับแตง่ ต้งั ให้ทาหน้าท่ีในการให้ความเหน็
หรือคาแนะนาแกส่ หกรณ์โดยอาจมีคา่ ตอบแทนหรอื ไม่ก็ได้ แต่ไมร่ วมถึงบคุ คลซง่ึ รบั จา้ งทางานใหแ้ กส่ หกรณ์
โดยมีลักษณะของงานที่ใช้ความรู้ความสามารถพิเศษด้านเทคนิค หรือใช้ความชานาญเฉพาะด้าน เช่น
ทปี่ รึกษางานบญั ชี ทีป่ รึกษากฎหมาย ทีป่ รึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศ
“ผู้ซ่ึงเก่ยี วขอ้ ง” หมายความวา่ บคุ คลซึง่ มคี วามสัมพันธก์ บั อกี บคุ คลหนง่ึ ในลกั ษณะดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) เป็นค่สู มรส
(๒) เปน็ บุตรหรือบุตรบุญธรรมซึ่งยงั ไม่บรรลนุ ิตภิ าวะ
(๓) เป็นนิติบุคคลซ่ึงบุคคลน้ันหรือบุคคลตาม (๑) หรือ (๒) มีอานาจในการจัดการ
หรอื ควบคมุ
หมวด ๑
การกาหนดขนาดของสหกรณ์
ขอ้ ๒ สหกรณแ์ บง่ เปน็ สองขนาด ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) สหกรณ์ขนาดใหญ่ ได้แก่ สหกรณ์ซ่ึงมีขนาดสินทรัพย์ต้ังแต่ห้าพันล้านบาทข้ึนไป
และชมุ นุมสหกรณ์
(๒) สหกรณ์ขนาดเล็ก ไดแ้ ก่ สหกรณ์ซึง่ มขี นาดสินทรพั ย์น้อยกวา่ ห้าพันลา้ นบาท
ขนาดสินทรัพย์ของสหกรณ์ตามวรรคหน่ึง ให้พิจารณาจากข้อมูลงบการเงินของสหกรณ์
ในปบี ัญชลี ่าสุดทผี่ สู้ อบบญั ชไี ดต้ รวจสอบและแสดงความเห็นแลว้
ขอ้ ๓ เพ่อื ประโยชนใ์ นการกาหนดขนาดของสหกรณ์ ให้ดาเนินการดังตอ่ ไปนี้
(๑) ในกรณีที่มีการจดทะเบยี นชมุ นมุ สหกรณ์ ให้นายทะเบียนสหกรณ์ประกาศรายชอ่ื ชุมนมุ
สหกรณ์ดงั กล่าวเปน็ สหกรณข์ นาดใหญภ่ ายในสามสบิ วนั นับแต่วันทรี่ ับจดทะเบียน
(๒) ในกรณีที่สหกรณ์ขนาดเล็กแห่งใดมีขนาดสินทรัพย์ที่มีลักษณะเป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่
ให้นายทะเบียนสหกรณ์ประกาศรายชื่อสหกรณ์ดังกล่าวเป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่ภายในสามสิบวันนับแต่
วันทน่ี ายทะเบียนสหกรณ์ไดร้ บั สาเนารายงานประจาปีและงบการเงนิ ประจาปี
(๓) ในกรณีที่สหกรณ์ขนาดใหญ่แห่งใดมีขนาดสินทรัพย์ลดลงต่ากว่าขนาดที่กาหนดให้เป็น
สหกรณ์ขนาดใหญ่เป็นเวลาสามปีติดตอ่ กัน และสหกรณ์นั้นยื่นคาร้องโดยแสดงเหตุผลและความจาเป็น
ต่อนายทะเบียนสหกรณ์เพ่ือขอยกเลิกการเป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่ ให้นายทะเบียนสหกรณ์ประกาศถอนช่ือ
สหกรณ์ดังกล่าวจากการเป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่เมื่อพิจารณาแล้วเห็นด้วยกับเหตุผลและความจาเป็น
ทัง้ น้ี ภายในสามสบิ วันนบั แตว่ นั ทนี่ ายทะเบียนสหกรณ์ได้รับคารอ้ ง
ÊË¡Ã³Í ÍÁ·Ã¾Ñ ¤ ÃÙʡŹ¤Ã ¨ํÒ¡´Ñ 145
เล่ม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๑ ก หน้า ๔๕ ๑๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔
ราชกจิ จานเุ บกษา
ขอ้ ๔ การประกาศรายช่ือสหกรณ์ขนาดใหญ่และการประกาศถอนช่ือออกจากการเป็น
สหกรณ์ขนาดใหญ่ตามข้อ ๓ ให้ดาเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ในกรณีที่ไม่สามารถ
ดาเนินการหรือมีเหตุอื่นทาให้ไม่สามารถดาเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ ให้ประกาศรายช่ือ
ไวใ้ นท่ีเปดิ เผย ณ สานักงานใหญ่ และสานักงานสาขาของสหกรณน์ นั้ ทุกแหง่
หมวด ๒
อานาจหน้าทข่ี องคณะกรรมการ
และคุณสมบตั ิและลักษณะต้องหา้ มของกรรมการและผจู้ ัดการ
ขอ้ ๕ นอกจากอานาจหน้าท่ีตามมาตรา ๕๑ และมาตรา ๕๑/๑ ให้คณะกรรมการ
ของสหกรณ์ขนาดใหญ่มอี านาจหนา้ ทด่ี ังตอ่ ไปนี้ด้วย
(๑) กาหนดนโยบาย ทิศทาง และเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ในภาพรวมของสหกรณ์เพ่ือเสนอ
ท่ีประชุมใหญ่พิจารณาอนุมัติ รวมทั้งกากับดูแลให้ฝ่ายจัดการดาเนนิ การให้เป็นไปตามนโยบายดังกล่าว
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล
(๒) จัดให้มีข้อกาหนดเก่ียวกับจริยธรรมของกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอานาจในการจัดการ
ทป่ี รกึ ษาของสหกรณ์ และเจา้ หน้าทีข่ องสหกรณ์ เพือ่ เป็นแนวทางปฏบิ ตั ิของสหกรณ์
(๓) จัดให้มีนโยบายและกระบวนการบรหิ ารความเสี่ยงดา้ นตา่ ง ๆ ของสหกรณ์ โดยอย่างน้อย
จะต้องครอบคลุมถึงความเส่ียงด้านสินเช่ือการลงทุน สภาพคล่อง และปฏิบัติการ รวมทั้งจัดให้มี
การทบทวนนโยบายและกระบวนการบริหารความเสี่ยงอย่างสมา่ เสมอ พร้อมทั้งรายงานผลการดาเนินการ
ดังกลา่ วให้ที่ประชุมใหญ่ทราบ
(๔) กากับดูแลฝ่ายจัดการให้จัดการงานของสหกรณ์อย่างมปี ระสิทธภิ าพ และดาเนนิ กิจการ
ตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณแ์ ละกฎหมายอนื่ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งอย่างเคร่งครดั
(๕) จัดให้มรี ะบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบกจิ การทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ
(๖) กากับดูแลให้ฝ่ายจัดการรายงานเรือ่ งท่ีสาคัญของสหกรณ์ต่อคณะกรรมการอย่างรวดเร็ว
และมีกระบวนการนาเสนอข้อมูลและข้อเท็จจริงอย่างครบถ้วนเพื่อให้คณะกรรมการสามารถปฏิบัติ
ตามอานาจหนา้ ทไี่ ด้อย่างสมบรู ณ์
(๗) กาหนดนโยบายและแผนเกี่ยวกับการฝาก การลงทุน การกู้ยืมจากสหกรณ์อ่ืนและ
สถาบนั การเงนิ และการคา้ ประกันเพ่ือเสนอต่อท่ปี ระชมุ ใหญ่ของสหกรณ์พจิ ารณาอนมุ ัติ
(๘) พจิ ารณาแต่งตั้งและกาหนดอานาจหนา้ ที่ของคณะอนกุ รรมการตา่ ง ๆ ตามความจาเปน็
(๙) กากับดูแลสหกรณ์ให้มีการจัดทาและเก็บรักษาบัญชีและเอกสารที่เกี่ยวข้องเพ่ือแสดง
ฐานะการเงินและผลการดาเนินงานท่ีแท้จริงของสหกรณ์ โดยต้องเปิดเผยให้สมาชิกได้รับทราบและ
สามารถตรวจสอบได้
146 ÊË¡Ã³Í ÍÁ·Ã¾Ñ ¤ÃÙʡŹ¤Ã ¨Òํ ¡´Ñ
เล่ม ๑๓๘ ตอนท่ี ๑๑ ก หน้า ๔๖ ๑๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔
ราชกิจจานุเบกษา
(๑๐) กากับดูแลสหกรณ์ให้มีการจัดส่งข้อมูลและรายงานต่าง ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
และกฎหมายอ่นื ทเ่ี กย่ี วขอ้ งภายในระยะเวลาท่กี าหนด
(๑๑) ปฏิบัติตามและกากับดูแลสหกรณ์ให้ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
และกฎหมายอน่ื ท่ีเกย่ี วข้อง
การจัดส่งข้อมูลและรายงานตาม (๑๐) นายทะเบียนสหกรณ์จะกาหนดให้ดาเนินการ
โดยวธิ กี ารทางอเิ ล็กทรอนิกสก์ ไ็ ด้
ขอ้ ๖ ให้คณะกรรมการของสหกรณ์ขนาดใหญ่แต่งต้ังคณะอนุกรรมการเพ่ือทาหน้าท่ี
และรับผิดชอบการดาเนินการเฉพาะด้าน ซึ่งอย่างน้อยต้องมีคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง
โดยมีองคป์ ระกอบและอานาจหน้าท่ีตามทก่ี าหนดในข้อบังคับของสหกรณน์ ้ัน
ขอ้ ๗ สหกรณ์ที่มีสัดส่วนการลงทุนมากกว่าร้อยละย่ีสิบของทุนเรือนหุ้นและทุนสารอง
หรอื เงนิ ลงทนุ มากกว่าหนึ่งพันล้านบาท ใหค้ ณะกรรมการแตง่ ต้ังคณะอนุกรรมการการลงทนุ เพื่อจดั ทา
นโยบายและแผนการลงทุนเสนอต่อคณะกรรมการและที่ประชุมใหญ่พิจารณาอนุมัติ รวมท้ังดูแลและ
จดั การลงทนุ ใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายและแผนการลงทนุ ดังกลา่ ว
ให้คณะอนุกรรมการการลงทุนตามวรรคหนึ่ง มีองค์ประกอบและอานาจหนา้ ที่ ตามท่กี าหนด
ไวใ้ นขอ้ บงั คับของสหกรณ์นนั้
ข้อ ๘ สหกรณ์ต้องมีกรรมการซงึ่ เป็นผู้มีคุณวุฒิดา้ นการเงิน การบัญชี การบริหารจัดการ
เศรษฐศาสตร์ หรือผ่านการฝึกอบรมตามหลักสูตรในด้านดังกล่าวหรือด้านอ่ืนตามท่ีคณะกรรมการ
พัฒนาการสหกรณแ์ หง่ ชาติกาหนด
สหกรณ์ขนาดเล็กต้องมีกรรมการซึง่ เป็นผู้มีคุณวฒุ หิ รือผ่านการฝึกอบรมหลกั สูตรตามวรรคหนง่ึ
อย่างน้อยหน่งึ คน และสหกรณ์ขนาดใหญ่ตอ้ งมกี รรมการซงึ่ เปน็ ผู้มีคณุ วฒุ หิ รือผา่ นการฝึกอบรมหลักสตู ร
ตามวรรคหน่งึ อย่างนอ้ ยสามคน
ขอ้ ๙ นอกจากลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๕๒ แล้ว กรรมการและผู้จัดการของสหกรณ์
ขนาดใหญ่ต้องไม่มลี ักษณะต้องหา้ มดงั ต่อไปนีด้ ว้ ย
(๑) เคยถูกธนาคารแหง่ ประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการกากบั หลักทรพั ย์และตลาดหลักทรพั ย์
หรือสานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ส่ังถอดถอนจากการเป็น
กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอานาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของผู้ให้บริการทางการเงินซึ่งอยู่ภายใต้
การกากับดูแลของหน่วยงานดังกล่าว เว้นแต่จะพ้นระยะเวลาท่ีกาหนดห้ามดารงตาแหน่งดังกล่าวแล้ว
หรือไดร้ ับการยกเว้นจากหนว่ ยงานกากับดูแล แลว้ แตก่ รณี
(๒) มีหรือเคยมีส่วนร่วมในการประกอบธุรกิจหรือการดาเนินกิจการใด ๆ อันผิดกฎหมาย
ท่ีมีลกั ษณะเปน็ การหลอกลวงผ้อู ื่นหรอื ฉ้อโกงประชาชน
(๓) เปน็ หรอื เคยเปน็ บคุ คลลม้ ละลาย
ÊˡóÍÍÁ·ÃѾ¤ÃÊÙ ¡Å¹¤Ã ¨ํÒ¡´Ñ 147
เล่ม ๑๓๘ ตอนท่ี ๑๑ ก หน้า ๔๗ ๑๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔
ราชกิจจานุเบกษา
(๔) เป็นกรรมการหรือผู้จัดการของสหกรณ์อ่ืน เว้นแต่เป็นกรรมการของชุมนุมสหกรณ์
ท่ีสหกรณ์น้ันเป็นสมาชิกอยไู่ ดอ้ ีกไมเ่ กินหนึ่งแหง่
(๕) เป็นกรรมการของสหกรณ์ซ่ึงพ้นจากตาแหน่งผู้จัดการสหกรณ์นั้นไม่เกินหน่ึงปี หรือ
เป็นผ้จู ดั การสหกรณซ์ งึ่ พน้ จากตาแหนง่ กรรมการของสหกรณ์น้นั ไม่เกนิ หนง่ึ ปี แล้วแตก่ รณี
(๖) ผิดนัดชาระเงินต้นหรือดอกเบี้ยเกินกว่าเก้าสิบวันกับนิติบุคคลที่เป็นสมาชิกของบริษัท
ข้อมูลเครดิตตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิตในระยะเวลาสองปีก่อนวันท่ีได้รับ
การเลอื กต้ังเปน็ กรรมการหรอื วนั ที่ทาสัญญาจา้ งเปน็ ผ้จู ดั การหรือในขณะที่ดารงตาแหนง่ น้นั
(๗) ผิดนัดชาระเงินต้นหรือดอกเบ้ียกับสหกรณ์ท่ีตนเป็นสมาชิกในระยะเวลาสองปีทางบัญชี
กอ่ นวันที่ไดร้ บั การเลอื กต้ังเป็นกรรมการหรือวนั ทท่ี าสัญญาจา้ งเปน็ ผจู้ ดั การหรอื ในขณะทดี่ ารงตาแหนง่ นั้น
ขอ้ ๑๐ ให้ผู้ซ่ึงได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการและผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้จัดการ
ของสหกรณข์ นาดใหญ่ดาเนินการจัดทาหนังสอื พร้อมลงลายมือช่อื ย่นื ตอ่ สหกรณ์เพื่อรับรองตนเองว่าไม่มี
ลักษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๕๒ และมีคณุ สมบัตแิ ละไมม่ ีลักษณะต้องห้ามอ่นื ตามกฎกระทรวงนี้ และ
แนบเอกสารหลักฐานท่ีเกี่ยวขอ้ งประกอบด้วยภายในเจด็ วนั นบั แตว่ ันทไ่ี ดร้ ับเลอื กตั้งหรอื ได้รับแต่งตง้ั
ให้สหกรณ์ดาเนินการตรวจสอบคุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม และเอกสารหลักฐาน
ที่เกี่ยวข้องของบุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการหรือได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้จัดการภายในเจ็ดวัน
นับแต่วันท่ีได้รับเอกสารหลักฐานตามวรรคหนึ่ง หากเห็นว่าเอกสารหลักฐานไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน
ใหส้ หกรณ์แจง้ เปน็ หนงั สือใหบ้ คุ คลดงั กลา่ วสง่ เอกสารหลักฐานเพิ่มเตมิ ภายในเจด็ วนั นบั แตว่ ันท่ไี ดร้ บั แจง้ นนั้
ข้อ ๑๑ ในกรณีท่ีปรากฏว่าผู้ซ่ึงได้รับการเลือกต้ังเป็นกรรมการหรือได้รับการแต่งตั้งเป็น
ผู้จัดการของสหกรณ์ขนาดใหญ่ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามเป็นกรรมการหรือผู้จัดการ
ใหค้ ณะกรรมการดาเนินการ ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) แจ้งเหตุท่ีขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามให้กรรมการรายนั้นทราบเพื่อหยุดปฏิบัติ
หน้าทแี่ ละพน้ จากตาแหน่งทนั ที
(๒) มหี นงั สอื แจง้ เหตใุ นการเลิกจ้างผู้จัดการทันที
หมวด ๓
การดารงเงนิ กองทนุ ของชุมนมุ สหกรณ์
ขอ้ ๑๒ เงนิ กองทุนของชุมนมุ สหกรณ์ ประกอบด้วย
(๑) รอ้ ยละเกา้ สิบของทนุ เรือนห้นุ ท่ชี าระแล้ว
(๒) ทนุ สารอง
ขอ้ ๑๓ ให้ชุมนุมสหกรณ์ดารงอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์ไม่ต่ากว่าร้อยละสิบห้า
โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี าร ดงั ตอ่ ไปน้ี
148 ÊˡóÍÍÁ·Ã¾Ñ ¤ÃÊÙ ¡Å¹¤Ã ¨Òํ ¡´Ñ
เล่ม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๑ ก หน้า ๔๘ ๑๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔
ราชกิจจานุเบกษา
(๑) การคานวณเงินกองทุนให้นารายการทุนเรือนหุ้นท่ีชาระแล้วตามข้อ ๑๒ (๑) รวมกับ
ทุนสารองตามข้อ ๑๒ (๒) แต่ในกรณีท่ีชุมนุมสหกรณ์มีผลขาดทุนสะสมและผลขาดทุนระหว่างงวด
ใหน้ ามาหกั ออกดว้ ย
(๒) การคานวณสนิ ทรัพย์ ให้หมายถึงสนิ ทรัพยท์ กุ รายการในงบการเงิน ยกเวน้ พันธบตั รรฐั บาล
และเงินสด โดยใช้มูลค่าตามบัญชี ณ วันท่ีคานวณอัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์ หักเงินสารอง
ท่ไี ด้กนั ไวส้ าหรบั สนิ ทรพั ยน์ ัน้
หมวด ๔
การกากบั ดแู ลด้านธรรมาภบิ าลของสหกรณ์
ขอ้ ๑๔ ในการประชุมใหญ่ นอกจากเรื่องแจ้งให้ท่ปี ระชุมใหญ่ทราบเปน็ ปกตแิ ล้ว สหกรณ์
ต้องแจ้งให้ท่ีประชุมใหญท่ ราบในเรอ่ื ง ดังต่อไปนี้
(๑) ผลประโยชน์และค่าตอบแทนที่กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอานาจในการจัดการ และ
ที่ปรึกษาของสหกรณ์ ได้รับจากสหกรณ์น้ันในรอบปีบัญชีท่ีผ่านมา โดยให้สหกรณ์แสดงรายละเอียด
ดงั กล่าวเป็นรายบคุ คลในรายงานประจาปี
(๒) ข้อมูลการถูกร้องทุกข์กล่าวโทษ การถูกดาเนินคดี การถูกร้องเรียน และถูกลงโทษ
ของสหกรณ์ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา พร้อมทั้งแผนหรือแนวทางการป้องกันไม่ให้ถูกร้องทุกข์กล่าวโทษ
ถูกดาเนนิ คดี ถูกรอ้ งเรียน และถกู ลงโทษในเร่อื งดังกล่าวอีก
(๓) รายการอื่นที่คณะกรรมการหรือที่ประชุมใหญ่มีมติให้เปิดเผยแก่สมาชิก
(๔) รายการอ่ืนตามทน่ี ายทะเบยี นสหกรณ์ประกาศกาหนด
ขอ้ ๑๕ ให้สหกรณ์จัดทารายการย่อแสดงสินทรัพย์และหนี้สินตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงอื่ นไขทก่ี รมตรวจบัญชสี หกรณป์ ระกาศกาหนด
ในการจัดทารายการย่อแสดงสินทรัพย์และหนี้สินตามวรรคหนึ่ง ให้สหกรณ์ขนาดเล็กจัดทา
อย่างนอ้ ยทุกหกเดอื น และสหกรณ์ขนาดใหญ่จดั ทาทุกเดอื น
ให้สหกรณ์เปิดเผยรายการย่อแสดงสินทรัพย์และหน้ีสินท่ีได้จัดทาตามวรรคหนึ่ง โดยวิธีการ
ทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นหลัก ในกรณีที่ไม่สามารถดาเนินการหรือมีเหตุอื่นทาให้ไม่สามารถดาเนินการ
โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ ให้ประกาศรายการย่อแสดงสินทรัพย์และหนี้สินไว้ในท่ีเปิดเผย
ณ สานกั งานใหญ่ และสานกั งานสาขาของสหกรณ์นั้นทุกแหง่
ข้อ ๑๖ ให้สหกรณ์จัดส่งรายการย่อแสดงสินทรัพย์และหนี้สินตามข้อ ๑๕ ให้แก่
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์และนายทะเบียนสหกรณ์โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นหลักภายในระยะเวลาที่
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ประกาศกาหนด ในกรณีท่ีไม่สามารถดาเนินการหรือมีเหตุอ่ืนทาให้ไม่สามารถ
ดาเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ ให้จัดส่งโดยวิธีอ่ืนตามท่ีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ประกาศ
กาหนด
ÊË¡Ã³Í ÍÁ·Ã¾Ñ ¤ ÃÊÙ ¡Å¹¤Ã ¨ํÒ¡Ñ´ 149
เล่ม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๑ ก หน้า ๔๙ ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔
ราชกจิ จานเุ บกษา
ข้อ ๑๗ ในการจัดทารายการย่อแสดงสินทรัพย์และหน้ีสิน หากมีเหตุจาเป็นและสมควร
จะต้องปรับปรุงข้อมูลในรายการดังกล่าว หรือข้อมูลในรายการดังกล่าวยังไม่ได้ผ่านการตรวจสอบ
โดยผสู้ อบบัญชสี หกรณ์ ให้สหกรณ์ดาเนินการ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) ในกรณีที่มีการปรับปรุงรายการย่อแสดงสินทรัพย์และหนี้สินหลังจากท่ีได้มีการเปิดเผย
ตามขอ้ ๑๕ หรือได้จดั ส่งตามข้อ ๑๖ แลว้ ให้ระบุข้อความว่า “ฉบบั ปรับปรุง” ไวต้ รงกลางด้านบนสุด
ของรายการย่อแสดงสินทรัพย์และหน้ีสินฉบับปรับปรุงน้ัน และให้สหกรณ์น้ันเผยแพร่รายการย่อแสดง
สินทรัพย์และหน้ีสินซ่ึงได้ปรับปรุงแล้วและจัดส่งให้กรมตรวจบัญชีสหกรณ์และนายทะเบียนสหกรณ์
เพมิ่ เตมิ
(๒) ในกรณีท่ีข้อมูลในรายการย่อแสดงสินทรัพย์และหนี้สินของสหกรณ์ยังไม่ได้ผ่าน
การตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีสหกรณ์ ให้ระบุข้อความว่า “รายการย่อแสดงสินทรัพย์และหนี้สินนี้ไม่ได้ผ่าน
การตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชสี หกรณ์” ไวใ้ นรายการยอ่ แสดงสนิ ทรัพย์และหน้ีสนิ นั้นด้วย
ข้อ ๑๘ เพ่ือป้องกันการขัดกันของผลประโยชน์ในการดาเนนิ งานของสหกรณ์ ให้คณะกรรมการ
ถือปฏิบตั ิ ดังตอ่ ไปนี้
(๑) การให้สนิ เชือ่ หรอื ให้กแู้ กก่ รรมการซ่งึ เป็นสมาชกิ ต้องไม่มีเง่อื นไขหรือข้อกาหนดพิเศษและ
ต้องไม่มลี ักษณะท่ีเปน็ การเอ้ือประโยชน์ใหแ้ กบ่ ุคคลดงั กลา่ วมากกวา่ การใหส้ ินเชอ่ื หรอื ใหก้ ู้กบั สมาชกิ อื่น
(๒) การทาธุรกรรมกับกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอานาจในการจัดการ ที่ปรึกษาของสหกรณ์
หรือผู้ซ่ึงเก่ียวข้องกับบุคคลดังกล่าว ต้องไม่มีเง่ือนไขหรือข้อกาหนดพิเศษและต้องไม่มีลักษณะท่ีเป็น
การเอ้ือประโยชน์ให้แกบ่ ุคคลดังกลา่ ว
(๓) การจ่ายเงิน ทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์อื่นใด เพื่อเป็นค่าตอบแทนแก่กรรมการ
ผู้จัดการ ผู้มีอานาจในการจัดการ ท่ีปรึกษาของสหกรณ์ หรือผู้ซง่ึ เกยี่ วขอ้ งกบั บคุ คลดงั กล่าว ต้องไม่มี
ลกั ษณะเป็นการจา่ ยเพื่อเปน็ ค่าตอบแทนนอกเหนอื ไปจากบรรดาทพ่ี งึ จา่ ยตามปกติ
(๔) การขาย ให้ หรือให้เช่าทรัพย์สินใด ๆ แก่กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอานาจในการจัดการ
ท่ีปรึกษาของสหกรณ์ หรือผู้ซ่ึงเกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าว และการรับซื้อ หรือเช่าทรัพย์สินใด ๆ
จากบุคคลดังกล่าวหรือผู้ซง่ึ เก่ียวข้องกบั บุคคลดงั กล่าว ต้องเป็นการดาเนนิ การตามมูลคา่ ของทรัพย์สินนน้ั
โดยถือเอาราคาตามบัญชีของทรัพย์สินของสหกรณ์น้ันหรือราคาตลาดตามมาตรฐานการบัญชี
ของทรัพย์สินน้ัน แล้วแต่จานวนใดจะสูงกว่า โดยสหกรณ์ต้องเสนอให้ที่ประชุมใหญ่สหกรณ์เห็นชอบ
กอ่ นดาเนินการดังกลา่ ว
(๕) การพิจารณาให้สินเช่ือหรือให้กู้แก่กรรมการซึ่งเป็นสมาชิก ห้ามกรรมการซ่ึงขอสินเชื่อ
หรอื ก้เู งินและผู้ซ่งึ เกยี่ วขอ้ งกบั กรรมการซ่งึ ขอสินเชื่อหรอื กูเ้ งินเข้าร่วมพจิ ารณาในเรอ่ื งดังกลา่ ว
150 ÊˡóÍÍÁ·Ã¾Ñ ¤ÃÊÙ ¡Å¹¤Ã ¨Òํ ¡Ñ´
เล่ม ๑๓๘ ตอนที่ ๑๑ ก หน้า ๕๐ ๑๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔
ราชกิจจานเุ บกษา
(๖) การพิจารณาให้สินเช่ือหรือให้กู้แก่สหกรณ์อื่น ห้ามกรรมการซ่ึงเป็นผู้ซึ่งเกี่ยวข้องกับ
สหกรณท์ ข่ี อสนิ เชือ่ หรอื ขอกู้เขา้ รว่ มพจิ ารณาในเร่อื งดงั กล่าว
ข้อ ๑๙ สหกรณ์ต้องจัดให้มีช่องทางให้สมาชิกสามารถแจ้งปัญหาหรือข้อร้องเรียนได้
อยา่ งสะดวก โดยต้องแจ้งใหส้ มาชกิ ทราบถึงชอ่ งทาง วธิ ีการแจ้งปัญหาหรอื ข้อรอ้ งเรียน และระยะเวลา
ในการพิจารณาปัญหาหรือข้อร้องเรียนนั้น รวมท้ังจัดให้มีระบบการติดตามความคืบหน้าและแจ้งความ
คบื หน้าในการแก้ไขปัญหาหรือขอ้ รอ้ งเรยี นใหผ้ ้รู ้องเรยี นทราบเปน็ ระยะ
การแก้ไขปัญหาและข้อร้องเรียนตามวรรคหนึ่ง ต้องดาเนินการด้วยความเป็นธรรม
โดยพจิ ารณาขอ้ เท็จจรงิ และพฤติการณ์แวดลอ้ มในแตล่ ะกรณี รวมทง้ั เหตปุ ัจจัยท้งั หมดดว้ ย
ข้อ ๒๐ ให้สหกรณ์จัดให้มมี าตรการในการแกไ้ ขปญั หาและการเยียวยาหรอื ชดเชยแก่สมาชิก
ซึ่งไดร้ บั ผลกระทบจากการดาเนนิ งานของสหกรณ์ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) กาหนดมาตรฐานในการแกไ้ ขปัญหาและการเยียวยาหรอื ชดเชยสาหรับนาไปใช้กับปัญหา
ท่เี กดิ ขน้ึ อนั มลี ักษณะเดียวกันเพอ่ื ใหส้ มาชิกไดร้ บั การปฏบิ ตั ิอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
(๒) กาหนดระยะเวลาในการแก้ไขปัญหาและการเยยี วยาหรอื ชดเชยในแต่ละขน้ั ตอนให้ชัดเจน
เหมาะสม รวดเร็ว และเป็นธรรม
(๓) แจ้งให้สมาชิกทราบถึงความคืบหน้าในการแก้ไขปญั หาและการเยียวยาหรอื ชดเชยเป็นระยะ
รวมทั้งกาหนดระยะเวลาและปัจจัยในการพิจารณาให้เป็นธรรม โดยเฉพาะกรณีท่ีเป็นความผิดพลาด
จากระบบงานหรือเจา้ หน้าที่ของสหกรณ์นั้น
การจดั ทาหรือแก้ไขมาตรการในการแก้ไขปญั หาและการเยยี วยาหรอื ชดเชยแกส่ มาชกิ ตามวรรคหน่งึ
ให้สหกรณ์แจง้ ให้สมาชิกทราบในทป่ี ระชมุ ใหญ่สามัญประจาปี และเปิดเผยมาตรการดังกล่าวโดยวิธกี าร
ทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นหลัก ในกรณีที่ไม่สามารถดาเนินการหรือมีเหตุอื่นทาให้ไม่สามารถดาเนินการ
โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ ให้เปิดเผยมาตรการนั้น ณ สานักงานใหญ่ และสานักงานสาขา
ของสหกรณ์นั้นทกุ แหง่
ขอ้ ๒๑ สหกรณ์ต้องจดั ให้มีการอธบิ ายขอ้ มลู รายละเอยี ดของบริการทางการเงินและเปิดเผย
ข้อมูลดังกล่าวให้สมาชิกรับทราบและเข้าใจได้ง่ายโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นหลัก ในกรณี
ที่ไม่สามารถดาเนินการหรือมีเหตุอื่นทาให้ไม่สามารถดาเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ได้
ใหเ้ ปิดเผยขอ้ มูลนน้ั ณ สานักงานใหญ่ และสานกั งานสาขาของสหกรณ์นัน้ ทุกแหง่
ข้อมูลรายละเอียดของบริการทางการเงินของสหกรณ์ตามวรรคหนึ่ง ต้องมีการแสดงเงื่อนไข
สิทธิประโยชน์ และข้อควรระวังอย่างถูกต้อง ครบถ้วนและชัดเจนเพื่อการตัดสินใจของสมาชิกใน
การเลือกใช้บรกิ ารทางการเงนิ ของสหกรณ์
ÊˡóÍÍÁ·ÃѾ¤ ÃÊÙ ¡Å¹¤Ã ¨ํÒ¡´Ñ 151
เล่ม ๑๓๘ ตอนท่ี ๑๑ ก หน้า ๕๑ ๑๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔
ราชกิจจานุเบกษา
ข้อ ๒๒ ห้ามมิให้สหกรณ์ให้ผลตอบแทนอื่นใดนอกจากดอกเบี้ย เว้นแต่เป็นของกานัล
แก่สมาชิกในโอกาสประเพณีนิยมที่ถือปฏิบัติโดยทั่วไปและมีการให้แก่สมาชิกทุกรายท่ีเข้าเง่ือนไข
ซง่ึ สหกรณก์ าหนดอย่างเท่าเทยี มกัน
หมวด ๕
การบญั ชแี ละการรายงานขอ้ มลู
ขอ้ ๒๓ ให้สหกรณ์จัดทาบัญชีและงบการเงิน และเปิดเผยข้อมูลงบการเงิน ตามระเบียบ
นายทะเบยี นสหกรณว์ า่ ด้วยการบญั ชีของสหกรณ์
ข้อ ๒๔ การแต่งต้ังผู้สอบบัญชีสหกรณ์และการปฏิบัติงานสอบบัญชีสหกรณ์ ให้เป็นไป
ตามมาตรฐานการสอบบัญชีและระเบียบทอี่ ธบิ ดกี รมตรวจบญั ชสี หกรณ์กาหนด
ข้อ ๒๕ ให้สหกรณ์จัดเก็บและรายงานข้อมูลทางการเงนิ ของสหกรณ์ตอ่ นายทะเบยี นสหกรณ์
ดังตอ่ ไปนี้
(๑) งบแสดงฐานะทางการเงนิ
(๒) งบกาไรขาดทนุ
(๓) งบทดลอง
(๔) การลงทุนในหลกั ทรพั ย์
(๕) ลกู หนเ้ี งินใหก้ ยู้ มื และการฝากเงิน
(๖) เจา้ หน้ีเงินกแู้ ละผฝู้ ากเงิน
(๗) การดารงสนิ ทรัพย์สภาพคล่อง
(๘) ฐานะสภาพคล่องสุทธิ
(๙) รายงานการก่อหนี้
(๑๐) การจัดชนั้ สินทรพั ยแ์ ละการกันเงินสารอง
(๑๑) รายงานการสอบทานหนี้
(๑๒) การดารงเงินกองทนุ
(๑๓) แบบรายงานคุณภาพลกู หน้ีเงนิ ให้กูย้ ืม
(๑๔) รายงานอืน่ ตามท่ีนายทะเบียนสหกรณป์ ระกาศกาหนด
แบบรายงานและวิธีการรายงานให้เปน็ ไปตามท่นี ายทะเบยี นสหกรณ์ประกาศกาหนด
บทเฉพาะกาล
ขอ้ ๒๖ ให้นายทะเบียนสหกรณ์ประกาศรายช่ือสหกรณ์ขนาดใหญ่ตามข้อ ๒ (๑) ภายใน
เกา้ สบิ วนั นบั แตว่ ันท่กี ฎกระทรวงนใ้ี ชบ้ ังคบั
152 ÊË¡Ã³Í ÍÁ·ÃѾ¤ ÃÊÙ ¡Å¹¤Ã ¨Òํ ¡Ñ´
เล่ม ๑๓๘ ตอนท่ี ๑๑ ก หน้า ๕๒ ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔
ราชกิจจานเุ บกษา
ข้อ ๒๗ กรรมการหรือผู้จัดการของสหกรณ์ขนาดใหญ่ซ่ึงดารงตาแหน่งอยู่ในวันก่อนวันท่ี
กฎกระทรวงน้ีใช้บังคับและมีลักษณะต้องห้ามตามข้อ ๙ (๔) หรือ (๕) ให้ดารงตาแหน่งต่อไปได้
จนกว่าจะครบวาระหรือครบกาหนดตามสญั ญาจ้าง
ข้อ ๒๘ ให้สหกรณ์ดาเนินการให้มีกรรมการซึ่งมีคุณสมบัติตามท่ีกาหนดในข้อ ๘ ภายใน
หกเดือนนับแต่วันท่ีสหกรณน์ ้นั มีคณะกรรมการชุดใหม่ ท้ังน้ี ต้องไมเ่ กินสองปนี บั แต่วนั ที่กฎกระทรวงน้ี
ใชบ้ ังคบั
ขอ้ ๒๙ ชุมนุมสหกรณ์ใดที่ดารงเงินกองทุนไม่เป็นไปตามกฎกระทรวงน้ี ให้ดาเนินการ
ให้เปน็ ไปตามกฎกระทรวงนภ้ี ายในสามปนี บั แตว่ นั ท่ีกฎกระทรวงนี้ใช้บงั คบั
ขอ้ ๓๐ สหกรณ์ขนาดเล็กใดไม่สามารถจัดทารายการย่อแสดงสินทรัพย์และหนี้สิน
ตามขอ้ ๑๕ ได้ ให้สหกรณ์ดังกลา่ วดาเนนิ การปรับปรุงระบบการทาบญั ชีตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และ
เง่ือนไขท่ีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ประกาศกาหนด เพ่ือให้สามารถดาเนินการให้เป็นไปตามข้อ ๑๕
ภายในสามปีนับแตว่ นั ที่กฎกระทรวงน้ีใช้บงั คับ
ข้อ ๓๑ บรรดาประกาศ ระเบียบ และคาส่ังท่ีใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่กฎกระทรวงน้ี
ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับต่อไปได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎกระทรวงนี้ จนกว่าจะมีประกาศหรือ
ระเบยี บทีอ่ อกตามกฎกระทรวงนี้ใชบ้ งั คบั
ให้ไว้ ณ วนั ที่ 26 มกราคม พ.ศ. ๒๕๖4
มนัญญา ไทยเศรษฐ์
รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปฏบิ ัตริ าชการแทน รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ÊË¡Ã³Í ÍÁ·Ã¾Ñ ¤ÃÙʡŹ¤Ã ¨ํÒ¡´Ñ 153
เล่ม ๑๓๘ ตอนท่ี ๑๑ ก หน้า ๕๓ ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔
ราชกิจจานเุ บกษา
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบบั น้ี คือ โดยท่ีมาตรา ๘๙/๒ (๑) (๒) (๓) (๖) (๙)
(๑๑) และ (๑๒) และมาตรา ๑๐๕ วรรคสาม แหง่ พระราชบัญญตั ิสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซง่ึ แกไ้ ขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ บัญญัติให้การดาเนินงานและการกากับดูแลสหกรณ์
ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเน่ียนในเร่ืองการกาหนดขนาดของสหกรณ์ การกาหนดคุณสมบัติและลักษณะ
ต้องห้ามอื่นของกรรมการดาเนินการสหกรณ์และผู้จัดการ การกาหนดอานาจหน้าท่ีของคณะกรรมการ
ดาเนินการสหกรณ์ การดารงเงินกองทุน การกากับดูแลด้านธรรมาภิบาล การจัดทาบัญชี การจัดทาและ
การเปิดเผยงบการเงิน การสอบบัญชี และการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี และการจัดเก็บและรายงานข้อมูล เป็นไป
ตามหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเง่อื นไขทก่ี าหนดในกฎกระทรวง จงึ จาเปน็ ต้องออกกฎกระทรวงนี้
154 ÊˡóÍÍÁ·ÃѾ¤ÃÊÙ ¡Å¹¤Ã ¨ํÒ¡Ñ´
สหกรณออมทรพั ยค รสู กลนคร จาํ กดั
255 ถนนสกลนคร-กาฬสนิ ธุ ตาํ บลธาตุเชิงชมุ อาํ เภอเมอื ง จังหวัดสกลนคร
TEL. 0-4297-2018 FAX. 0-4297-2042 www.sakon-coop.net