รายงานผลการดำเนินงาน
โครงการการจัดกระบวนการเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ประจำภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
กศน.ตำบลวงั สะพงุ
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวงั สะพงุ
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดเลย
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
ก
คำนำ
ตามท่ี สำนักงาน กศน. ได้ให้นโยบายเรง่ ด่วนเพื่อร่วมกันขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ขอ้ ที่
1 ยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคง : 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝัง
และสร้างความตระหนักรู้ถงึ ความสำคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงคเ์ สริมสร้างความรกั และความภาคภูมิใจ
ในความเป็นคนไทยและชาติไทย น้อมน่าและเผยแพร่ศาสตร์พระราซา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
รวมถึงแนวทางพระราชดำริต่าง ๆ ดำเนินงานสำคัญตามข้อส่ังการ รมต.ช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นาง
กนกวรรณ วลิ าวัลย์ นโยบายขบั เคล่ือน กศน. WOW ดา้ นที่ 3 สง่ เสรมิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ีท่ ันสมยั และมี
ประสิทธิภาพ: Good Activities ด้านที่ 4 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย: Good Partnerships
ภารกิจต่อเน่ือง : จัดการศึกษาการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้หลักสูตรและการจัด
กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การเรียนทางไกล การประชุม สัมมนา การจัด
เวทแี ลกเปลย่ี นเรียนรู้ การจดั กิจกรรมจิตอาสา การสรา้ งชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ท่ีเหมาะสมฯ จึงจัด
โครงการการจัดกระบวนการเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซง่ึ เป็นการสรุปผลการดำเนินงานของ
กศน.ตำบลวงั สะพุง อำเภอวงั สะพุง จงั หวัดเลย โดยดำเนินการในวันท่ี 7 กรกฎาคม 2565
รายงานผลการดำเนินงานโครงการการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นี้
สามารถนำมาเป็นบทเรียนและพัฒนาในการจัดกิจกรรม กศน. ต่อไปได้อย่างเป็นรูปธรรมและมีคุณภาพ ซ่ึง
สามารถดำเนนิ การจัด กศน. ไดอ้ ยา่ งครบวงจร (PDCA)
กศน.ตำบลวังสะพุง จึงหวังว่าเอกสารเล่มนี้ที่จะบ่งบอกถึงการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการและจะ
เป็นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรม กศน. ทั้งในการบริหารงาน การพัฒนาคน และการทำงานท่ีตรงตามความ
ต้องการของผู้เรียน ผู้รับบริการและชุมชนและสามารถเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ และขอขอบคุณผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องและใหค้ วามรว่ มมือในการตอบแบบสอบถามทุกทา่ นไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย
จดั ทำโดย
กศน.ตำบลวังสะพุง
ข
สารบญั
คำนำ หนา้
สารบัญ ก
บทที่ 1 บทนำ ข
บทที่ 2 เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง 1
บทที่ 3 วธิ ีการดำเนินการ 4
บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งาน 7
บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 10
ภาคผนวก 13
- โครงการการจดั กระบวนการเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
- บัญชลี งเวลาผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการการจดั กระบวนการเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- แบบประเมินความพึงพอใจโครงการการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
- รปู ภาพกิจกรรมโครงการการจัดกระบวนการเรียนรูต้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คณะผ้จู ัดทำ
1
บทท่ี 1 บทนำ
1.1 ความเปน็ มา
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวช้ีแนวทางการดำรงชีวิตและปฏิบัติของ
ประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐทั้งในการพัฒนา และการบริหาร
ประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง ซึ่งเปรียบเสมือนแสงเทยี นท่ีส่องสว่างให้เห็นทางท่ีกา้ วเดินต่อไป ท่เี น้นการ
เจริญเติบโตที่ค่อยๆเกิดตามศักยภาพที่มีอยู่อย่างมีเหตุมีผล เป็นขั้นเป็นตอนด้วยความมั่นคง และเตรียมความ
พร้อมด้วยความไม่ประมาท ในการรับมือกับวิกฤติต่างๆ ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบและคุณธรรม
ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทำ ซ่ึง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอวังสะพุง ได้เห็นความสำคัญของการขับเคล่ือน เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา เพื่อสร้างความตระหนัก
ให้แก่บุคลากร ผู้เรียน ชุมชน ในการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนให้ดำเนินไปในทางสายกลาง เพื่อให้ก้าวทันต่อโลก
โลกาภิวัตน์ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันพอควร ต่อการมี
ผลกระทบอันเกิดจากการเปล่ียนแปลงภายนอกและภายใน ภายใต้เงอื่ นไขพนื้ ฐานความรู้ ค่คู ุณธรรม โดยการบูร
ณาการ ในการจัดการเรียนการสอน การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน โดยการเช่ือมโยงจากสถานศึกษาสู่ชุมชน
ใหฝ้ งั รากลกึ ภายในตนเองอย่างย่ังยืนตลอดไป
กศน.ตำบลวังสะพุง ได้สนองนโยบายดังกล่าว โดยในปีงบประมาณ 2565 ได้จัดกิจกรรมโครงการจัด
กระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้กับประชาชนเพ่ือให้ประชาชนได้ตระหนักเห็น
ความสำคัญของแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีจะนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถดำรงชีวิตได้
อย่างมีความสุข เป็นประชากรที่ทำงานเชิงเศรษฐกิจ ท่ีสามารถเพ่ิมขีดความสามารถทางเศรษฐกิจของประเทศ
ใหม้ คี วามพร้อมและความเข้มแขง็ ในการแข่งขนั ในเวทโี ลกและนำพาประเทศไปส่กู ารพฒั นาท่ยี ั่งยืนต่อไป
1.2 วตั ถุประสงค์
1. เพื่อให้ประชาชนในพ้ืนที่ตำบลวังสะพุง มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
2. เพ่อื ใหป้ ระชาชนในพื้นทีต่ ำบลวงั สะพงุ มีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับเกษตรสมยั ใหม่
3. เพ่ือให้ประชาชนในพ้ืนที่ตำบลวังสะพุง ศึกษาแหล่งเรียนรู้เกษตรสมัยใหม่และนำไปปรับใช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั ได้
1.3 กลุ่มเป้าหมาย
เชิงปรมิ าณ
ประชาชนในพื้นที่ตำบลวังสะพงุ จำนวน 2 คน
เชิงคุณภาพ
ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรสมัยใหม่
ศกึ ษาแหล่งเรยี นรู้เกษตรสมยั ใหมแ่ ละนำไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้
2
1.4 ขอบเขตในการทำกจิ กรรม
กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พนื้ ทดี่ ำเนนิ การ ระยะเวลา
บุคลากร 26 คน
1.ประชมุ บุคลากรผทู้ ่ี ขอมติท่ีประชมุ กศน.อำเภอ 30 พ.ค.
เจ้าหนา้ ที่งาน 1 คน วังสะพุง 2565
เก่ยี วข้อง กศน.อำเภอ 1 ก.ค.
บคุ ลากร 20 คน วงั สะพงุ 2564
2.เขียนโครงการเสนอ ขออนุมัตโิ ครงการ กศน.อำเภอ 2 ก.ค.
วังสะพงุ 2565
ขออนุมตั ิ กศน.อำเภอ 4 ก.ค
วังสะพงุ 2565
3.แตง่ ตั้งคณะทำงาน มอบหมายงาน
4.จดั เตรียมสถานท่ี จดั เตรียมเอกสารที่ใช้ใน บุคลากร 20 คน
ประชาชน 2 คน
วัสดุ สือ่ และอุปกรณ์ โครงการฯ สถานที่ วัสดุ ในพน้ื ท่ี
ตำบลวงั สะพุง 3 คน
อุปกรณ์ ตามหนา้ ที่
- ผู้นิเทศติดตาม
5.ดำเนนิ การตาม 1. เพอื่ ใหป้ ระชาชนใน - ครู กศน.ตำบล ศนู ยเ์ รยี นเกษตร 7 ก.ค.
- ครู ศรช. สมยั ใหม่ 2565
โครงการฯ พืน้ ทีต่ ำบลวงั สะพุง มี
Charm Farm
ตามกำหนดการท่แี นบ ความรู้ ความเขา้ ใจ สวนผัก
ลุงตุม้
เกย่ี วกับหลกั ปรชั ญาของ หมู่ 3
เศรษฐกิจพอเพยี ง บา้ นโนนสว่าง
ตำบลปากปวน
2. เพื่อใหป้ ระชาชนใน
อำเภอ
พ้ืนท่ตี ำบลวังสะพุง มี วงั สะพงุ
จังหวัดเลย
ความรู้ ความเข้าใจ
เกีย่ วกบั เกษตรสมัยใหม่
3. เพื่อให้ประชาชนในพื้นท่ี
ตำบลวงั สะพุง ศึกษาแหลง่
เรียนรู้เกษตรสมยั ใหม่และ
นำไปปรบั ใชใ้ น
ชวี ิตประจำวันได้
6.ติดตามประเมินผล ประเมินผลการดำเนินงาน กศน.ตำบล 12 ก.ค.
วงั สะพุง 2565
/ สรปุ รายงาน เมอื่ แล้วเสร็จ
1.5 ขอบเขตพนื้ ท่ีการจดั กิจกรรม
ศูนยเ์ รยี นเกษตรสมัยใหม่ Charm Farm สวนผกั ลงุ ตุม้ หมู่ 3 บ้านโนนสวา่ ง ตำบลปากปวน อำเภอ
วงั สะพงุ จงั หวัดเลย
3
1.6 ขอบเขตระยะเวลาการจัดกจิ กรรม
วันที่ 7 กรกฎาคม 2565 เวลา 07.30 น. - 17.00 น.
1.7 เครือขา่ ย
1) ปราชญ/์ ภมู ปิ ญั ญา
2) ผูน้ ำชุมขน
ฯลฯ
4
บทท่ี 2 เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง
2.1 จดุ เริ่มต้นแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียง
ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย ได้กอ่ ให้เกิดการเปลยี่ นแปลงแก่สังคมไทยอย่าง
มากในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและส่ิงแวดล้อม อีกทั้งกระบวนการของ
ความเปล่ียนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากท่ีจะอธิบายใน เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการเปล่ียนแปลง
ทัง้ หมดตา่ งเปน็ ปจั จยั เชอ่ื มโยงซ่งึ กนั และกัน
สำหรับผลของการพัฒนาในด้านบวกน้ัน ได้แก่ การเพ่ิมขึ้นของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความ
เจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบสื่อสารท่ีทันสมัย หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษา
อย่างทั่วถึงมากข้ึน แต่ผลด้านบวกเหล่าน้ีส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมน้อย แต่
ว่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้
สง่ ผลใหช้ นบทเกิดความออ่ นแอในหลายด้าน ทง้ั การต้องพึ่งพงิ ตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสั่งสินค้าทนุ ความ
เสอ่ื มโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสมั พนั ธ์แบบเครือญาติ และการรวมกลุ่มกนั ตามประเพณเี พ่ือการ
จัดการทรัพยากรท่ีเคยมีอยู่แต่เดิมแตก สลายลง ภูมิความรู้ท่ีเคยใช้แก้ปัญหาและสั่งสมปรับเปล่ียนกันมาถูกลืม
เลือนและเร่ิม สญู หายไป
สิง่ สำคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นเง่ือนไขพื้นฐานที่ทำให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง และ
ดำเนินชีวติ ไปได้อยา่ งมีศกั ดิ์ศรีภายใต้อำนาจและความมอี สิ ระในการกำหนด ชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถ
ในการควบคุมและจัดการเพ่ือให้ตนเองได้รับการสนองตอบต่อความต้อง การต่างๆ รวมท้ังความสามารถในการ
จดั การปญั หาตา่ งๆ ไดด้ ้วยตนเอง ซึ่งท้ังหมดนี้ถอื วา่ เป็นศกั ยภาพพ้นื ฐานที่คนไทยและสงั คมไทยเคยมีอยู่แต่ เดิม
ต้องถูกกระทบกระเทือน ซง่ึ วิกฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมท้ังปัญหา
อนื่ ๆ ทเี่ กดิ ข้ึน ล้วนแตเ่ ปน็ ขอ้ พิสจู นแ์ ละยนื ยันปรากฎการณน์ ีไ้ ด้เป็นอยา่ งดี
2.2 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ
ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่ือให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจาก
การเปล่ียนแปลงท้ังภายในภายนอก ทงั้ น้ี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวงั อย่างย่ิง
ในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนนิ การ ทุกข้ันตอน และขณะเดยี วกัน จะต้องเสริมสร้าง
พ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกใน
คุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ
5
ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง
ทั้งด้านวตั ถุ สงั คม สิง่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
2.3 ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพยี ง จงึ ประกอบด้วยคุณสมบัติ ดังนี้
1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและ
ผูอ้ น่ื เช่น การผลิตและการบรโิ ภคทีอ่ ยู่ในระดับพอประมาณ
2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับความพอเพียงน้ัน จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดย
พจิ ารณาจากเหตปุ จั จยั ท่เี กย่ี วขอ้ ง ตลอดจนคำนงึ ถึงผลทีค่ าดว่าจะเกดิ ข้ึนจากการกระทำน้ันๆ อย่างรอบคอบ
3. ภูมิคมุ้ กนั หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ้ รอ้ มรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านตา่ งๆ ท่ีจะเกิดข้ึน โดย
คำนึงถงึ ความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดข้นึ ในอนาคต
โดยมี เง่ือนไข ของการตัดสนิ ใจและดำเนินกจิ กรรมตา่ งๆ ให้อย่ใู นระดับพอเพยี ง ๒ ประการ ดังน้ี
1. เง่ือนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกบั วิชาการต่างๆ ที่เกีย่ วข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะ
นำความรู้เหลา่ น้นั มาพจิ ารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั เพ่อื ประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏบิ ตั ิ
2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต
และมคี วามอดทน มีความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนินชวี ิต
2.4 ประเทศไทยกับเศรษฐกิจพอเพยี ง
เศรษฐกิจพอเพยี ง มุ่งเน้นใหผ้ ู้ผลิต หรอื ผูบ้ ริโภค พยายามเรมิ่ ต้นผลติ หรอื บรโิ ภคภายใตข้ อบเขต ขอ้ จำกัด
ของรายได้ หรือทรัพยากรท่ีมีอยู่ไปก่อน ซึ่งก็คือ หลักในการลดการพึ่งพา เพิ่มขีดความสามารถในการควบคุม
การผลิตไดด้ ้วยตนเอง และลดภาวะการเสี่ยงจากการไมส่ ามารถควบคุมระบบตลาดไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
เศรษฐกิจพอเพียงมใิ ชห่ มายความถึง การกระเบียดกระเสยี นจนเกินสมควร หากแต่อาจฟุ่มเฟือยได้เป็นครั้ง
คราวตามอัตภาพ แต่คนสว่ นใหญ่ของประเทศ มกั ใช้จา่ ยเกนิ ตัว เกนิ ฐานะทีห่ ามาได้
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำไปสู่เป้าหมายของการสรา้ งความม่ันคงในทางเศรษฐกิจได้ เช่น โดยพ้ืนฐาน
แล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึงควรเน้นท่ีเศรษฐกิจการเกษตร เน้นความ
ม่ันคงทางอาหาร เป็นการสร้างความม่ันคงให้เป็นระบบเศรษฐกิจในระดับหนึ่ง จึงเป็นระบบเศรษฐกิจที่ช่วยลด
ความเสี่ยง หรอื ความไม่มนั่ คงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได้
เศรษฐกจิ พอเพียง สามารถประยกุ ต์ใชไ้ ด้ในทุกระดบั ทุกสาขา ทกุ ภาคของเศรษฐกิจ ไม่จำเป็นจะตอ้ งจำกัด
เฉพาะแต่ภาคการเกษตร หรอื ภาคชนบท แมแ้ ต่ภาคการเงิน ภาคอสังหาริมทรพั ย์ และการค้าการลงทุนระหว่าง
ประเทศ
6
โดยมหี ลักการท่ีคล้ายคลงึ กันคอื เนน้ การเลอื กปฏบิ ตั ิอย่างพอประมาณ มีเหตุมีผล และสรา้ งภูมิคุ้มกันใหแ้ ก่
ตนเองและสังคม
2.5 การดำเนินชีวติ ตามแนวพระราชดำรพิ อเพยี ง
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ทรงเขา้ ใจถึงสภาพสังคมไทย ดังนน้ั เมอื่ ได้พระราชทานแนวพระราชดำริ
หรือพระบรมราโชวาทในดา้ นตา่ งๆ จะทรงคำนึงถงึ วถิ ีชวี ติ สภาพสงั คมของประชาชนดว้ ย เพอ่ื ไม่ใหเ้ กิดความ
ขดั แยง้ ทางความคดิ ท่ีอาจนำไปสูค่ วามขดั แยง้ ในทางปฏบิ ัตไิ ด้
แนวพระราชดำริในการดำเนินชวี ติ แบบพอเพียง
1. ยดึ ความประหยดั ตดั ทอนคา่ ใชจ้ ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยในการใช้ชวี ิต
2. ยดึ ถือการประกอบอาชพี ด้วยความถกู ต้อง ซ่ือสัตยส์ ุจรติ
3. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชนแ์ ละแขง่ ขนั กันในทางการค้าแบบต่อส้กู ันอยา่ งรนุ แรง
4. ไม่หยดุ นิง่ ทีจ่ ะหาทางให้ชวี ิตหลดุ พ้นจากความทุกขย์ าก ด้วยการขวนขวายใฝ่หาความรูใ้ หม้ ีรายได้
เพ่มิ พนู ข้ึน จนถงึ ข้นั พอเพยี งเปน็ เป้าหมายสำคัญ
5. ปฏบิ ตั ติ นในแนวทางที่ดี ลดละสง่ิ ช่ัว ประพฤติตนตามหลักศาสนา
7
บทที่ 3 วธิ ีการดำเนนิ การ
3.1 วธิ ีการดำเนินการตามระบบการดำเนนิ งานครบวงจร (PDCA)
การวางแผน (Plan)
1. ประชมุ รบั นโยบายการดำเนินงาน
บุคลากร กศน.ตำบลวังสะพุง ประชุมเพ่ือวางแผนจัดโครงการตามแผนการดำเนินงาน กำหนดช่ือ
โครงการ กำหนดกลุ่มเปา้ หมาย เพื่อดำเนนิ การสำรวจความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย
2. สำรวจความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายในพน้ื ท่ี
กศน.ตำบลวังสะพุง สำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นท่ี โดยการใช้แบบสำรวจความ
ต้องการในการเข้าร่วมโครงการ และไดก้ ลุ่มเปา้ หมายตามเปา้ หมายที่กำหนดไว้
3. วิเคราะห์ข้อมลู เพอ่ื นำไปใชใ้ นการดำเนินงาน
กศน.ตำบลวงั สะพงุ วิเคราะหข์ อ้ มลู จากการสำรวจความต้องการสของกลุ่มเปา้ หมายในพ้ืนที่ และนำ
ข้อมลู ที่วิเคราะหด์ ำเนินการจัดเตรียมขอ้ มูล เพอื่ จดั ทำสือ่ ตา่ ง ๆ
4. จดั เตรียมข้อมลู รายละเอยี ดและส่ือตา่ งๆเพ่ือนำไปใช้ในการประชาสัมพนั ธ์รับสมคั ร
กศน.ตำบลวังสะพุง นำข้อมูลที่วิเคราะห์ดำเนินการจัดเตรียมข้อมูล เพื่อจัดทำส่ือต่าง ๆ และ
ประชาสัมพันธร์ บั สมคั รใหป้ ระชาชนในพื้นทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ
การนำไปปฏิบัติ (DO)
1. สรุปขอ้ มลู พ้ืนฐานและความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย
กศน.ตำบลวังสะพุง ได้นำข้อมูลจากการสำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนท่ี สรุปข้อมูล
พนื้ ฐานและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย เพอ่ื จดั ทำโครงการ
2. จัดทำโครงการเพอ่ื ขออนุมตั ิ
กศน.ตำบลวงั สะพุง จัดทำโครงการ หลักการและเหตุผล กำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขอบเขตใน
การทำกิจกรรม ขอบเขตพน้ื ท่ีการจดั กจิ กรรม ขอบเขตระยะเวลาการจดั กจิ กรรม และเครือข่าย
3. ประสานเครือขา่ ย / วิทยากร
กศน.ตำบลวังสะพุง ดำเนินการจัดทำหนังสือเชิญวิทยากรเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ และ
ประสานเครอื ข่ายในการขอความความอนเุ คราะหใ์ ช้สถานทีใ่ นการจดั โครงการ
4. ดำเนนิ การฝกึ อบรมตามโครงการ
กศน.ตำบลวังสะพุง ดำเนินการจัดโครงการตามแผนที่กำหนดไว้ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นประชาชน
ในตำบลวงั สะพงุ เขา้ อบรมในโครงการ
5. สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
กศน.ตำบลวังสะพุง จัดทำรายงานผลการดำเนินงานโดยการสรุปผล อภิปรายผล หลังเสร็จสิ้น
โครงการ และนำเสนอรายผลการดำเนนิ งานตอ่ ผู้บริหารสถานศึกษา
8
การตรวจสอบ (Check)
1. ดำเนนิ การประเมนิ ผลความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการที่มตี อ่ การจดั กระบวนการเรยี นรู้
กศน.ตำบลวังสะพุง ดำเนินการประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีต่อการจัด
กระบวนการเรียนรู้ โดยให้ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการทำแบบประเมินความพงึ พอใจในการเข้าร่วมโครงการ
2. ดำเนินการประเมินผลความพึงพอใจของวิทยากรที่มีต่อความสำเร็จของโครงการและกระบวนการ
บริหารจดั การของสถานศึกษา
กศน.ตำบลวังสะพุง ดำเนินการประเมินผลความพึงพอใจของวิทยากรท่ีมีต่อความสำเร็จของ
โครงการและกระบวนการบริหารจัดการของสถานศึกษา โดยให้ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการทำแบบประเมินความพึงพอใจ
ในการเขา้ รว่ มโครงการ
3. นเิ ทศตดิ ตามผลโครงการ
กศน.ตำบลวังสะพุง ได้ลงพื้นท่ีเพ่ือนิเทศติดตามผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากการจัดโครงการเสร็จส้ิน
โดยใชแ้ บบนิเทศติดตามผู้เข้าร่วมโครงการหลงั จากการจดั โครงการเสร็จส้ิน
ปรบั ปรงุ แก้ไข (Act)
1. วิเคราะหป์ ญั หา/ข้อเสนอแนะ
กศน.ตำบลวังสะพุง นำปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมโครงการมาวิเคราะห์ข้อมูล
จากแบบประเมินความพงึ พอใจในการเข้ารว่ มโครงการ
2. สรปุ ปญั หา/ข้อเสนอแนะ
กศน.ตำบลวังสะพุง สรุปปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมโครงการมาวิเคราะห์ข้อมูล
จากแบบประเมินความพึงพอใจในการเข้ารว่ มโครงการ
3. หาวธิ ีการดำเนนิ การปรบั ปรุง แก้ไข โครงการ/กิจกรรมต่อไป
กศน.ตำบลวังสะพุง นำปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมโครงการ เพื่อดำเนินการ
ปรบั ปรุง แกไ้ ข โครงการ/กิจกรรมตอ่ ไป โดยการจัดกิจกรรมใหเ้ หมาะสมกับกลุม่ เป้าหมายให้มากข้ึน
3.2 ดัชนีชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ
ตวั ชี้วดั ผลผลิต
ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เกษตรสมยั ใหม่ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
ตัวชวี้ ัดผลลัพธ์
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม สามารถนำความรู้ ความเข้าใจใน หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรสมยั ใหม่
ปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้
9
3.3 วธิ ีการดำเนินการ
กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย พนื้ ทดี่ ำเนนิ การ ระยะเวลา
ขอมติท่ปี ระชมุ บุคลากร 26 คน
1.ประชุมบุคลากรผทู้ ่ี กศน.อำเภอ 30 พ.ค.
เกี่ยวข้อง ขออนมุ ัตโิ ครงการ เจ้าหน้าท่งี าน 1 คน วงั สะพงุ 2565
2.เขยี นโครงการเสนอ กศน.อำเภอ 1 ก.ค.
ขออนมุ ัติ มอบหมายงาน บุคลากร 20 คน วงั สะพงุ 2564
3.แตง่ ตัง้ คณะทำงาน กศน.อำเภอ 2 ก.ค.
วงั สะพุง 2565
4.จัดเตรียมสถานที่ จัดเตรยี มเอกสารที่ใชใ้ น บุคลากร 20 คน กศน.อำเภอ 4 ก.ค
ประชาชน 2 คน วงั สะพุง 2565
วสั ดุ สอ่ื และอุปกรณ์ โครงการฯ สถานท่ี วัสดุ ในพืน้ ท่ี
ตำบลวังสะพุง 3 คน
อุปกรณ์ ตามหนา้ ที่
- ผู้นิเทศตดิ ตาม
5.ดำเนนิ การตาม 1. เพ่อื ใหป้ ระชาชนใน - ครู กศน.ตำบล ศนู ย์เรียนเกษตร 7 ก.ค.
- ครู ศรช. สมยั ใหม่ 2565
โครงการฯ พ้นื ท่ตี ำบลวงั สะพงุ มี
Charm Farm
ตามกำหนดการที่แนบ ความรู้ ความเขา้ ใจ สวนผัก
ลงุ ตมุ้
เกีย่ วกับหลกั ปรชั ญาของ หมู่ 3
เศรษฐกิจพอเพียง บ้านโนนสว่าง
ตำบลปากปวน
2. เพอ่ื ให้ประชาชนใน
อำเภอ
พน้ื ทีต่ ำบลวงั สะพุง มี วังสะพงุ
จงั หวดั เลย
ความรู้ ความเข้าใจ
เกย่ี วกบั เกษตรสมยั ใหม่
3. เพือ่ ให้ประชาชนในพืน้ ที่
ตำบลวงั สะพุง ศึกษาแหลง่
เรียนร้เู กษตรสมยั ใหมแ่ ละ
นำไปปรับใช้ใน
ชวี ิตประจำวนั ได้
6.ติดตามประเมนิ ผล ประเมนิ ผลการดำเนินงาน กศน.ตำบล 12 ก.ค.
วังสะพุง 2565
/ สรปุ รายงาน เม่อื แล้วเสรจ็
10
บทที่ 4 ผลการดำเนินการ
ตอนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไป
ตารางที่ 1 แสดงเพศผเู้ ข้าร่วมโครงการ
เพศ จำนวน (คน)
ชาย 1
หญิง 3
รวมท้ังหมด 4
จากตารางที่ 1 ผเู้ ข้าร่วมโครงการเป็นเพศชาย จำนวน 1 คน คดิ เป็นร้อยละ 25 และเพศหญงิ จำนวน 3
คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 75 ซึ่งรวมทง้ั หมด 4 คน
ตารางท่ี 2 แสดงอายเุ ขา้ ร่วมโครงการ
อายุ 15 - 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 – 60 ปี 61 ปีข้ึนไป รวมทั้งหมด
จำนวน (คน) 1 - - 3 - 4
จากตารางท่ี 2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีอายุ 15 - 30 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 25 และมีอายุ 51 -
60 ปี จำนวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 75 ซงึ่ รวมช่วงอายุท้ังหมด 4 คน
ตารางที่ 3 แสดงระดับการศึกษาเข้าร่วมโครงการ
ระดบั การศกึ ษา จำนวน (คน)
ประถมศกึ ษา -
มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 1
มัธยมศึกษาตอนปลาย 3
รวมท้ังหมด 4
จากตารางท่ี 3 ผู้เข้าร่วมโครงการกำลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อย
ละ 25 และระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 75 ซึ่งรวมทง้ั 2 ระดับช้นั ทงั้ หมด 4 คน
ตารางที่ 4 แสดงอาชีพเข้าร่วมโครงการ
อาชีพ ธุรกจิ สว่ นตัว รบั จา้ ง เกษตรกร อนื่ ๆ รวมทั้งหมด
จำนวน (คน) - - -4 4
จากตารางที่ 4 ผู้เข้ารว่ มโครงการ ประกอบอาชีพอ่ืนๆ (ว่างงาน และ อสม.) จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อย
ละ 100 ซ่ึงรวมผ้ปู ระกอบอาชีพทง้ั หมด 4 คน
11
ตอนที่ 2 ระดับความพงึ พอใจ
ตารางท่ี 5 แสดงระดับความพงึ พอใจดา้ นเนื้อหา
ระดับความพึงพอใจ หมาย
ขอ้ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ มากทสี่ ดุ มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เหตุ
กลาง ที่สุด
ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเนอื้ หา
1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ 4= 100%
2 เนอ้ื หาเพยี งพอต่อความต้องการ 4= 100%
3 เนื้อหาปจั จุบนั ทันสมัย 4= 100%
4 เนื้อหามปี ระโยชน์ต่อการนำไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชวี ิต 4= 100%
สรปุ 100%
จากตารางท่ี 5 ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการแสดงความคิดเห็นในการประเมินโครงการการจัดการศึกษาเพอ่ื พฒั นา
สังคมและชุมชน กิจกรรมอบรมให้ความรู้การป้องกันภัยคุกคามในยุคไซเบอร์ โดยมีประเด็นวัดความพึงพอใจ
ด้านเน้ือหา ดังนี้ เน้ือหาเพียงพอและตรงตามความต้องการ มีความทันสมัย และมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ใน
การพฒั นาคุณภาพชีวติ คิดเปน็ ร้อยละ 100
ตารางที่ 6 แสดงระดับความพงึ พอใจด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม
ระดับความพึงพอใจ หมาย
ขอ้ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ มากทส่ี ุด มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เหตุ
กลาง ทส่ี ุด
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม
1 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 4= 100%
2 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ 4= 100%
3 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 4= 100%
4 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย 4= 100%
5 วธิ กี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ 4= 100%
สรปุ 100%
จากตารางที่ 6 ผู้เขา้ รว่ มโครงการแสดงความคิดเหน็ ในการประเมินโครงการการจดั การศึกษาเพ่อื พฒั นา
สังคมและชุมชน กิจกรรมอบรมให้ความรู้การป้องกันภัยคุกคามในยุคไซเบอร์ โดยมีประเด็นวัดความพึงพอใจ
ด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม ดังน้ี การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม การออกแบบกิจกรรมเหมาะสม
12
กับวัตถุประสงค์ การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมาย การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา และวิธกี ารวดั ผล/
ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ คิดเป็นรอ้ ยละ 100
ตารางท่ี 7 แสดงระดบั ความพึงพอใจต่อวิทยากร
ระดบั ความพึงพอใจ หมาย
ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ มากที่สุด มาก ปาน นอ้ ย น้อย เหตุ
กลาง ทส่ี ุด
ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร 4= 100%
1 วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอด 4= 100%
2 วทิ ยากรมีเทคนคิ ในการถา่ ยทอดใชส้ ื่อเหมาะสม 4= 100%
3 วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มสี ว่ นรว่ มและซักถาม สรุป 100%
จากตารางที่ 7 ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการการจดั การศึกษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชุมชน กิจกรรมอบรมใหค้ วามรู้
การป้องกันภัยคุกคามในยุคไซเบอร์ โดยมีประเด็นวัดความพึงพอใจต่อวิทยากร ดังน้ี วิทยากรมีความรู้
ความสามารถในการถ่ายทอด และวิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม และวิทยากรมีเทคนิคในการ
ถ่ายทอดใช้สือ่ เหมาะสม คิดเป็นรอ้ ยละ 100
ตารางท่ี 8 แสดงระดับความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก
ระดบั ความพึงพอใจ หมาย
ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ มากทีส่ ุด มาก ปาน น้อย น้อย เหตุ
กลาง ทีส่ ดุ
ตอนที่ 4 ความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก
1 สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสง่ิ อำนวยความสะดวก 4= 100%
2 การส่อื สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กดิ กาเรียนรู้ 4= 100%
3 การบริการ การช่วยเหลอื และการแกป้ ัญหา 4= 100%
สรปุ 100%
จากตารางท่ี 8 ผู้เข้ารว่ มโครงการแสดงความคิดเห็นในการประเมินโครงการการจัดการศกึ ษาเพือ่ พฒั นา
สังคมและชุมชน กิจกรรมอบรมให้ความรู้การป้องกันภัยคุกคามในยุคไซเบอร์ โดยมีประเด็นวัดความพึงพอใจ
ดา้ นการอำนวยความสะดวก ดงั นี้ การบริการ การช่วยเหลือและการแกป้ ญั หา และสถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณแ์ ละสิ่ง
อำนวยความสะดวก และการสอ่ื สาร การสร้างบรรยากาศเพอ่ื ให้เกดิ กาเรียนรู้ คิดเป็นรอ้ ยละ 100
13
บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
5.1 สรุปผล
ผู้เข้าร่วมโครงการการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นเพศชาย
จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 25 และเพศหญิง จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 75 และมีอายุ 15 - 30 ปี จำนวน
1 คน คิดเป็นร้อยละ 25 และมีอายุ 51 - 60 ปี จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 75 ซ่ึงกำลังศึกษาอยู่ระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 25 และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 3 คน คิดเป็น
ร้อยละ 75 ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการเป็นประชาชนท่ัวไปในพนื้ ที่ตำบลวงั สะพุง พร้อมทง้ั ประกอบอาชีพ (ว่างงาน และ
อสม.) จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และมีประเด็นวัดความพึงพอใจในการจัดโครงการฯ ดังนี้ ความพึง
พอใจด้านเนื้อหา ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม และความพึงพอใจต่อวิทยากร ความพึง
พอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก คิดเป็นร้อยละ 100 จากผู้ตอบแบบสอบถามทง้ั หมด 4 คน
5.2 อภปิ รายผล
การจัดโครงการการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เข้าร่วมโครงการมี
ความพึงพอใจในด้านเน้ือหาตรงตามความต้องการและเพียงพอ มีความเป็นปัจจุบันและทันสมัย มีการเตรียม
ความพร้อมก่อนอบรม กิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์และเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย วิทยากรมีความรู้
ความสามารถในการถ่ายทอด เปดิ โอกาสให้มสี ว่ นรว่ มและซักถาม พรอ้ มทั้งมีการชว่ ยเหลือและการแกป้ ัญหา
การจัดโครงการการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้ดำเนินการตาม
เป้าหมายของโครงการ โดยเน้นให้ผู้เข้าร่วมอบรมบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ซึ่งวิทยาการได้ให้ความรู้
เก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีสมัยใหม่ รวมทั้งได้ศึกษาแนวทางการดำเนินชีวิต
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนายศกั ดด์ิ าภา คเนจร ณ อยุธยา ซ่ึงเปน็ เจา้ ของสวน
ผู้เข้าร่วมโครงการการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้เดินดูสวนผัก
สถานท่ีจริง และได้ซักถาม ปรึกษา แนะนำ จากนายศักดิ์ดาภา คเนจร ณ อยุธยา ซ่ึงเป็นเจ้าของสวน เพ่ือนำ
ความรู้ทีไ่ ด้รบั ไปใชร้ ะโยชนใ์ นครัวเรือนของตนเอง
5.3 ข้อเสนอแนะ
ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไม่มขี อ้ เสนอแนะใน
การจัดกจิ กรรม
ภาคผนวก
โครงการการจดั กระบวนการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
1. ชือ่ โครงการ การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. สอดคล้องนโยบายเร่งดว่ นเพื่อร่วมกันขบั เคล่ือนยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ
ข้อท่ี 1 ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง : 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลัก
ของชาติ โดยปลูกฝังและสร้างความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความ
รักและความภาคภูมิใจ ในความเป็นคนไทยและชาติไทย น้อมน่าและเผยแพร่ศาสตร์พระราซา หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง รวมถึงแนวทางพระราชดำรติ า่ ง ๆ
ดำเนินงานสำคัญตามข้อสั่งการ รมต.ช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นางกนกวรรณ วิลาวัลย์
นโยบายขับเคลื่อน กศน. WOW ด้านที่ 3 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ :
Good Activities ดา้ นที่ 4 เสริมสร้างความร่วมมอื กับภาคเี ครือขา่ ย : Good Partnerships
ภารกิจต่อเน่ือง : จัดการศกึ ษาการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้หลักสูตรและการ
จัดกระบวนการเรียนรแู้ บบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การเรยี นทางไกล การประชุม สมั มนา การจัด
เวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู้ การจดั กิจกรรมจติ อาสา การสร้างชุมชนนักปฏบิ ัติ และรูปแบบอ่นื ๆ ท่ีเหมาะสมฯ
3. หลกั การและเหตุผล
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวชี้แนวทางการดำรงชีวิตและปฏิบัติของ
ประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐท้ังในการพัฒนา และการบริหาร
ประเทศใหด้ ำเนินไปในทางสายกลาง ซึ่งเปรียบเสมือนแสงเทยี นที่ส่องสว่างให้เห็นทางที่กา้ วเดินต่อไป ท่เี น้นการ
เจริญเติบโตที่ค่อยๆเกิดตามศักยภาพที่มีอยู่อย่างมีเหตุมีผล เป็นขั้นเป็นตอนด้วยความมั่นคง และเตรียมความ
พร้อมด้วยความไม่ประมาท ในการรับมือกับวิกฤติต่างๆ ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบและคุณธรรม
ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทำ ซ่ึง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอวังสะพุง ได้เห็นความสำคัญของการขับเคล่ือน เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา เพื่อสร้างความตระหนัก
ให้แก่บุคลากร ผู้เรียน ชุมชน ในการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนให้ดำเนินไปในทางสายกลาง เพื่อให้ก้าวทันต่อโลก
โลกาภิวัตน์ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันพอควร ต่อการมี
ผลกระทบอันเกิดจากการเปลย่ี นแปลงภายนอกและภายใน ภายใต้เง่ือนไขพ้ืนฐานความรู้ ค่คู ุณธรรม โดยการบูร
ณาการ ในการจัดการเรียนการสอน การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน โดยการเช่ือมโยงจากสถานศึกษาสู่ชุมชน
ให้ฝังรากลึกภายในตนเองอย่างย่ังยนื ตลอดไป
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสะพุง ได้สนองนโยบายดังกล่าว โดยใน
ปีงบประมาณ 2565 ได้จัดกิจกรรมโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ให้กับประชาชนเพ่ือให้ประชาชนได้ตระหนักเห็นความสำคัญของแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีจะนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถดำรงชีวิตไดอ้ ยา่ งมีความสุข เปน็ ประชากรที่ทำงานเชิงเศรษฐกิจ ท่สี ามารถ
เพ่ิมขีดความสามารถทางเศรษฐกิจของประเทศให้มีความพร้อมและความเข้มแข็งในการแข่งขันในเวทีโลกแ ละ
นำพาประเทศไปสกู่ ารพฒั นาท่ียั่งยืนตอ่ ไป
4. วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้ประชาชน อำเภอวังสะพงุ มีความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ยี วกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้
2. เพอื่ ใหป้ ระชาชนอำเภอวังสะพุง มีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับเกษตรสมัยใหม่ได้
3. เพื่อใหป้ ระชาชนอำเภอวังสะพุง ศึกษาแหล่งเรียนรู้เกษตรสมัยใหม่และนำไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
ได้
5. กลุ่มเปา้ หมาย
เชิงปริมาณ
ประชาชนอำเภอวังสะพุง ทั้ง 10 ตำบล ๆ ละ 2 คน รวมทงั้ สน้ิ จำนวน 20 คน
เชิงคณุ ภาพ
ประชาชน อำเภอวังสะพุงท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรสมยั ใหม่ได้
6. วธิ ีดำเนนิ การ
กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พนื้ ที่ ระยะเวลา งบประมาณ
26 คน ดำเนนิ การ
1.ประชมุ ขอมติทป่ี ระชมุ บคุ ลากร 30 พ.ค. -
1 คน กศน.อำเภอ 2565
บคุ ลากรผทู้ ี่ 20 คน วังสะพุง
20 คน
เกีย่ วข้อง
20 คน
2.เขยี นโครงการ ขออนมุ ตั โิ ครงการ เจ้าหน้าท่ีงาน กศน.อำเภอ 1 ก.ค. -
วังสะพงุ 2564 -
เสนอขออนุมัติ กศน.อำเภอ 2 ก.ค.
วงั สะพุง 2565
3.แตง่ ต้ัง มอบหมายงาน บุคลากร กศน.อำเภอ 4 ก.ค
วงั สะพุง 2565
คณะทำงาน
4.จดั เตรยี ม จดั เตรยี มเอกสารทีใ่ ช้ บคุ ลากร
สถานท่ี วสั ดุ ในโครงการฯ สถานที่
สอื่ และอุปกรณ์ วสั ดุ อปุ กรณ์ ตาม
หนา้ ที่
5.ดำเนนิ การ 1. เพือ่ ให้ประชาชน ประชาชนท่ัวไปอำเภอ ศนู ย์เรียน 7 ก.ค. 6,400 บาท
เกษตร 2565
ตามโครงการฯ อำเภอวังสะพงุ มีความรู้ วังสะพุง สมัยใหม่
Charm Farm
ตามกำหนดการ ความเขา้ ใจ เกยี่ วกับ ทง้ั 10 ตำบล สวนผกั
ท่ีแนบ หลกั ปรชั ญาของ ตำบลละ 2 คน
เศรษฐกิจพอเพยี งได้
2. เพ่ือให้ประชาชน ลุงตุ้ม
หมู่ 3
อำเภอวังสะพุง มีความรู้ บา้ นโนนสว่าง
ตำบลปากปวน
ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั อำเภอ
วังสะพุง
เกษตรสมยั ใหมไ่ ด้ จังหวัดเลย
3. เพ่ือใหป้ ระชาชน
อำเภอวงั สะพงุ ศึกษา
แหล่งเรยี นร้เู กษตร
สมัยใหม่และนำไป
ปรบั ใช้ใน
ชวี ิตประจำวนั ได้
6.ตดิ ตาม ประเมินผลการ - ผูน้ เิ ทศตดิ ตาม 3 คน กศน.ตำบล 12 ก.ค.
ประเมินผล / ครู กศน. ทัง้ 10 แห่ง 2565
สรุปรายงาน ดำเนินงานเม่ือแลว้ - ครู กศน.ตำบล ตำบล
ท้ัง 10 แหง่
เสรจ็
7. วงเงนิ งบประมาณ
ใช้งบประมาณ แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 4
ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบดำเนินงาน งบดำเนินงาน การเรียนรู้ตาม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รหัสงบประมาณ 20002360004002000000 แหล่งของเงิน 6511200 เพื่อเป็นค่า
จา่ ยในการจัดกจิ กรรม จำนวน 6,400 บาท (หกพนั สร่ี อ้ ยบาทถ้วน ) ดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี
1. คา่ อาหาร จำนวน 20 คน x 70 บาท x 1 มื้อ จำนวนเงนิ 1,400 บาท
2. คา่ อาหารวา่ งและเครื่องด่ืม จำนวน 20 คน x 25 บาท x 1 ม้อื จำนวนเงิน 1,000 บาท
3. คา่ ตอบแทนวทิ ยากร 1 คน x 200 บาท x6 ชัว่ โมง จำนวนเงนิ 1,200 บาท
4. ค่าวัสดุโครงการ จำนวนเงิน 2,800 บาท
รวมเงนิ ทง้ั สนิ้ จำนวนเงิน 6,400 บาท
(หกพนั สี่ร้อยบาทถว้ น)
หมายเหตุ ทุกรายการถวั เฉลี่ยจ่ายตามท่จี ่ายจรงิ
8. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ
กจิ กรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส3 ไตรมาส 4
(ต.ค. –ธ.ค 2564) (ม.ค.–ม.ี ค.2565) (เม.ย.–ม.ิ ย.2565) (ก.ค. – ก.ย. 2565)
โครงการการจดั กระบวนการเรียนรู้
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ - - - 6,400
พอเพยี ง
9.ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ
9.1 ครู
9.2 ครู อาสาสมัคร ฯ
9.3 ครู กศน.ตำบล
9.4 ครู ศรช.
10. เครอื ข่าย
10.1 ปราชญ/์ ภูมิปญั ญา
10.2 ผู้นำชมุ ขน
ฯลฯ
11.โครงการ/กิจกรรมท่เี กี่ยวข้อง
11.1 โครงการการจดั การศึกษาตอ่ เนื่อง
11.2 โครงการการศึกษาตามอัธยาศยั
ฯลฯ
12. ผลลัพธ์
ประชาชน อำเภอวังสะพุงท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและเกษตรสมยั ใหมไ่ ด้
13. ดัชนชี ้ีวดั ผลสำเร็จของโครงการ
13.1 ตัวช้ีวัดผลผลติ
ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงเกษตรสมยั ใหม่ ได้อยา่ งถูกต้อง
13.2 ตัวช้ีวัดผลลัพธ์
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม สามารถนำความรู้ ความเข้าใจใน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตร
สมัยใหม่ ปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้
14.การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ
14.1 แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
14.2 จากการสงั เกต
ผ้เู สนอโครงการ
ลงช่อื ………......……………........…
(นางดวงเดือน สุขบวั )
ครู ผ้ชู ว่ ย
ผอู้ นมุ ัติโครงการ
ลงชื่อ..............................................
(นางพชิ ามณชุ์ ลำมะนา)
ผู้อำนวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอวังสะพงุ
กำหนดการ
โครงการการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
วนั ท่ี 7 กรกฎาคม พ.ศ.2565
ณ ศูนย์เรยี นเกษตรสมยั ใหม่ Charm Farm สวนผักลุงตุ้ม หมู่ 3 บา้ นโนนสวา่ ง ต.ปากปวน อ.วังสะพงุ จ.เลย
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอวงั สะพุง
************************************************************************
เวลา 07.30 น. – 08.00 น. ลงทะเบียน
เวลา 08.00 น. - 08.30 น. พิธีเปิดโครงการ (โดย นางพิชามญช์ุ ลำมะนา ผอ.กศน.
อำเภอวงั สะพุง)
เวลา 08.30 น. – 10.30 น. เร่ือง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร
ทฤษฎีสมัยใหม่
(โดยวิทยากร นายศักดิ์ดาภา คเนจร ณ อยุธยา)
เวลา 10.30 น. - 10.45 น. พักรับประทานอาหารวา่ งและเคร่ืองดมื่
เวลา 10.45 น. - 12.00 น. เร่ือง ศึกษาแนวทางการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงของนายศักด์ิดาภา คเนจร ณ
อยธุ ยา เจา้ ของสวน
(โดยวทิ ยากร นายศักดิ์ดาภา คเนจร ณ อยธุ ยา)
เวลา 12.00 น. - 13.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 น. – 14.30 น. แบ่งกลุ่มถอดบทเรียนแนวทางการดำเนินชีวิตของผู้เข้า
รบั การอบรม
(โดยวทิ ยากร นายศักดิ์ดาภา คเนจร ณ อยธุ ยา)
เวลา 14.30 น. – 14.45 น. พกั รับประทานอาหารว่างและเคร่ืองดม่ื
เวลา 14.45 น.- 16.30 น. แลกเปลย่ี นเรยี นรู้/สรปุ ผลโครงการ
สรปุ ผลโครงการ
(โดย ครอู าสาสมคั รฯ/ครู กศน.ตำบล)
เวลา 16.30 น.- 17.00 น. มอบวฒุ ิบัตร/ปิดโครงการฯ
(โดย นางพชิ ามญชุ์ ลำมะนา ผอ.กศน.อำเภอวงั สะพงุ )
หมายเหตุ : กำหนดการสามารถเปลยี่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม
เชา้ เวลา 10.30 น. – 10.45 น. พกั รบั ประทานอาหารวา่ งและเครื่องดื่ม
เวลา 12.00 น. - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวนั
บ่าย เวลา 14.30 น. – 14.45 น. พักรบั ประทานอาหารวา่ งและเครื่องดื่ม
แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
โครงการการจัดกระบวนการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2565
ณ ศนู ยเ์ รียนเกษตรสมยั ใหม่ Charm Farm สวนผักลุงตุ้ม หมู่ 3 บ้านโนนสวา่ ง ต.ปากปวน อ.วงั สะพุง จ.เลย
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย
********************************************
คำชีแ้ จง : แบบประเมนิ ความพงึ พอใจน้ี มีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื ศกึ ษาความคิดเหน็ ของนักศึกษา ผู้เขา้ ร่วมโครงการ ฯ
ขอให้ตอบตรงตามความเป็นจริงมากท่ีสุด และผลท่ีไดจ้ ะนำมาปรับปรุง และพฒั นาการดำเนนิ งานต่อไป
สว่ นท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป ชาย หญิง
1. เพศ 15 - 30 ปี 31 - 40 ปี
2. ชว่ งอายุ 41- 50 ปี 51- 60 ปี
60 ปีขึ้นไป
3. ระดบั การศกึ ษา ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
4. อาชพี มัธยมศึกษาตอนปลาย อื่นๆ............................................
ธุรกิจส่วนตัว เกษตร
ลกู จ้าง/รับจา้ ง อ่นื ๆ..............................................
สว่ นท่ี 2 : ความคดิ เหน็ เกย่ี วกับการดำเนินงานโครงการ ( ขีด ชอ่ งระดบั ความพงึ พอใจ )
ระดบั ความพึงพอใจ
ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย หมายเหตุ
ท่สี ดุ กลาง
ทส่ี ุด
ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา
1 เนือ้ หาตรงตามความต้องการ
2 เนือ้ หาเพยี งพอต่อความต้องการ
3 เนื้อหาปัจจบุ นั ทนั สมยั
4 เนอ้ื หามีประโยชนต์ ่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชวี ิต
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม
5 การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม
6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์
7 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา
8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลุม่ เปา้ หมาย
9 วิธกี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์
ระดับความพึงพอใจ
ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย หมายเหตุ
ทสี่ ุด กลาง
ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร ทสี่ ุด
10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถา่ ยทอด
11 วทิ ยากรมเี ทคนคิ ในการถ่ายทอดใช้ส่อื เหมาะสม
12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซกั ถาม
ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก
13 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสง่ิ อำนวยความสะดวก
14 การส่อื สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกดิ กาเรียนรู้
15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา
ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
รูปภาพกิจกรรม
โครงการการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
วนั ท่ี 7 กรกฎาคม พ.ศ.2565
ณ ศูนยเ์ รียนเกษตรสมัยใหม่ Charm Farm สวนผกั ลุงตุ้ม หมู่ 3 บา้ นโนนสว่าง ต.ปากปวน อ.วงั สะพงุ จ.เลย
ท่ปี รึกษา ลำมะนา คณะผ้จู ัดทำ
นางพชิ ามญชุ์ เหลาสุพะ
นายทวีวัฒน์ สุขบัว ผอ.กศน.อำเภอวงั สะพุง
นางดวงเดือน จนั ทวนั ครชู ำนาญการ
นางบัวคำ อนั ทะระ ครผู ู้ช่วย
นางลำไย ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น
ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น
คณะทำงาน วไิ ลสอน
นางศศิพมิ ล ลีกระจา่ ง ครู กศน.ตำบลวังสะพงุ
นายฐาปกรณ์ ครู ศรช.ตำบลวงั สะพงุ
รวบรวม / เรียบเรียงข้อมูล ครู กศน.ตำบลวงั สะพงุ
นางศศิพิมล วไิ ลสอน ครู ศรช.ตำบลวงั สะพงุ
นายฐาปกรณ์ ลกี ระจ่าง
ครู กศน.ตำบลวงั สะพุง
ภาพประกอบออกแบบรูปเลม่ /พมิ พ์ ครู ศรช.ตำบลวงั สะพุง
นางศศิพมิ ล วไิ ลสอน
นายฐาปกรณ์ ลีกระจ่าง