The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการลงทุนในร้านคาเฟ่อเมซอน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุภัทชา สิทธิเวช, 2023-10-05 13:02:53

Franshisee Cafe Amazon

แผนการลงทุนในร้านคาเฟ่อเมซอน

Franchisee Café Amazon


ภาพรวมธุรกิจ ร้านกาแฟคาเฟ่ อเมซอน (Café Amazon) เกิดขึ้นเมื่อปี 2545 จากการเห็นโอกาสในการเพิ่มศักยภาพทางการตลาด ของสถานีน้้ามันปตท. จึงได้เกิดแนวคิดให้เป็นธุรกิจหนึ่ง ที่สามารถสร้างรายได้ให้กับสถานีบริการน้้ามัน ปตท. และตอบสนอง ต่อความต้องการของผู้บริโภค(และคนเดินทางได้มากขึ้น โดยการสร้างตราสินค้า "Cafe Amazon" มีแนวความคิดที่ว่า ประเทศบราซิลซึ่งเป็นต้นต้ารับกาแฟและป่า Amazon ที่เป็นสุดยอดแห่งป่าดงดิบธรรมชาติของโลก ที่อุดมไปด้วยธรรมชาติอัน ยิ่งใหญ่ สายน้้า สัตว์ป่านานาชนิด และยังเป็นแหล่งที่ผลิตอากาศบริสุทธิ์ แนวความคิดนี้จึงถูกน้ามาช่วยในการสร้างสรรค์ ตกแต่งร้านกาแฟให้มีบรรยากาศร่มรื่นเย็นสบายด้วยร่มไม้และน้้าล้อมรอบ รวมถึงการพัฒนาให้เป็นจุดนัดพบ แหล่งพักผ่อน ส้าหรับคนเดินทาง โดยการสร้างบรรยากาศ ให้มีความร่มรื่น เย็นสบาย ความรู้สึกผ่อนคลาย จากการตกแต่งคาเฟ่ให้มีโทนสี เขียว พร้อมทั้งส้าเสนอภาพลักษณ์ที่เป็นธรรมชาติ ซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์ของคาเฟ่ เสมือนเป็นโอเอซิสของคนเดินทาง และ ด้วยเอกลักษณ์รสชาติเครื่องดื่มกาแฟที่เข้มข้น จึงกลายมาเป็นสโลแกนที่ว่า "Taste of Nature" อีกทั้งมีโครงการร้านกาแฟ Café Amazon เพื่อสร้างโอกาส (Café Amazon for Chance) เพื่อเป็นการสร้างโอกาสการท้างานให้แก่กลุ่มผู้ที่ต้องการ ได้รับความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ให้มีงานประจ้าที่มีการสร้างรายได้ที่แน่นอน โดยผ่านการอบรมกับทางศูนย์ฝึกอบรม ผลลัพธ์ การลงทุนทางสังคม (SROI) 0.57 เท่า


หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันธุรกิจร้านกาแฟเป็นธุรกิจที่ได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการเป็นอย่างมาก เนื่องจากปริมาณการบริโภค กาแฟในประเทศที่มีเพิ่มมากขี้นอย่างต่อเนื่อง จากข้อมูลของกรมการค้าภายในที่รวบรวมจากศูนย์วิจัยกสิกรไทยปี 2561 ได้ ให้ข้อมูลการบริโภคกาแฟในประเทศไว้ว่า ใน 2560 มีปริมาณการบริโภคกาแฟในประเทศอยู่ที่ 90,000 ตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ที่มีปริมาณการบริโภคกาแฟอยู่ที่ 70,000 ตัน ซึ่งเพิ่มขึ้นมาถึง 20,000 ตันในระยะเวลา 2 ปี เฉลี่ยเพิ่มขึ้นปีละ 10,000 ตัน อีกทั้งพฤติกรรมของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยเฉพาะกลุ่มนักศึกษา และกลุ่มวัยท้างานที่นิยมบริโภคกาแฟ และมักเลือกบริโภค กาแฟที่มีราคาไม่สูงมากจนเกินไปสามารถบริโภคได้ทุกวัน พร้อมกับพิจารณาเลือกใช้บริการร้านกาแฟที่มีพื้นที่รองรับส้าหรับ การนั่งท้างานและพักผ่อนในร้านเป็นหลัก ซึ่งสิ่งเหล่านี้ท้าให้ร้านกาแฟต่างๆ ต้องปรับตัวให้ทันต่อสถานการณ์การแข่งขัน ของธุรกิจร้านกาแฟสูงขึ้นตามไปด้วย การลงทุนในธุรกิจร้านกาแฟจึงจ้าเป็นต้องพิจารณาถึงท้าเลที่ตั้ง พื้นที่รูปแบบของร้าน และราคา ของสินค้า เพื่อหาค้าตอบในการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบัน ซึ่ง Franchisee Café Amazon ก็เป็นหนึ่ง ในธุรกิจร้านกาแฟที่มีความพร้อมในด้านของรูปแบบและพื้นที่ร้านที่มีพื้นที่นั่งท้างาน ราคาสินค้า ที่ผู้บริโภคสามารถซื้อได้ในทุกวัน และความมีชื่อเสียงของ Cafe Amazon เองที่เป็นที่รู้จักและเป็นธุรกิจที่มีส่วนแบ่งทาง การตลาดสูงถึง 40% ของตลาดร้านกาแฟในประเทศไทย (Marketeer Online, 2560) จึงท้าให้ Franchisee Café Amazon เป็นทางเลือกหนึ่งในการลงทุนธุรกิจร้านกาแฟ


โอกาสในการด้าเนินธุรกิจและการแข่งขัน ในปัจจุบัน Café Amazon มีภาพลักษณ์ของตราสินค้ามีความน่าเชื่อถือ เป็นแบรนด์ที่รู้จักและ มีความน่าเชื่อถือ ซึ่งอาจช่วยให้ร้านได้รับความนิยมได้ง่าย และมีความหลากหลายของรายการเมนูทั้งเครื่องดื่มและเบเกอรี่ ที่มีสูตรตายตัว อีกทั้งการพัฒนาและรังสรรค์เมนูใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา อีกทั้งสถิติการบริโภคกาแฟในประเทศที่มีเพิ่มมากขี้น อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค จึงมีโอกาสที่จะเติบโตของคาเฟ่ได้อย่างต่อเนื่อง เนื่องจาก ผู้บริโภคมีแนวโน้มที่จะบริโภคเครื่องดื่ม การใช้เวลาในร้านกาแฟที่มีพื้นที่เพื่อท้างานหรือพักผ่อนมากขึ้นอีกด้วย


ข้อมูลสินค้าและบริการ 1. กาแฟ 2. ชา 3. กาแฟพรีเมียม 4. เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ 5. นม/ช็อกโกแลต 6. น้้าผลไม้และสมูทตี้ 7. สินค้าพรีเมี่ยม 8. สินค้าส้าหรับชงเองที่บ้าน (Home Use) 9.เบเกอรี่


การวิเคราะห์ SWOT 1.Strengths (จุดแข็ง) 1.1 ภาพลักษณ์ของตราสินค้ามีความน่าเชื่อถือ ซึ่ง Café Amazon เป็นตราสินค้าที่มีโลโก้เป็นที่รู้จักและมีความ น่าเชื่อถือ ซึ่งอาจช่วยให้ร้านได้รับความนิยมได้ง่าย 1.2 ความหลากหลายของรายการเครื่องดื่มของ Café Amazon ที่มีการปรับเปลี่ยน พัฒนา และรังสรรค์รายการใหม่ๆ อยู่เสมอ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค 2. Weaknesses (จุดอ่อน) 2.1 ค่าใช้จ่ายการลงทุนใน Franchisee Cafe Amazon ต้องใช้งบประมาณที่สูง 2.2 การแข่งขันของตลาดมีการแข่งขันที่สูง ท้าให้ Franchisee Cafe Amazon จะต้องมีกลยุทธ์ที่ดีเพื่อก้าวน้าคู่แข่ง 3. Opportunities (โอกาส) 3.1 การเติบโตของตลาดร้านกาแฟ โดยตลาดร้านกาแฟยังมีโอกาสในการเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากผู้บริโภคมี แนวโน้มที่จะใช้เวลาในร้านกาแฟที่มีพื้นที่เพื่อท้างานหรือพักผ่อน 3.2 การขยายทางธุรกิจ Amazon ที่มีโอกาสในการขยายทางธุรกิจโดยเสนอบริการอื่นๆ นอกจากกาแฟ เช่น อาหาร หรือเบเกอรี่ในท้องถิ่นนั้นๆ 4. Threats (ความเสี่ยง) 4.1 ความแข็งแกร่งของตราสินค้าระดับโลก เช่น แบรนด์สตาร์บัค ที่มีตราสินค้าและชื่อเสียงที่แข็งแกร่งและคนรู้จักมาก 4.2 ความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจที่อาจส่งผลกระทบต่อการใช้จ่ายของผู้บริโภควัตถุประสงค์


วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างรายได้จากการด้าเนินโครงการเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5 ต่อปี 2. เพื่อให้ร้าน Franchisee Café Amazon เป็นที่ยอมรับและรู้จักในหน่วยงาน ผู้มาติดต่อของหน่วยงาน และคนสัญจรในเขตนั้น เป้าหมาย/ตัวชี้วัดความส้าเร็จของโครงการ 1. เป้าหมายระยะสั้น 1.1 ร้าน Franchisee Café Amazon เป็นที่ยอมรับของลูกค้าและเกิดการบอกเล่าต่อ 2. เป้าหมายระยะยาว 2.1 ระยะเวลาในการคืนทุนประมาณ 4 ปี 2.2 ลูกค้ามีความจงรักภักดีในตราสินค้า


วิธีด้าเนินการ 1. ยื่นแจ้งความจ้านงขอเปิดร้าน Café Amazon ผ่านทาง www.cafe-amazon.com 2. คณะกรรมการพิจารณาพื้นที่ด้าเนินการคัดเลือกผู้ยื่นความจ้านงขอเปิดร้าน Café Amazon 3. ประกาศผลผู้ผ่านการคัดเลือก 4. ผู้ผ่านการตัดเลือกเข้าอบรมการบริหารจัดการร้าน 5. ลงนามสัญญา Franchisee Café Amazon 6.เริ่มบริหารจัดการร้าน Café Amazon


ระยะเวลาด้าเนินการ 1. หลังจากยื่นเเจ้งความจ้านงขอเปิดร้าน Café Amazon (เป็นผู้เสนอพื้นที่มาให้ธุรกิจคาเฟ่อเมซอนพิจารณา) แล้ว ต้องได้รับการอนุมัติให้สิทธิ Franchisee แก่ผู้สนใจลงทุนก่อน ใช้ระยะเวลา 66 วันท้าการ 2. ได้รับสิทธิ Franchisee Café Amazon ด้าเนินการเปิดร้านภายในระยะเวลา 6 เดือน หลังจากได้รับอนุมัติสิทธิ Franchisee (อบรมล่วงหน้าก่อนด้าเนินการเปิดร้าน 1 เดือน และต้องผ่านการทดสอบ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ)


แผนการเงิน ยอดขาย (รายได้) 435,000 บาท/เดือน อัตราการเติบโตเฉลี่ย (คงที่) ของ รายได้ 4.00% ต่อปี ต้นทุนขาย ร้อยละ 36.00 ของยอดขาย 1) วัตถุดิบ (หรือสินค้าส้าเร็จรูป) ร้อยละ 97.00 ของต้นทุนขาย 2) แรงงานทางตรง ร้อยละ 0.00 ของต้นทุนขาย 3) ค่าใช้จ่ายกิจการ (ไม่รวมค่าเสื่อมราคา) ร้อยละ 3.00 ของต้นทุนขาย 1) + 2) + 3) 100.00 ของต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายด้าเนินงาน (ไม่รวมค่า เสื่อมราคา) 67,250 บาท/เดือน อัตราการเติบโตเฉลี่ย (คงที่) ของ ค่าใช้จ่ายด้าเนินงาน 2.50% ต่อปี อัตราภาษีเงินได้ 20.00% ของก าไรก่อนหักภาษี ข้อสมมติฐานด้านรายได้ มีการประมาณการยอดขายอยู่ที่ 435,000 บาทต่อเดือน ซึ่ง มาจากยอดขายจ้านวน 350 แก้วต่อวัน ราคาขายเฉลี่ยแก้วละ 55 บาท (มาจากเฉลี่ยของราคา เครื่องดื่มสินค้าต่้าสุดที่ 35 บาท และราคาเครื่องดื่มสินค้าสูงสุดที่ 75 บาท) และจ้านวนวันขายต่อ เดือนที่ 22 วันท้าการ เนื่องจากเป็นการขายในหน่วยงานเป็นหลัก ทั้งนี้ในจ้านวน 350 แก้วที่ขายได้ ต่อวันนั้น ได้ประมาณการรวมไปถึงยอดขายของสินค้าประเภทเบเกอร์รี่รวมเข้าด้วย จึงได้ยอดขาย ประมาณการต่อเดือนอยู่ที่ 484,000 บาท อัตราการเติบโตเฉลี่ย (คงที่) ของรายได้ 4% ต่อปี ได้รับ ข้อมูลอ้างอิงจากมาตรฐานการลงทุนแฟรนไชส์ของอเมซอน ที่มีการระบุไว้ที่ 2 - 4% ต่อปี ข้อสมมติฐานด้านต้นทุน แบ่งสัดส่วนได้ดังนี้ 1. ต้นทุนแบบผันแปรซึ่งเป็น 36% ของยอดขาย ซึ่งประกอบด้วย วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นผงกาแฟ ผงชา ครีมนม และรวมไปภาชนะบรรจุที่เป็นวัตถุดิบในการผลิตเช่นกัน คิด เป็น 97% และค่าน้้าค่าไฟที่คิดเป็น 3% ของต้นทุนขาย ทั้งนี้ที่ไม่ปรากฏค่าแรงงานทางตรง เนื่องจากค่าแรงงานของพนักงานในร้านไม่ได้ผันแปรไปตามจ้านวนยอดขาย แต่เป็นการให้ค่าแรง พนักงานในรูปแบบของเงินเดือนที่มีอัตราเท่ากันในทุกเดือนจึงจัดไปรวมในประเภทของค่าใช้จ่าย ด้าเนินงาน 2. ต้นทุนแบบคงที่ คือค่าใช้จ่ายในการด้าเนินงาน ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายของโครงการที่คงที่เท่ากันในทุก เดือน ประกอบด้วย เงินเดือนพนักงาน (ประมาณการเงินเดือนพนักงาน จ้านวน 3 รายๆ ละ 15,000 บาท พร้อมเงินประกันสังคม รายละ 750 บาท รวมเป็น 47,250 บาท/เดือน) ค่าเช่า อยู่ที่ 17,000 บาท/เดือน และค่าเช่าบริการเครื่อง Point of Sales เดือนละ 2,400 บาท โดยมีอัตราการ เติบโตคงที่อยู่ที่ 2.5% ต่อปี ที่ประมาณการมาจากการปรับเพิ่มเงินเดือนของพนักงาน และค่าเช่าใน ปีถัดไป 3. อัตราภาษีเงินได้เท่ากับ 20% ของก้าไรก่อนหักภาษี


สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ในส่วนของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน โครงการไม่มีค่าที่ดิน เนื่องจากเป็นการ เช่าพื้นที่ของหน่วยงาน แต่มีค่าตกแต่งสถานที่ โดยมีค่าใช้จ่ายตารางเมตรละ 30,000 บาท ซึ่งใช้พื้นที่ทั้งหมด 50 ตารางเมตร เป็นเงิน 1,500,000 บาท ทั้งนี้ ค่าตกแต่งสถานที่แบ่งเป็น ประมาณการค่าตกแต่งสถานที่อยู่ที่ 500,000 บาท ซึ่ง ต้องมีการรีโนเวทร้านในทุกๆ 3 ปีตามระบุในสัญญาของแฟรนไชส์ และค่า เครื่องใช้ส้านักงาน อันประกอบด้วยชุดโต๊ะ ตู้ ฯลฯ เป็นเงิน 1,000,000 บาท อายุ การใช้งาน 6 ปี ที่ประเมินค่าเสื่อมตามอายุสัญญา ค่าเครื่องจักรมูลค่า 800,000 บาท ระยะเวลา 10 ปี และค่าใช้จ่ายด้าเนินงาน มูลค่า 395,000 บาท ประกอบด้วย ค่าหลักสูตรผู้บริหาร ค่าด้าเนินการก่อนเปิดร้าน ค่าออกแบบ ค่า หลักประกันสัญญาแฟรนไชส์ และค่าเฟรนไชน์ (ค่าธรรมเนียมแรกเข้า) อัตราดอกเบี้ยประเภท MLR ส้าหรับธุรกิจ SME ของธนาคารไทยพาณิชย์ อยู่ที่ 6.8% ต่อปี (ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2566). ซึ่งมีระยะเวลา 5 ปี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (Non-Current Assets) ประเภทสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน มูลค่า ระยะเว ลา ค่าเสื่อมราคา 1) 2) = 1) / 2) (บาท) (ปี) (บาท/ปี) ที่ดิน 0 0 อาคาร/ค่าตกแต่ง/สิทธิการเช่า 500,000 3 166,667 เครื่องจักร 800,000 10 80,000 ยานพาหนะ 0 0 0 เครื่องใช้ส้านักงาน 1,000,000 6 166,667 ค่าใช้จ่ายก่อนด้าเนินงาน 395,000 6 65,833 2,695,000 479,167 ข้อสมมติทางการเงิน อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลา (ต่อปี) (ปี) เงินกู้ยืมระยะยาว (Fixed Loan: F/L) 6.80% 5.00


โครงสร้างเงินลงทุน โครงสร้างเงินลงทุนของโครงการเท่ากับ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ซึ่งมีมูลค่ากว่า 2 ล้านบาท โครงสร้างเงินลงทุน (Investment Structure) / แหล่งที่ใช้ไปของเงินทุน (Use of Fund) ประเภทเงินลงทุน (เงินทุน) จ านวนเงิน เงินลงทุนในสินทรัพย์ถาวร (สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน) 5.1 ที่ดิน 0 5.2 อาคาร/ค่าตกแต่ง/สิทธิการเช่า 500,000 5.3 เครื่องจักร 800,000 5.4 ยานพาหนะ 0 5.5 เครื่องใช้ส้านักงาน 1,000,000 5.6 ค่าใช้จ่ายก่อนด้าเนินงาน 395,000 2,695,000 เงินลงทุนในเงินทุนหมุนเวียน ลูกหนี้การค้า 0 สินค้าคงเหลือ 50,058 เจ้าหนี้การค้า 0 50,058 เงินลงทุนรวม 2,745,058


ตารางค้านวณหาโครงสร้างแหล่งที่มาของเงินทุน (Source of Fund) โครงการมีเงินลงทุนจากการ กู้เงินระยะยาวกว่า 1.9 ล้านบาท และ ส่วนของเจ้าของกว่า 8 แสนบาท รวม เป็นมูลค่ากว่า 2.7 ล้านบาท ทั้งนี้ สัดส่วนของเงินกู้ระยะยาวอยู่ที่ 69.9% และส่วนของเจ้าของอยู่ที่ 30.1% หนี้สิน (D) ต่อ ทุน (E) D/E Ratio (Debt to Equity Ratio) 2.33 ต่อ 1.00 จ านวนเงิน สัดส่วน สัดส่วน หนี้สิน (Debt: D) 1,919,621 2.33 69.93% ส่วนของเจ้าของ (Equity: E) 825,437 1.00 30.07% เงินลงทุนรวม 2,745,058 3.33 100.00% การค้านวณหาค่าของทุน (Weighted Average Cost of Capital: WACC) จ้านวนเงิน สัดส่วน ค่าของทุน โครงสร้างแหล่งที่มาของเงินทุน (Source of Fund) 1.) 2.) 3.) 2.) x 3.) หนี้สิน (Debt: D) 1,919,621 69.9% 6.80% 4.76% ส่วนของเจ้าของ (Equity: E) 825,437 30.1% 6.00% 1.80% เงินทุนรวม (Total Capital) 2,745,058 100.0% WACC = 6.56% ค่าของทุนของส่วนของเจ้าของ คือ ดอกเบี้ยเงินฝาก + Risk Premium แหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน (Source and Use of Fund) แหล่งใช้ไปของเงินทุน (Use of Fund) แหล่งที่มา (Source of Fund) สินทรัพย์ถาวร 2,695,000 หนี้สิน (Debt: D) 1,919,621 เงินทุนหมุนเวียน 50,058ส่วนของเจ้าของ (Equity: E) 825,437 รวมแหล่งใช้ไปของ เงินทุน 2,745,058 รวมแหล่งที่มาของเงินทุน 2,745,058


งบก้าไรขาดทุน โครงการมีอัตราการเพิ่มขึ้น ของยอดขายตามที่คาดการณ์ไว้คือ 4% โดยในปีที่ 1 มียอดขายอยู่ที่ 5,082,000 บาท เมื่อน้าไปหักต้นทุนขายร้อยละ 36 จึงได้ก้าไรขั้นต้นอยู่ที่ 3,252,480 บาท และเมื่อน้าไปหักค่าใช้จ่ายต่างๆ ทั้งหมดแล้วนั้น ก้าไรสุทธิของปีที่ 1 จึงอยู่ที่ 1,486,442 บาท และอัตราการเติบโตของ โครงการที่ประมาณการว่าจะเติบโตขึ้นปีละ 4% นั้น จะท้าให้โครงการสามารถคืนทุนได้ ในปีที่ 4 และเมื่อด้าเนินการครบ 6 ปีตาม สั ญ ญ า ก้ า ไ ร สุ ท ธิ จ ะ มี มู ล ค่ า เ ป็ น 2,196,136 บาท ประมาณการงบก้าไรขาดทุน (Forecasting Profit/Loss Statement : P/L หรือ Income Statement) ปีที่ 1 2 3 4 5 6 1. ยอดขาย 5,082,000 5,285,280 5,496,691 5,716,559 5,945,221 6,183,030 2. ต้นทุนขาย 1,829,520 1,902,701 1,978,809 2,057,961 2,140,280 2,225,891 3. ก้าไรขั้นต้น (= 1. – 2.) 3,252,480 3,382,579 3,517,882 3,658,598 3,804,942 3,957,139 4. ค่าใช่จ่ายด้าเนินงาน (ไม่รวมค่าเสื่อมราคา) 795,000 814,875 835,247 856,128 877,531 899,470 5. ก้าไรก่อนดอกเบี้ย, ภาษี, ค่าเสื่อมราคา, และ ค่าใช้จ่ายตัดจ่าย (EBITDA) (= 3. – 4.) 2,457,480 2,567,704 2,682,635 2,802,470 2,927,410 3,057,670 6. ค่าเสื่อมราคา และค่าใช้จ่ายตัดจ่าย (DA) 479,167 479,167 479,167 312,500 312,500 312,500 7. ก้าไรจากการด้าเนินงาน (EBIT) (= 5. – 6.) 1,978,313 2,088,538 2,203,469 2,489,970 2,614,910 2,745,170 8. ดอกเบี้ยจ่าย* 120,261 96,849 71,794 44,981 16,288 0 9. ก้าไรก่อนภาษี (EBT) (= 7. – 8.) 1,858,052 1,991,689 2,131,675 2,444,988 2,598,623 2,745,170 10. ภาษีเงินได้ ( = 9. x อัตราภาษี) 371,610 398,338 426,335 488,998 519,725 549,034 11. ก้าไรสุทธิ (= 9. – 10.) 1,486,442 1,593,351 1,705,340 1,955,991 2,078,898 2,196,136 12. ก้าไรสะสม** 1,486,442 3,079,792 4,785,132 6,741,123 8,820,021 11,016,157


ยอดขาย ณ จุดคุ้มทุน โครงการนี้มีระยะเวลาในการคืนทุนอยู่ในปีที่ 4 การตรวจสอบยอดขาย ณ จุดคุ้มทุน งบประมาณก้าไรขาดทุน (Profit/Loss Statement : P/L) ปีที่ 1 2 3 4 5 6 1. ยอดขาย ณ จุดคุ้มทุน 2,128,828 2,159,883 2,191,714 2,224,341 2,257,772 1,405,421 2. ต้นทุนขาย 766,378 777,558 789,017 800,763 812,798 505,952 3. ก้าไรขั้นต้น (= 1. – 2.) 1,362,450 1,382,325 1,402,697 1,423,578 1,444,974 899,470 4.1 ค่าใช่จ่ายด้าเนินงาน (ไม่รวมค่าเสื่อมราคา) 795,000 814,875 835,247 856,128 877,531 899,470 4.2 ค่าเสื่อมราคา 479,167 479,167 479,167 312,500 312,500 312,500 4. ค่าใช้จ่ายด้าเนินงานรวม 1,274,167 1,294,042 1,314,414 1,168,628 1,190,031 1,211,970 5. ก้าไรจากการด้าเนินงาน (EBIT) (= 3. – 4.) 88,283 88,283 88,283 254,950 254,943 (312,500) 6. ดอกเบี้ยจ่าย 120,261 96,849 71,794 44,981 16,288 0 7. ก้าไรก่อนหักภาษี (EBT) (= 5. – 6.) (31,978) (8,566) 16,489 209,969 238,655 (312,500) 8. ภาษีเงินได้ ( = 7. x อัตราภาษี) 0 0 3,298 41,994 47,731 0 9. ก้าไรสุทธิ(= 7. – 8.) (31,978) (8,566) 13,191 167,975 190,924 (312,500) 10. ก้าไรสะสม (31,978) (40,544) (27,352) 140,623 331,547 19,047


งบแสดงฐานะการเงิน โครงการนี้มีระยะเวลาในการคืนทุนอยู่ในปีที่ 4 ประมาณการงบดุล (Forecasting Balance Sheet: B/S) ปีที่ 1 2 3 4 5 6 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน 1. เงินสด 1,631,910 3,345,314 5,145,572 7,002,918 8,954,398 11,460,691 2. ลูกหนี้การค้า 0 0 0 0 0 0 3. สินค้าคงเหลือ (3.1 + 3.2 + 3.3) 50,058 52,060 54,142 56,308 58,560 60,903 3.1 วัตถุดิบ 24,648 25,634 26,659 27,725 28,834 29,988 3.2 งานระหว่างท้า 0 0 0 0 0 0 3.3 สินค้าส้าเร็จรูป 25,410 26,426 27,483 28,583 29,726 30,915 4. สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น ก. รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 1,681,967 3,397,374 5,199,714 7,059,226 9,012,958 11,521,594 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 5. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 5.1 ที่ดิน 0 0 0 0 0 0 5.2 อาคาร/ค่าตกแต่ง/สิทธิการเช่า 500,000 500,000 500,000 500,000 500,000 500,000 5.3 เครื่องจักร 800,000 800,000 800,000 800,000 800,000 800,000 5.4 ยานพาหนะ 0 0 0 0 0 0 5.5 เครื่องใช้ส้านักงาน 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 5.6 ค่าใช้จ่ายก่อนด้าเนินงาน 395,000 395,000 395,000 395,000 395,000 395,000 รวม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (=5.1 + 5.2 + 5.3 + 5.4 + 5.5 + 5.6) 2,695,000 2,695,000 2,695,000 2,695,000 2,695,000 2,695,000 หัก 6. ค่าเสื่อมราคาสะสม (479,167) (958,333) (1,437,500) (1,750,000) (2,062,500) (2,375,000) 7. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ( 5. - 6.) 2,215,833 1,736,667 1,257,500 945,000 632,500 320,000 6. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น ข. รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 2,215,833 1,736,667 1,257,500 945,000 632,500 320,000 ค. รวมสินทรัพย์ 3,897,801 5,134,040 6,457,214 8,004,226 9,645,458 11,841,594


งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ประมาณการงบดุล (Forecasting Balance Sheet: B/S) ปีที่ 1 2 3 4 5 6 หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้เบิกเงินเกินบัญชี ตั๋วสัญญาใช้เงิน เจ้าหนี้การค้า 0 0 0 0 0 0 ง. หนี้สินหมุนเวียน 0 0 0 0 0 0 หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ระยะยาว 1,585,922 1,228,811 846,645 437,667 0 0 จ. หนี้สินไม่หมุนเวียน 1,585,922 1,228,811 846,645 437,667 0 0 ฉ. รวมหนี้สิน 1,585,922 1,228,811 846,645 437,667 0 0 ส่วนของเจ้าของ ทุนของเจ้าของ 825,437 825,437 825,437 825,437 825,437 825,437 ก้าไรสะสม 1,486,442 3,079,792 4,785,132 6,741,123 8,820,021 11,016,157 ช. รวมส่วนของเจ้าของ 2,311,879 3,905,229 5,610,569 7,566,560 9,645,458 11,841,594 ซ. รวมหนี้สินและส่วนของ เจ้าของ 3,897,801 5,134,040 6,457,214 8,004,226 9,645,458 11,841,594 หนี้สินของโครงการมีเฉพาะ หนี้สินไม่หมุนเวียน ที่มาจากเงินกู้ระยะ ยาวเพื่อใช้ในการก่อตั้งโครงการ ในส่วน ของส่วนของเจ้าของที่ได้รับจากทุนของ เจ้าของ และก้าไรสะสม ที่เมื่อน้าไปรวม กับหนี้สินรวมทั้งหมด จะเท่ากับสินทรัพย์ รวมที่มูลค่า 3,897,801 บาท และเมื่อ ด้าเนินโครงการครบ 6 ปี จะมีมูลค่าอยู่ที่ 11,841,594 บาท


งบกระแสเงินสด จากตารางงบกระแสเงินสด ของโครงการนั้น กระแสเงินสดจาก กิจกรรมด้าเนินงานได้เงินสดจากการขาย สดเพียงอย่างเดียว มูลค่ากว่า 5 ล้านบาท เนื่องจากโครงการไม่มีการขายแบบเครดิต เมื่อน้าไปหักกับเงินสดจ่ายจากการ ด้าเนินงานมูลค่ากว่า 3 ล้านบาท โครงการ จะมีเงินสดรับสุทธิมูลค่ากว่า 2 ล้านบาท และเมื่อโครงการด้าเนินงานครบ 6 ปี จะมี เงินสดรับสุทธิอยู่ที่ 2.5 ล้านบาท ประมาณการงบกระแสเงินสด (Cash Flow Statement) ตามวิธีทางอ้อม (Indirect) ปีที่ 1 2 3 4 5 6 1. กระแสเงินสดจากกิจกรรมการด้าเนินงาน ก้าไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี (EBIT) 1,978,313 2,088,538 2,203,469 2,489,970 2,614,910 2,745,170 หัก ภาษีเงินได้ (371,610) (398,338) (426,335) (488,998) (519,725) (549,034) บวก ค่าเสื่อมราคา (DA) 479,167 479,167 479,167 312,500 312,500 312,500 ลูกหนี้การค้า ลด ["เงินสดเพิ่ม] (ลูกหนี้ การค้า เพิ่ม) ["เงินสด(ลด)] 0 0 0 0 0 0 สินค้าคงเหลือ ลด ["เงินสดเพิ่ม] (สินค้า คงเหลือ เพิ่ม) ["เงินสด(ลด)] (50,058) (2,002) (2,082) (2,166) (2,252) (2,342) เจ้าหนี้การค้า เพิ่ม ["เงินสดเพิ่ม] (เจ้าหนี้ การค้า ลด) ["เงินสด(ลด)] 0 0 0 0 0 0 เงินสดรับ (จ่าย) สุทธิ จากกิจกรรมการ ด้าเนินงาน 2,035,812 2,167,364 2,254,218 2,311,306 2,405,433 2,506,293


งบกระแสเงินสด (ต่อ) ส่ ว น ก ร ะ แ ส เ งิ น ส ด จ า ก กิจกรรมทางการเงินทั้งทุนของเจ้าของและ เงินกู้ระยะยาวจะต้องน้าไปช้าระคืนเงินต้น และหักดอกเบี้ยจ่าย จะได้เงินสดรับ (จ่าย) สุทธิ จากกิจกรรมด้าเนินงานมูลค่ากว่า 2 ล้านบาท แล้วน้าไปรวมกันเงินสดรับ (จ่าย) สุทธิ จากการด้าเนินงานและการ ลงทุนที่จะได้เงินสดปลายงวดที่มูลค่า 1.6 ล้านบาท ทั้งนี้เมื่อโครงการด้าเนินไป จนครบ 6 ปี มูลค่าของเงินสดปลายงวดจะ สูงถึงกว่า 11 ล้านบาท ประมาณการงบกระแสเงินสด (Cash Flow Statement) ตามวิธีทางอ้อม (Indirect) ปีที่ 1 2 3 4 5 6 2. กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน ที่ดิน 0 0 0 0 0 0 อาคาร/ค่าตกแต่ง/สิทธิการเช่า (500,000) 0 0 0 0 0 เครื่องจักร (800,000) 0 0 0 0 0 ยานพาหนะ 0 0 0 0 0 0 เครื่องใช้สา นักงาน (1,000,000) 0 0 0 0 0 ค่าใช้จ่ายก่อนด าเนินงาน (395,000) 0 0 0 0 0 เงินสดรับ (จ่าย) สุทธิ จากกิจกรรมการ ลงทุน (2,695,000) 0 0 0 0 0 เงินสดรับ (จ่าย) สุทธิ จากการด าเนินงาน และการลงทุน (659,188) 2,167,364 2,254,218 2,311,306 2,405,433 2,506,293 กระแสเงินสดจากกิจกรรมทางการเงิน ทุนของเจ้าของ (ก าหนดจากโครงสร้าง เงินทุน) 825,437 0 0 0 0 0 เบิกจ่ายเงินต้น - เงินระยะยาว (ก าหนด จากโครงสร้างเงินทุน) 1,919,621 0 0 0 0 ช าระคืนเงินต้น - เงนิกู้ระยะยาว (333,699) (357,111) (382,166) (408,979) (437,667) 0 ดอกเบีย้จ่าย (120,261) (96,849) (71,794) (44,981) (16,288) 0 เงินสดรับ (จ่าย) สุทธิ จากกิจกรรมการเงิน 2,291,098 (453,960) (453,960) (453,960) (453,954) 0 เงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมด าเนินงาน การลงทุน และการเงิน 1,631,910 1,713,404 1,800,258 1,857,346 1,951,479 2,506,293 เงินสดปลายงวด 1,631,910 3,345,314 5,145,572 7,002,918 8,954,398 11,460,691


การประเมินผล 1. ธุรกิจ Franchisee Cafe Amazon สร้างรายได้จากการด้าเนินโครงการเพิ่มขึ้น โดยวัดจากก้าไรในการขายและระยะเวลาในการคืนทุนของโครงการ 2. ธุรกิจ Franchisee Café Amazon เป็นที่ยอมรับและรู้จักในหน่วยงาน ผู้มาติดต่อของ หน่วยงาน และคนสัญจรในเขตนั้น.


ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. สร้างรายได้จากการด้าเนินโครงการเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 4 ต่อปี และใช้ระยะเวลาคืนทุนในปีที่ 4 2. ร้าน Franchisee Café Amazon เป็นที่ยอมรับและรู้จักในหน่วยงาน ผู้มาติดต่อของหน่วยงานและคนสัญจรในเขตนั้น


แผนการจัดการความเสี่ยงและแนวทางการรองรับความเสี่ยง (แผนฉุกเฉิน) เพื่อให้โครงการสามารถด้าเนินการตามแผนการด้าเนินงานในสถานการณ์ที่ไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ โดยมีแผนการ จัดการความเสี่ยงและแนวทางการรองรับความเสี่ยงที่อาจะเกิดขึ้น ดังนี้ 1. รายได้จากการด้าเนินโครงการธุรกิจ Franchisee Cafe Amazon สร้างเพิ่มขึ้นโดยวัดจากก้าไร ในการขายและระยะเวลาในการคืนทุนของโครงการต่้ากว่าเป้าหมายที่วางไว้ •เนื่องจากเศรษฐกิจแต่ละช่วงเวลามีการเปลี่ยนแปลง เกิดความไม่แน่นอนในด้านราคาของวัตถุดิบ แนวทาง ในการรองรับความเสี่ยงของทางโครงการคือ จัดหาวัตถุดิบทดแทนที่มีต้นทุนและคุณภาพใกล้เคียง หรือค่าขนส่งที่สามารถลด ต้นทุนได้ •จัดท้าบัญชีการด้าเนินการของโครงการอย่างละเอียดรอบคอบ และในกรณีที่เกิดปัญหาสภาพคล่องทาง การเงินอาจมีการพิจารณาเพิ่มเติมจากสถานการณ์ 2. ความจงรักภักดีในตราสินค้า เนื่องจากปัจจุบันผู้บริโภคมีทางเลือกในธุรกิจคาเฟ่จ้านวนมาก ท้าให้ผู้บริโภคในตรา สินค้าของโครงการหันไปลองสิ่งใหม่ๆ ทางโครงการมีแผนรองรับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น โดยมีโปรโมชั่นที่แปลกใหม่จากทาง เจ้าของธุรกิจ Franchisee Amazon เพื่อสร้างความแตกต่างที่รสชาติและคุณภาพคงเดิม แต่ราคาลดลงจากเดิม


ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. นางสาวนวพร สายัณห์ รหัสนักศึกษา 076570303602-8 2. นางสาวสุภัทชา สิทธิเวช รหัสนักศึกษา 076570304601-9


บรรณานุกรม BrandBuffet. (2564).“คาเฟ่ อเมซอน” ยุทธศาสตร์ Beyond Coffee เมื่อต้องการเป็นมากกว่าร้านกาแฟ..มัดใจผู้บริโภคยุคนี้. (ออนไลน์). สืบค้น 2 ตุลาคม 2566. จาก: https://www.brandbuffet.in.th Cafe Amazon. (2566). คู่มือการเข้าท้าธุรกิจกับ ปตท.ของ Café Amazon. (ออนไลน์). สืบค้น 2 ตุลาคม 2566. จาก https://www.cafe-amazon.com Marketeer. (2020). eukeik .ee. (ออนไลน์). สืบค้น 3 ตุลาคม 2566 จาก https://marketeeronline.co/archives/201358 Taokaemai. วิเคราะห์ SWOT คาเฟ่ Amazon น่าลงทุนไหม?. (2566). อนนไลน์. สืบค้น 2 ตุลาคม 2566. จาก: https://taokaemai.com Waraporn Nakkamphan. (2017). แผนการตลาดร้านกาแฟ CAFE AMAZON. (ออนไลน์). สืบค้น 3 ตุลาคม 2566. จาก https://prezi.com/c95vsuuajl7h/cafe-amazon กรมบัญชีกลาง. (2562). คู่มือการบัญชีภาครัฐ เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์. (ออนไลน์). สืบค้น 2 ตุลาคม 2566. จาก https://uthaihealth.moph.go.th/uthaihealth/uploadfile/208.pdf กรมสรรพากร. (2563). อัตราภาษีและการค้านวณภาษี. (ออนไลน์). สืบค้น 2 ตุลาคม 2566. จาก https://www.rd.go.th ดารินทร์พัชร์ ธัชชัยฤทธิ์. 2557. “พฤติกรรมผู้บริโภคร้านกาแฟคาเฟ่ อเมซอนในเขตอ้าเภอเมืองจังหวัดระยอง.” วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. (สาขาการตลาด). คณะบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. บริษัท จัดหางาน จ๊อบส์ดีบี (ประเทศไทย) จ้ากัด. (2022). ประกันสังคมนายจ้าง ต้องรู้อะไรบ้าง 2022. (ออนไลน์). สืบค้น 3 ตุลาคม 2566. จาก https://th.jobsdb.com/th. พิพรรษพร เกตุโกมุท (2565). แผนธุรกิจร้านกาแฟ Three Sis Coffee and Co. นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2561). ธุรกิจกาแฟบริหารอย่างไรให้รุ่ง. (ออนไลน์). สืบค้น 3 ตุลาคม 2566.จาก http://www.kasikornbank.com


Click to View FlipBook Version