The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปโครงการส่งเสริมการอ่านสู่ชุมชน ประจำปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Library Ban Phaeo, 2021-11-08 01:18:36

สรุปโครงการส่งเสริมการอ่านสู่ชุมชน ประจำปี 2564

สรุปโครงการส่งเสริมการอ่านสู่ชุมชน ประจำปี 2564

สรปุ ผลการดาเนินงาน
โครงการสง่ เสรมิ การอ่านและการเรยี นรสู้ ่ชู มุ ชนในยคุ ดิจิทลั

หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี อาเภอบา้ นแพว้

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ
นางสาววีรญาพร ทองสขุ ตาแหน่ง บรรณารกั ษ์
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบา้ นแพว้
สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

จงั หวดั สมทุ รสาคร

สรปุ ผลการดาเนินงาน
โครงการส่งเสรมิ การอา่ นและการเรยี นรสู้ ชู่ มุ ชนในยคุ ดิจิทลั

หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี อาเภอบา้ นแพว้

ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ
นางสาววีรญาพร ทองสขุ ตาแหน่ง บรรณารกั ษ์

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบา้ นแพว้
สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั

สมทุ รสาคร

บทสรุปโครงการ
สรปุ ผลการดาเนินงาน

โครงการสง่ เสรมิ การอ่านและการเรยี นรสู้ ู่ชุมชนในยุคดิจิทัล มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย
ท่มี ีคุณภาพ พฒั นาทกั ษะการเรียนรูข้ องประชาชนใหเ้ หมาะสมทุกช่วงวัย (2) เพื่อสง่ เสริมสนับสนนุ การอา่ นและการเรยี นรู้เชิง
รุกไปสู่ชุมชนและปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน (3) เพ่ือขยายพ้ืนท่ีการอ่านและการเรียนรู้ตลอดชีวิตไปสู่กลุ่มเป้าหมายอย่างมี
คุณภาพ เป้าหมายของโครงการเชิงปริมาณ ได้แก่ เด็ก นักเรียน นักศึกษา และประชาชน จานวน 500 คน เป้าหมายเชิง
คณุ ภาพ (1) เดก็ นกั เรียน นักศกึ ษา และประชาชน ไดร้ ับการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ตระหนักถึงความสาคัญของการ
อ่าน รวมถึงมนี ิสยั รักการอา่ นและการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต (2) ประชาชนทั้ง 12 ตาบล ในอาเภอบ้านแพ้ว ได้รับการส่งเสริมการ
อา่ นและการศึกษาตามอัธยาศัยอยา่ งมีคุณภาพ โครงการส่งเสรมิ การอ่านและการเรียนรู้สู่ชุมชนในยุคดิจิทัล ดาเนินการจัด
กิจกรรม ณ พ้ืนท่ีในอาเภอบ้านแพ้ว ท่ีว่าการอาเภอบ้านแพ้ว สถานีตารวจอาเภอบ้านแพ้ว และ กศน.ตาบลท้ัง 12 ตาบล
โดยมีขั้นตอนท่ีสาคัญ ได้แก่ (P) วางแผนการดาเนินการ เตรียมกิจกรรมและประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง กาหนด
กลุ่มเป้าหมาย นาเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติและจัดเตรียม วัสดุ-อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม (D) จัดกิจกรรมตามแผนการ
ดาเนินงาน จัดทาส่ือ ใบความรู้ ใบงาน วัสดุ-อุปกรณ์ หรือกิจกรรมที่ได้วางแผนไว้ (C) เพ่ือศึกษาความเป็นไปได้ของการ
ดาเนินโครงการ จงึ ทาการประเมินกอ่ นดาเนินโครงการ ประเมินระหว่างดาเนินโครงการ ประเมินหลังโครงการเสร็จสิ้น (A)
เม่ือรายงานผลการดาเนินโครงการสาเร็จแล้ว จึงนาผลการประเมินในการดาเนินโครงการมาปรับปรุงและพัฒนาโครงการ
ส่งเสรมิ การอ่านและการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตสูช่ ุมชนในยุคดจิ ิทัล สาหรับกจิ กรรมห้องสมดุ ในคราวต่อไป

ผลท่ีได้จากการดาเนนิ โครงการสรุปไดด้ ังนี้
1. ผู้เข้ารว่ มโครงการ จานวนท้ังสิน้ 494 คน เปน็ ชาย จานวน 221 คน หญงิ จานวน 273 คน คิดเป็น ร้อยละ 98.8
2. เด็ก นกั เรียน นกั ศึกษา และประชาชน ได้ทากิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้สู่ชุมชนในยุคดิจิทัลและตระหนักถึง
ความสาคัญของการอ่าน รวมถึงมีนิสัยรักการอา่ นและการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
3. ผลการประเมินความพงึ พอใจโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มากทีส่ ดุ คดิ เปน็ ร้อยละ 100

ดงั นนั้ ผลการดาเนนิ งานตามโครงการบรรลุสาเรจ็ ตามตวั ช้ีวดั ทั้งหมด
จุดเดน่ ของโครงการ

เป็นโครงการท่ีส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆ มีรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย ซ่ึงเป็น
พืน้ ฐานในการศึกษาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ เพ่ือการเรยี นรู้ตลอดชีวิต
จดุ ทคี่ วรพัฒนา

1. สอื่ /ทรพั ยากร : มีไม่เพียงพอ ต่อผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม
2. การดาเนินงาน : เน้นการประชาสัมพันธ์กจิ กรรมให้ครอบคลุมในทุกพ้นื ที่
ขอ้ คิดเห็นข้อเสนอแนะ
จากการเขา้ ร่วมโครงการสง่ เสรมิ การอ่านและการเรียนรู้สู่ชมุ ชนในยุคดจิ ทิ ัล ในครงั้ นี้ ผรู้ ่วมกิจกรรมได้ใช้เวลาว่างให้
เกดิ ประโยชน์ มคี วามเพลดิ เพลนิ และได้สาระความรู้จากการอ่าน สามารถนามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ดี ทาให้ได้ทา
กิจกรรมและส่ิงประดิษฐ์ใหม่ๆ ส่งผลให้มีความสุข มีอาชีพ มีรายได้ สนุกสนาน และในขณะเดียวกัน ควรเพิ่มเวลาในการ
ดาเนนิ กจิ กรรมให้มากกวา่ นี้ อยากใหจ้ ดั กจิ กรรมบ่อยขนึ้ และประดษิ ฐ์ส่งิ ทีแ่ ปลกใหม่ขึน้

ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอบ้านแพ้ว
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบา้ นแพ้ว

คานา

ดว้ ยห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบ้านแพ้ว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอาเภอบ้านแพ้ว ได้จัดโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้สู่ชุมชนในยุคดิจิทัล ให้แก่ เด็ก นักเรียน นักศึกษา
และประชาชน เพื่อให้มีนิสัยรักการอ่าน ตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ
2564 ดงั น้ัน จงึ สง่ เสริมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆ มีรูปแบบการเรียนรู้ท่ีหลากหลายซ่ึงเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาและ
พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต

ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อาเภอบา้ นแพ้ว ไดป้ ระเมินโครงการดังกล่าว เพ่อื ตอ้ งการทราบว่าการดาเนิน
โครงการบรรลุตามวตั ถุประสงคท์ ่ีกาหนดไวห้ รือไม่ จึงได้จัดทาเอกสารรายงานการประเมินโครงการเพื่อรายงานต่อผู้บริหาร
และนาขอ้ มลู การรายงานไปใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนาการดาเนนิ โครงการใหด้ ยี ิง่ ข้ึนต่อไป

ขอขอบคุณ นายสยาม ชูกร ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบ้านแพ้ว
ท่ใี หค้ าแนะนา คาปรึกษาในการจดั ทาเอกสารรายงานการประเมินโครงการในคร้งั นี้

หวงั เป็นอยา่ งยิง่ วา่ เอกสารรายงานการประเมินโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้สู่ชุมชนในยุคดิจิทัล ฉบับน้ี
จะเป็นประโยชนต์ อ่ ผู้ปฏบิ ัติงานโครงการและผเู้ ก่ียวข้องในการนาไปใช้เป็นแนวทางในการดาเนนิ โครงการตอ่ ไป

วีรญาพร ทองสขุ
บรรณารักษ์

ปีงบประมาณ 2564

สารบัญ หนา้

บทสรปุ โครงการ ข
คานา ค
สารบญั ง
สารบญั ตาราง 1
รายงานการประเมิน 1
1. ความเป็นมา 1
1
2. วตั ถุประสงค์ 2
3. กลมุ่ เปา้ หมาย 2
4. วัตถุประสงคข์ องการประเมิน 2
5. ประชากร/กล่มุ ตวั อย่าง 2
6. เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 2
7. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3
8. การวิเคราะห์ข้อมลู 3
9. ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 5

ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 7
ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการสง่ เสรมิ การอา่ นและการเรียนรูส้ ชู่ มุ ชน 8

ในยคุ ดจิ ิทัล
ตอนท่ี 3 ข้อคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะตอ่ โครงการสง่ เสรมิ การอ่าน

และการเรยี นรู้สู่ชมุ ชนในยุคดจิ ทิ ัล
ภาคผนวก

1. โครงการที่ไดร้ ับอนุมัติ
2. ภาพประกอบโครงการ
3. แบบสอบถามความพึงพอใจ

สารบญั ตาราง หนา้
3
1. ตารางที่ 1 จานวนและรอ้ ยละของผูเ้ ข้าร่วมโครงการส่งเสริมการอา่ นและการเรียนรู้ 3
สชู่ มุ ชนในยุคดิจิทลั จาแนกตามเพศ 4
4
2. ตารางท่ี 2 จานวนและรอ้ ยละของผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการสง่ เสริมการอา่ นและการเรียนรู้ 5
สชู่ มุ ชนในยุคดิจิทัลจาแนกตามอายุ 5
6
3. ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของผ้เู ขา้ รว่ มโครงการสง่ เสริมการอา่ นและการเรียนรู้ 6
สู่ชมุ ชนในยุคดิจทิ ลั จาแนกตามระดบั การศกึ ษา

4. ตารางที่ 4 จานวนและรอ้ ยละของผ้เู ขา้ รว่ มโครงการส่งเสรมิ การอ่านและการเรยี นรู้
ส่ชู ุมชนในยุคดจิ ทิ ลั จาแนกตามการประกอบอาชพี

5. ตารางที่ 5 ค่าเฉล่ยี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ
ส่งเสรมิ การอ่านและการเรียนรู้สู่ชุมชนในยุคดิจทิ ัลในภาพรวม

6. ตารางที่ 6 ค่าเฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ
สง่ เสริมการอ่านและการเรยี นรู้สูช่ มุ ชนในยุคดจิ ทิ ลั ด้านบริหารจดั การ

7. ตารางท่ี 7 คา่ เฉลยี่ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผู้เข้ารว่ มโครงการ
ส่งเสริมการอ่านและการเรยี นรสู้ ชู่ มุ ชนในยุคดจิ ทิ ลั ด้านการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

8. ตารางที่ 8 ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ
สง่ เสริมการอ่านและการเรียนรู้สชู่ มุ ชนในยุคดจิ ทิ ลั ดา้ นประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั

รายงานการประเมิน
โครงการส่งเสรมิ การอ่านและการเรยี นรู้ส่ชู มุ ชนในยุคดจิ ิทัล

ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบา้ นแพ้ว
……………………………………………………………………………….…….

1. ความเป็นมา

ดว้ ยกระทรวงศกึ ษาธิการกาหนดแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ 2560 - พ.ศ. 2579 เพื่อเป็นการวางกรอบเป้าหมาย
และทิศทางการจัดการศึกษาของประเทศในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของคนไทยทุกช่วงวัยให้เต็มตาม
ศักยภาพ สามารถแสวงหาความร้แู ละเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวิต โดยการขับเคล่ือนภายใต้วิสัยทัศน์คนไทย
ทกุ คนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง และการเปลยี่ นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21

การรูห้ นงั สือเปน็ สิทธิทีม่ นุษยท์ ุกคนพึงไดร้ บั และเปน็ พ้ืนฐานทจี่ าเป็นต่อการเรยี นรูก้ ารสื่อสารตลอดจนเป็นเคร่ืองมือ
ที่จาเป็นในการแสวงหาความรตู้ ลอดชวี ิตซึง่ ประชาชนทุกคนมีสิทธิ์ได้รับอย่างเท่าเทียมกันและมีคุณภาพส่งเสริมให้ได้เรียนรู้
เพื่อใช้ในการดาเนินชีวิตและนาความรู้ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตรงตามความต้องการของบุคคล ดังนั้น ห้องสมุด
ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอบ้านแพ้ว ซึ่งมีบทบาทหน้าท่ีในการส่งเสริมให้บุคคลท่ีได้รับความรู้และเพิ่มความเสมอ
ภาคทางการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหม้ ากขึน้ จึงให้ความสาคญั กับการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ให้แก่ประชาชนในทุกช่วง
วัยในการพฒั นาประเทศชาตใิ หร้ งุ่ เรืองสบื ไป

หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อาเภอบา้ นแพว้ ได้เลง็ เห็นความสาคัญของการอ่านและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
จึงได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ ภายใต้ โครงการ “ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้สู่ชุมชนในยุคดิจิทัล”
ขน้ึ มาเพอื่ ให้ เดก็ นักเรียน นกั ศกึ ษา และประชาชน ได้ตระหนักถึงความสาคญั ของการอ่านและการเรียนรู้ สามารถนาความรู้
ทไ่ี ดจ้ ากการอา่ นและการเรียนรู้ไปพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ได้อย่างเหมาะสมและดารงชีวิตอยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข
2. วัตถุประสงค์

1. เพื่อสง่ เสริมการศึกษาตามอัธยาศัยท่มี คี ุณภาพ พัฒนาทักษะการเรียนร้ขู องประชาชนให้เหมาะสมทุกชว่ งวัย
2. เพอื่ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การอา่ นและการเรยี นรเู้ ชิงรุกไปส่ชู มุ ชนและปลกู ฝงั นิสัยรกั การอ่าน
3. เพือ่ ขยายพนื้ ท่ีการอ่านและการเรียนรตู้ ลอดชีวติ ไปสกู่ ลุม่ เป้าหมายอย่างมีคุณภาพ
3. กลุม่ เปา้ หมาย
เด็ก นกั เรียน นักศึกษา และประชาชน จานวน 500 คน

4. วตั ถุประสงค์ของการประเมิน
เพอ่ื ศกึ ษาความพึงพอใจของผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมที่มีต่อโครงการส่งเสริมการอา่ นและการเรียนรู้สู่ชุมชนในยคุ ดิจทิ ัล

5. ประชากร/กลมุ่ ตวั อยา่ ง
ไดแ้ ก่ เด็ก นักเรยี น นักศึกษา และประชาชน จานวน 50 คน

6. เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล
เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวม คือ แบบสอบถามความพงึ พอใจต่อโครงการส่งเสริมการอา่ นและการเรยี นรู้สชู่ มุ ชน

ในยุคดิจทิ ัล แบบสอบถามมี 3 ตอน ไดแ้ ก่

ตอนที่ 1ข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามจานวน4ขอ้ ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบตรวจสอบรายการ(CheckList)

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอ่ โครงการสง่ เสริมการอ่านและการเรียนรู้สชู่ ุมชนในยุคดจิ ทิ ัล ซงึ่ ประเมิน 3 ด้าน คอื

1. ด้านบริหารจดั การ

2. ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

3. ดา้ นประโยชนท์ ไ่ี ด้รับ

ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประเมนิ ค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ ดังน้ี

5 มากท่สี ดุ หมายถึง มีความพึงพอใจมากท่สี ดุ

4 มาก หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก

3 ปานกลาง หมายถงึ มคี วามพึงพอใจปานกลาง

2 น้อย หมายถงึ มีความพงึ พอใจนอ้ ย

1 น้อยท่สี ดุ หมายถงึ มีความพงึ พอใจนอ้ ยท่ีสุด

ตอนที่ 3 ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะต่อโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้สู่ชุมชนในยุคดิจิทัล มีลักษณะเป็น

แบบสอบถามปลายเปดิ

7. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู

ได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมลู หลังผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรมโครงการส่งเสริมการอา่ นและการเรยี นรู้สชู่ มุ ชนในยคุ ดิจิทัล

ไดด้ าเนนิ กจิ กรรมจนเสรจ็ สนิ้ แล้ว

8. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู

นาแบบสอบถามเพือ่ ประเมินความพงึ พอใจ ท่ีดาเนินการสารวจเรยี บร้อย มาตรวจสอบความสมบรู ณข์ องข้อมูล แล้ว

นาไปวิเคราะห์ ดังน้ี

8.1 ตอนท่ี 1 ถามขอ้ มูลเกี่ยวกบั ผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน 4 ข้อ วิเคราะหห์ าคา่ ความถี่ และค่ารอ้ ยละ

8.2 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้สู่ชุมชนในยุคดิจิทัล นามาวิเคราะห์โดยหา

ค่าเฉลีย่ และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน แลว้ นามาแปลความหมายโดยเทียบกบั เกณฑ์ และนาเสนอขอ้ มลู ในรปู แบบตารางประกอบ

ความเรียง

เกณฑ์การประเมินค่าเฉลย่ี ของคะแนน แบ่งเป็น 5 ระดบั ดังน้ี

มากทส่ี ดุ มคี ่าเฉลย่ี 4.50 - 5.00

มาก มีค่าเฉลี่ย 3.50 - 4.49

ปานกลาง มีคา่ เฉลี่ย 2.50 - 3.49

นอ้ ย มคี ่าเฉลย่ี 1.50 - 2.49

นอ้ ยทีส่ ดุ มคี ่าเฉลีย่ 1.00 - 1.49

8.3 ตอนที่ 3 ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะ ใช้วิธวี ิเคราะห์และนามาประมวลใหเ้ ปน็ ขอ้ ความโดยสรุป

9. ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู

ในการดาเนินโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้สู่ชุมชนในยุคดิจิทัล ได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก

ผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรมโครงการ โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้สู่ชุมชน ซึ่งเป็น

กลุม่ ประชากร จานวน 50 คน ข้อมลู สรปุ ได้ดังนี้

ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

ตารางที่ 1 จานวนและรอ้ ยละของผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการสง่ เสรมิ การอา่ นและการเรียนรสู้ ชู่ มุ ชนในยคุ ดิจิทลั
จาแนกตามเพศ

เพศ จานวน ร้อยละ
ชาย 21 42
หญิง 29 58

รวม 50 100
จากตารางท่ี 1 พบว่า กลุ่มตัวอย่าง 50 คน เป็นเพศชาย จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 42.00 และเพศหญิง
จานวน 29 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 58.00

ตารางท่ี 2 จานวนและรอ้ ยละของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการสง่ เสรมิ การอา่ นและการเรยี นรู้สู่ชมุ ชนในยคุ ดิจทิ ัล

จาแนกตามอายุ

อายุ จานวน ร้อยละ

3-15 ปี 36

16-25 ปี 11 22

26-39 ปี 22 44

40-59 ปี 12 24

60 ปขี ึ้นไป 24

รวม 50 100

จากตารางท่ี 2 พบว่า กลุ่มตัวอย่าง จานวน 50 คน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 26-39 ปี จานวน 22 คน

คดิ เป็นรอ้ ยละ 44.00 รองลงมา คือ มอี ายุระหว่าง 40-59 ปี จานวน 12 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 24.00 และอายรุ ะหวา่ ง 16-25 ปี

จานวน 11 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 22.00 ตามลาดับ

ตารางท่ี 3 จานวนและร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้สู่ชุมชนในยุคดิจิทัล

จาแนกตามระดบั การศึกษา

ระดับการศึกษา จานวน รอ้ ยละ

ประถมศึกษา 36

มัธยมศึกษาตอนตน้ 8 16

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 15 30

ปริญญาตรี 22 44

สงู กว่าปรญิ ญาตรี 24

อน่ื ๆ 0 0

รวม 50 100

จากตารางท่ี 3 พบวา่ กลุ่มตัวอย่าง จานวน 50 คน ส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับปริญญาตรี จานวน 22 คน คิดเป็น

รอ้ ยละ 44.00 รองลงมา คอื มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 และมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน

8 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.00 ตามลาดบั

ตารางที่ 4 จานวนและรอ้ ยละของผู้เขา้ รว่ มโครงการส่งเสรมิ การอา่ นและการเรยี นรสู้ ูช่ มุ ชนในยุคดิจิทัล

จาแนกตามการประกอบอาชีพ

ประกอบอาชพี จานวน ร้อยละ

นกั เรียน/นักศกึ ษา 3 6

รับราชการ 22 44

รบั จา้ ง 15 30

เกษตรกรรม 7 14

ค้าขาย 3 6

อื่นๆ 0 0

รวม 50 100

จากตารางท่ี 4 พบวา่ กลมุ่ ตัวอยา่ ง จานวน 50 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชพี รับราชการ จานวน 22 คน คิดเป็นร้อย

ละ 44.00 รองลงมา คือประกอบอาชีพรับจ้าง จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จานวน

7 คน คดิ เปน็ ร้อยละ14.00 ประกอบอาชีพค้าขาย จานวน 3 คน และนักเรียนนักศึกษา จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 6.00

ตามลาดับ

ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการสง่ เสริมการอา่ นและการเรียนร้สู ชู่ มุ ชนในยุคดจิ ิทัล

ตารางท่ี 5 ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

สชู่ มุ ชนในยุคดิจทิ ัล ในภาพรวม

รายการ คา่ เฉลย่ี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดบั ความพึงพอใจ

( ) (S.D.)

ด้านบรหิ ารจัดการ 4.49 0.64 มาก

ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 4.62 0.48 มากทีส่ ดุ

ดา้ นประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั 4.63 0.48 มากทีส่ ดุ

รวมทกุ ด้าน 4.58 0.53 มากท่สี ุด

จากตารางที่ 5 พบว่า กลุ่มตัวอย่าง จานวน 50 คน มีความพึงพอใจต่อโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

สู่ชุมชนในยุคดิจิทัล ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ( ) = 4.58 เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีความพึงพอใจใน

ระดบั มากทกุ ดา้ น โดยดา้ นประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั มคี า่ เฉลี่ยมากท่ีสุด คือ ( ) = 4.63 รองลงมา คอื ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

คือ ( ) = 4.62 และด้านบริหารจัดการ คือ ( ) = 4.49 ตามลาดับ โดยมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) อยู่ระหว่าง

0.48 - 0.64 แสดงว่าผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมโครงการสง่ เสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้สชู่ มุ ชนในยุคดจิ ิทลั มคี วามพึงพอใจสอดคลอ้ งกนั

ตารางที่ 6 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผ้เู ข้าร่วมโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

สชู่ มุ ชนในยคุ ดิจทิ ัล ด้านบรหิ ารจัดการ

รายการ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดบั ความพึงพอใจ

( ) (S.D.)

1. อาคารและสถานที่ 4.36 0.80 มาก

2.สิง่ อานวยความสะดวก 4.32 0.76 มาก

3.ส่ือ/หนงั สอื 4.46 0.64 มาก

4.บรรณารกั ษ์ผดู้ าเนินกจิ กรรม 4.84 0.37 มากท่สี ดุ

รวม 4.49 0.64 มาก

จากตารางที่ 6 พบว่า กลุ่มตัวอย่าง จานวน 50 คน มีความพึงพอใจต่อโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้สู่

ชุมชนในยุคดจิ ทิ ลั ด้านบริหารจัดการในภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก เมอ่ื พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าบรรณารักษ์ ผู้ดาเนินกจิ กรรม

มีค่าเฉล่ีย คือ ( ) = 4.84 รองลงมา คือ สื่อ/หนังสอื มคี ่าเฉล่ีย คือ ( ) = 4.46 อาคารสถานท่ีมีค่าเฉลี่ย คือ ( ) = 4.36

และสิ่งอานวยความสะดวก มีค่าเฉล่ีย คือ ( ) = 4.32 ตามลาดับ โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) อยู่ระหว่าง

0.37 - 0.80 แสดงว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้สู่ชุมชนในยุคดิจิทัล มีความคิดเห็นไปใน

ทศิ ทางเดยี วกัน

ตารางที่ 7 ค่าเฉล่ยี และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

ส่ชู ุมชนในยคุ ดจิ ทิ ัลดา้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

รายการ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ระดับความพงึ พอใจ

( ) (S.D.)

1.กจิ กรรมหอ้ งสมุดเคลื่อนท่ี 4.78 0.41 มากทสี่ ดุ

2.กจิ กรรมนง่ั ที่ไหนอ่านท่ีนนั่ 4.38 0.53 มาก

3.กจิ กรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้ส่ชู มุ ชน 4.70 0.50 มากที่สุด

รวม 4.62 0.48 มากที่สุด

จากตารางท่ี 7 พบว่า กลุ่มตัวอย่าง จานวน 50 คน มีความพึงพอใจต่อโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

สู่ชมุ ชนในยุคดจิ ิทัลดา้ นกจิ กรรมการเรยี นรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดบั มากที่สดุ เมอ่ื พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่ากิจกรรมห้องสมุด

เคล่ือนที่ มีค่าเฉลี่ย คือ ( ) = 4.78 รองลงมา คือ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้สู่ชุมชน มีค่าเฉล่ีย คือ ( ) = 4.70

และกิจกรรมนั่งที่ไหน อ่านที่น่ัน มีค่าเฉลี่ย คือ ( ) = 4.38 ตามลาดับ โดยมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) อยู่ระหว่าง

0.41 - 053 แสดงวา่ ผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรมโครงการส่งเสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้สุ่ชมุ ชนในยุคดจิ ทิ ลั มคี วามคดิ เหน็ สอดคลอ้ งกนั

ตารางท่ี 8 คา่ เฉล่ยี และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

สู่ชมุ ชนในยุคดิจิทัลด้านประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ

รายการ ค่าเฉลยี่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดบั ความพงึ พอใจ

( ) (S.D.)

1.มนี สิ ัยรักการอา่ น 4.58 0.49 มากทส่ี ุด

2.ใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ 4.74 0.44 มากทส่ี ดุ

3. เกิดการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วย 4.60 0.49 มากที่สุด

ตนเอง

4.นาความรไู้ ปใช้ในการเรยี น 4.66 0.49 มากทส่ี ุด

5.นาความรู้ไปใช้พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 4.60 0.53 มากที่สุด

รวม 4.63 0.48 มากท่สี ดุ

จากตารางที่ 8 พบว่า กลุ่มตัวอย่าง จานวน 50 คน มีความพึงพอใจต่อโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้สู่

ชุมชนในยคุ ดิจทิ ลั ด้านประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ใช้เวลาว่างให้เกิด

ประโยชน์ มีคา่ เฉลีย่ คอื ( ) = 4.74 รองลงมา คือ นาความรู้ไปใช้ในการเรียน มีค่าเฉล่ีย คือ ( ) = 4.66 เกิดการเรียนรู้

และแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง มคี า่ เฉลี่ย คือ ( ) = 4.60 นาความรู้ไปใช้พัฒนาคุณภาพชีวิต มีค่าเฉลี่ย คือ ( ) = 4.60

และมีนิสัยรักการอ่าน ค่าเฉล่ีย คือ ( ) = 4.58 ตามลาดับ โดยมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) อยู่ระหว่าง 0.44 - 0.53

แสดงวา่ ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการส่งเสริมการอ่านและการเรยี นรู้สู่ชมุ ชนในยุคดจิ ิทัล มีความคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกัน

ตอนที่ 3 ข้อคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะต่อโครงการสง่ เสรมิ การอ่านและการเรยี นรู้สู่ชมุ ชนในยคุ ดจิ ทิ ัล

จุดเดน่ ของโครงการ
เป็นโครงการที่ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆ มีรูปแบบการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ซ่ึงเป็น
พน้ื ฐานในการศกึ ษาและพฒั นาคุณภาพชีวติ เพือ่ การเรยี นรูต้ ลอดชีวติ
จุดควรพฒั นา
1. สื่อ/ทรัพยากร : ไมเ่ พียงพอต่อผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม
2. การดาเนินงาน : ควรมีการประชาสมั พนั ธ์โครงการและกิจกรรมให้กวา้ งขวางและทัว่ ถึงในทกุ พืน้ ท่ี
ข้อคดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะ
จากการเขา้ รว่ มโครงการในครง้ั น้ี ผรู้ ่วมกิจกรรมได้ใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ มคี วามเพลดิ เพลินและไดส้ าระความรู้
ในการอ่าน สามารถนามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ดี ทาให้ได้ทากิจกรรมและสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ส่งผลให้มีความสุข
สนกุ สนาน และในขณะเดยี วกัน ควรเพิม่ เวลาในการดาเนนิ กจิ กรรมให้มากกว่าน้ี อยากให้จัดกจิ กรรมบอ่ ยขึ้น และประดิษฐส์ ่ิง
ทีแ่ ปลกใหม่ข้นึ

.............................................................................................................................................................................

ภาคผนวก

1. โครงการท่ีได้รับอนุมตั ิ
2. ภาพประกอบโครงการ
3. แบบสอบถามความพึงพอใจ

ประมวลภาพกจิ กรรม
โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้สชู่ มุ ชนในยุคดจิ ทิ ลั

กจิ กรรมหอ้ งสมุดเคลอ่ื นท่ี
ไตรมาส 1-2 (1ตุลาคม 2563 –30มีนาคม2564)

ประมวลภาพกจิ กรรม
โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้สชู่ มุ ชนในยุคดจิ ทิ ลั

กจิ กรรมหอ้ งสมุดเคลอ่ื นท่ี
ไตรมาส 1-2 (1ตุลาคม 2563 –30มีนาคม2564)

ประมวลภาพกจิ กรรม
โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้สชู่ มุ ชนในยุคดจิ ทิ ลั

กจิ กรรมหอ้ งสมุดเคลอ่ื นท่ี
ไตรมาส 1-2 (1ตุลาคม 2563 –30มีนาคม2564)

ประมวลภาพกจิ กรรม
โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้สชู่ มุ ชนในยุคดจิ ทิ ลั

กจิ กรรมหอ้ งสมุดเคลอ่ื นท่ี
ไตรมาส 1-2 (1ตุลาคม 2563 –30มีนาคม2564)

ประมวลภาพกิจกรรม
โครงการสง่ เสริมการอ่านและการเรยี นรู้สู่ชมุ ชนในยุคดิจทิ ลั

กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้
ไตรมาส 3 - 4(1เมษายน– 30กันยายน 2563)

ประมวลภาพกจิ กรรม
โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้สชู่ มุ ชนในยุคดจิ ทิ ลั

กจิ กรรมหอ้ งสมุดเคลอ่ื นท่ี
ไตรมาส 1-2 (1ตุลาคม 2563 –30มีนาคม2564)

ประมวลภาพกจิ กรรม
โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้สชู่ มุ ชนในยุคดจิ ทิ ลั

กจิ กรรมหอ้ งสมุดเคลอ่ื นท่ี
ไตรมาส 1-2 (1ตุลาคม 2563 –30มีนาคม2564)

แบบสอบถามความพึงพอใจ
โครงการส่งเสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ส่ชู ุมชนในยคุ ดิจทิ ลั

หอ้ งสมดุ ประชาชน“เฉลิมราชกมุ ารี”อาเภอบา้ นแพว้

คาชแ้ี จง

1. แบบสอบถามฉบับนี้มวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ใช้ในการสอบถามความพึงพอใจตอ่ โครงการส่งเสรมิ การอ่านและการเรียนรู้สู่ชุมชน

ในยคุ ดจิ ิทัล

2. แบบสอบถามมี 3 ตอน ดงั นี้

ตอนที่ 1 ถามข้อมูลเกี่ยวกบั ผู้ตอบแบบสอบถามจานวน 4 ข้อ ใหท้ าเครอ่ื งหมาย √ ลงในช่องว่างให้ตรงกบั สภาพจรงิ

ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการสง่ เสริมการอา่ นและการเรยี นรู้สู่ชมุ ชนในยุคดิจิทลั จานวน 12 ขอ้

ซึง่ มคี วามพงึ พอใจ 5 ระดบั ดงั น้ี

5 มากทส่ี ดุ หมายถงึ มคี วามพึงพอใจมากทีส่ ดุ

4 มาก หมายถงึ มีความพงึ พอใจมาก

3 ปานกลาง หมายถงึ มีความพึงพอใจปานกลาง

2 น้อย หมายถงึ มีความพงึ พอใจนอ้ ย

1 น้อยทสี่ ดุ หมายถึง มีความพึงพอใจนอ้ ยทสี่ ดุ

ตอนที่ 3 ข้อคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะต่อโครงการสง่ เสริมการอา่ นและการเรียนรู้สูช่ ุมชนในยคุ ดิจิทัล

ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม

เพศ ชาย หญิง

อายุ 3-15 ปี 15-25ปี 26-39ปี 40-59ปี 60ปีขึ้นไป
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ระดับการศกึ ษา ประถม มัธยมศกึ ษาตอนตน้ อื่นๆ
รบั จ้าง เกษตรกรรม
ปรญิ ญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี

ประกอบอาชพี นกั เรียน/นกั ศึกษา รับราชการ

คา้ ขาย อื่นๆ

ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการสง่ เสริมการอา่ นและการเรยี นรู้สคู่ วามชมุ ชนในยุคดิจทิ ัล

รายการประเมนิ 5 ระดบั ความพึงพอใจ 1
มากที่สุด 432 น้อยท่ีสดุ
1. ดา้ นบรหิ ารจัดการ มาก ปานกลาง น้อย
- อาคารและสถานที่
- ส่ิงอานวยความสะดวก
- ส่อื /หนงั สอื
- บรรณารกั ษ์ผ้ดู าเนินกจิ กรรม
2. ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
- กิจกรรม ห้องสมุดเคล่ือนท่ี
- กิจกรรม นัง่ ทีไ่ หนอา่ นที่น่ัน
- กจิ กรรม สง่ เสริมการเรียนรูส้ ชู่ ุมชน
3. ดา้ นประโยชนท์ ่ีได้รับ
- มนี สิ ัยรักการอา่ น
- ใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์
- เกิดการเรียนรู้และแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง
- นาความรู้ไปใชใ้ นการเรียน
- นาความรูไ้ ปใช้พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ

ตอนท่ี 3 ขอ้ คดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะ

ขอ้ คดิ เหน็ .........................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ.....................................................................................................................................................

ขอขอบคณุ ท่ใี ห้ความรว่ มมือ
หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อาเภอบา้ นแพว้

กศน.อาเภอบา้ นแพว้ จงั หวดั สมุทรสาคร


Click to View FlipBook Version