รายงานผลการดำเนนิ งาน
โครงการการจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน
“กจิ กรรมอบรมใหค้ วามรบู้ ูรณาการศาสตรพ์ ระราชาเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน”
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565
กศน.ตำบลวังสะพุง
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอวังสะพงุ
สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวัดเลย
สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ก
คำนำ
ตามที่ สำนักงาน กศน. ได้ให้นโยบายจุดเน้นการดำเนินงาน ข้อท่ี 2.1 ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี
(พ.ศ. 2561 - 2580) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ที่ 2.2 การ
พัฒนาภาคการผลิตและบริการ เสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแข็งย่ังยืน และส่งเสริมเกษตรกรรายย่อยสู่เกษตร
ย่ังยืนเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม และนโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์
ด้านความม่ันคง : 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝังและสร้างความ
ตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและความภาคภูมิใจ ในความเป็น
คนไทยและชาติไทย น้อมน่าและเผยแพร่ศาสตร์พระราซา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทาง
พระราชดำริต่าง ๆ พร้อมท้ังภารกิจต่อเน่ือง : จัดการศึกษาต่อเนื่อง : จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน
โดยใช้หลกั สตู รและการจัดกระบวนการเรียนรูแ้ บบบูรณาการในรูปแบบของการฝกึ อบรม การเรียนทางไกล การ
ประชุมสัมมนาการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูแบบอื่นๆ
จัดท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย จึงจัดโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้
ความรู้บูรณาการศาสตร์พระราชาเพ่ือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน” ซ่ึงเป็นการสรุปผลการดำเนินงานของ กศน.
ตำบลวงั สะพุง อำเภอวงั สะพงุ จงั หวัดเลย โดยดำเนนิ การในวันที่ 2 ธนั วาคม 2565
รายงานผลการดำเนินงานโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้
ความรู้บูรณาการศาสตรพ์ ระราชาเพ่อื นำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน” น้ี สามารถนำมาเป็นบทเรียนและพัฒนาในการ
จัดกิจกรรม กศน. ต่อไปได้อย่างเป็นรูปธรรมและมีคุณภาพ ซ่ึงสามารถดำเนินการจัด กศน. ได้อย่างครบวงจร
(PDCA)
กศน.ตำบลวังสะพุง จึงหวังว่าเอกสารเล่มนี้ท่ีจะบ่งบอกถึงการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการและจะ
เป็นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรม กศน. ท้ังในการบริหารงาน การพัฒนาคน และการทำงานที่ตรงตามความ
ต้องการของผู้เรียน ผู้รับบริการและชุมชนและสามารถเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ และขอขอบคุณผู้มีส่วน
เกย่ี วขอ้ งและใหค้ วามร่วมมือในการตอบแบบสอบถามทุกท่านไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย
จดั ทำโดย
กศน.ตำบลวังสะพุง
ข
สารบญั
คำนำ หนา้
สารบัญ ก
บทที่ 1 บทนำ ข
บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 1
บทที่ 3 วิธกี ารดำเนนิ การ 4
บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งาน 19
บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 22
ภาคผนวก 25
- โครงการการจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรบู้ ูรณาการศาสตร์
พระราชาเพ่ือนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน”
- บัญชีลงเวลาผู้เข้าร่วมโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้
ความรบู้ ูรณาการศาสตร์พระราชาเพื่อนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน”
- แบบประเมินความพึงพอใจโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรม
อบรมให้ความรบู้ ูรณาการศาสตรพ์ ระราชาเพือ่ นำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ”
- รูปภาพกิจกรรมโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้
บรู ณาการศาสตรพ์ ระราชาเพ่อื นำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน”
คณะผจู้ ดั ทำ
1
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ความเป็นมา
ศาสตร์พระราชา หลายคนแต่ยังขาดการนำไปปฏิบัติ หลายคนนำไปปฏิบัติแล้วต่างเข้าใจและซาบซ้ึง
ในศาสตร์นั้น ศาสตร์พระราชาใช้มานานกว่า 70 ปีมีมากกว่า 4,000 โครงการ เป็นที่ยอมรับท้ังในและ
ต่างประเทศ เป็นศาสตร์แห่งการพัฒนาตามฐานะแห่งตนแบบค่อยเป็นค่อยไป ในหลักการเข้าใจ เข้าถึง และ
พัฒนา ขยายผลผ่านองค์กรของรัฐและเอกชน สู่ระดบั รากหญ้าผ่านภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาจงึ เป็นฐานราก
ของการพัฒนาสังคมศาสตร์ ศาสตร์พระราชา คือภูมิปัญญาของพระราชา (king wisdom) รัชกาลท่ี 9 ที่
พระองค์ทรงทดลองใช้ นำไปปฏิบัติจนเป็นผลสำเร็จแล้วจึงนำไปบอกแนะนำให้พสกนิกรของพระองค์นำไปใช้
นอกจากบอกแล้วยังตามไปดูว่า ได้ผลหรือไม่อย่างไร เป็นกระบวนการทำงานเชิงวิจัยของพระองค์ ศาสตร์แห่ง
พระราชากับการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น 137 หลักการของศาสตร์พระราชา การเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา คือ
หลักการของศาสตร์พระราชา เพื่อแก้ปัญหาพ้ืนท่ี และพัฒนาชีวิตของ ประชาชน ดำเนินการอย่างมีแผนผ่าน
โครงการและกิจกรรมต่างๆ ซึ่งใชค่ วามสำเร็จเพยี งช่ัวครั้งช่วั คราวเท่าน้นั หากแตเ่ ปน็ การพัฒนาเพ่อื ความย่ังยืน1
ศาสตร์พระราชา จึงเป็นโครงการที่ยังชีพให้ประชาชน ได้อยู่ดีกินดี ไม่ว่าจะเป็นโครงการฝนหลวง โครงการฝาย
ชะลอ ความชุ่มชื้น โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ โครงการแก้มลิง โครงการบำบัดน้ำเสียโดยจุลินทรีย์ เป็นต้น จะ
เห็นได้ว่า โครงการหลวงล้วนแต่เป็นการพัฒนาประชากรระดับรากหญ้า เพื่อยกระดับก ารดำรงชีพ ของ
ประชาชนให้สูงขึ้นตามยุคสมัยและกลไกทางสังคม ให้อยู่ดีกินดีมีความสุขตามอัตภาพ เพราะปัจจัยพื้นฐานทาง
สังคมนั้นครอบครัวคือหน่วยย่อยหากครอบครัวขาดความอบอุ่น นั่นคือสาเหตุของปัญหาทางสังคมท่ีจะตามมา
ศาสตร์พระราชาหลักการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลท่ี ๙ ทรงยึดแนวทางแบบค่อยเป็น
ค่อยไป ไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน หากแต่ให้เกิดความสอดคล้องกับความ
เปน็ อย่โู ดย ไมใ่ ห้เกิดความขัดแยง้ กัน ทุกพื้นท่ีของประเทศไทยไดม้ ีการนอ้ มนำแนวพระราชดำรขิ องพระองค์ คือ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาปฏิบัติเพ่ือทำให้หลายชุมชนเกิดความเข้มแข็งเป็นต้นแบบให้แก่ชุมชนอ่ืน
นำไปสู่การปฏิบัติในการประกอบอาชีพ แบบค่อยเป็นค่อยไป เพ่ือการดำรงชีวิตของตนและชุมชน ประกอบกับ
ความรู้ของตนท่ีคิดค้นการทดลองใช้และทำซ้ำคร้ังแล้วคร้ังเล่า จนเกิดเป็นผลดี และนำไปบอกต่อหรือแนะนำ
ตลอดท้ังการไปเรยี นรู้และเกิดความรู้ใหม่ในชุมชน ต่อไป
กศน.ตำบลวังสะพุง ได้เห็นความสำคัญท่ีจะขับเคล่ือนการสร้างความรู้ความเข้าใจ บูรณาการศาสตร์
ของพระราชากับพระราชาในพื้นที่อำเภอวังสะพุง นำไปสู่การปฏิบัติในการประกอบอาชีพ แบบค่อยเป็นค่อยไป
เพ่ือการดำรงชีวิตของตนและชุมชน จึงได้จัดโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรม
อบรมใหค้ วามรู้บรู ณาการศาสตรพ์ ระราชาเพ่อื นำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ” ขึน้
1.2 วตั ถุประสงค์
1. เพอ่ื ให้ประชาชนในพน้ื ที่ตำบลวงั สะพุง มีความรู้ ความเข้าใจในการบูรณาการศาสตร์พระราชา
2. เพ่ือใหป้ ระชาชนในพ้นื ที่ตำบลวงั สะพงุ บรู ณาการศาสตร์พระราชาเพือ่ นำไปใชช้ วี ิตประจำวันได้
2
1.3 กลุ่มเป้าหมาย
เชงิ ปรมิ าณ
ประชาชนทว่ั ไปในตำบลวังสะพงุ จำนวน 6 คน
เชงิ คณุ ภาพ
ประชาชนท่ัวไปในตำบลวังสะพุง ร้อยละ 90 ท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถ
นำความรู้ ความเขา้ ใจในเร่อื งในการบูรณาการศาสตร์พระราชาเพอื่ นำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั
1.4 ขอบเขตในการทำกิจกรรม
กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย เป้าหมาย พนื้ ทดี่ ำเนินการ ระยะเวลา
บคุ ลากร 27 คน 7 พ.ย.
1.ประชมุ บุคลากรผู้ที่ ขอมติที่ประชมุ 1 คน กศน.อำเภอ 2565
เจา้ หนา้ ท่ีงาน 26 คน วงั สะพงุ 8 พ.ย.
เกย่ี วขอ้ ง 26 คน กศน.อำเภอ 2565
บคุ ลากร วงั สะพุง 15 พ.ย.
2.เขียนโครงการเสนอ ขออนุมัตโิ ครงการ 6 คน กศน.อำเภอ 2565
วังสะพงุ 1 ธ.ค.
ขออนุมัติ 1 คน 2565
1 คน ศาลาวัดศรชี มชนื่
3.แตง่ ต้งั คณะทำงาน มอบหมายงาน 1 คน ตำบลวังสะพุง 2 ธ.ค.
อำเภอวังสะพุง 2565
4.จดั เตรยี มสถานท่ี จดั เตรียมเอกสารทใี่ ชใ้ น บคุ ลากร จงั หวัดเลย
วสั ดุ ส่ือ และอปุ กรณ์ โครงการฯ สถานท่ี วัสดุ ศาลาวดั ศรชี มชืน่
ตำบลวังสะพุง
อุปกรณ์ ตามหน้าท่ี อำเภอวังสะพงุ
จงั หวัดเลย
5.ดำเนินการตาม 1. เพอื่ ให้ประชาชนใน ประชาชนใน
โครงการฯ พ้ืนทต่ี ำบลวงั สะพุง มี ตำบลวังสะพงุ ศาลาวัดศรีชมชนื่ 2 ธ.ค.
ตามกำหนดการที่ ความรู้ ความเขา้ ใจใน ตำบลวงั สะพงุ 2565
แนบ การบรู ณาการศาสตร์ - ผ้นู เิ ทศตดิ ตาม
พระราชา - ครู กศน.ตำบล อำเภอวงั สะพุง
6.ติดตามประเมินผล 2. เพ่อื ให้ประชาชนใน - ครู ศรช.
/ สรปุ รายงาน พืน้ ทต่ี ำบลวังสะพงุ บูรณา จงั หวดั เลย
การศาสตร์พระราชาเพือ่
นำไปใช้ชวี ติ ประจำวนั ได้
ประเมนิ ผลการดำเนินงาน
เมอ่ื แลว้ เสร็จ
3
1.5 ขอบเขตพ้ืนท่กี ารจัดกิจกรรม
ศาลาวดั ศรชี มชืน่ ตำบลวงั สะพุง อำเภอวงั สะพงุ จังหวัดเลย
1.6 ขอบเขตระยะเวลาการจัดกิจกรรม
วนั ที่ 2 ธันวาคม 2565 เวลา 08.00 น. - 17.00 น.
1.7 เครอื ข่าย
1. วดั ศรชี มชืน่ ตำบลวังสะพงุ อำเภอวงั สะพงุ จงั หวดั เลย
2. เครือข่ายกสกิ รรมจังหวดั เลย
ฯลฯ
4
บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
2.1 ศาสตรพ์ ระราชา
เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พฒั นา : วธิ ีการแหง่ ศาสตร์พระราชาเพือ่ การพัฒนาทีย่ ่ัง
เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา เป็นวิธีการแห่งศาสตร์พระราชาเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน ท่ีพระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงใช้เป็นวิธีการทรงงานมาตลอดรัชสมัย อย่างไรก็ตาม คำว่า “เข้าใจ เข้าถึง
พัฒนา” เร่ิมติดหูคนไทยในคร้ังแรกท่ีพรุแฆแฆ และหลายคนก็เข้าใจผิดไปเสียอีกว่า “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา”
ใชไ้ ด้เฉพาะการพัฒนาในส่จี ังหวัดชายแดนภาคใต้ซึง่ ไม่เปน็ ความจรงิ เลย
พ้นื ท่ีพรแุ ฆแฆ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี มีเนื้อท่ปี ระมาณ 11,000 ไร่ เป็นพื้นทพี่ รุเสื่อมโทรม มีน้ำ
ทว่ มขงั เกอื บตลอดท้งั ปี ใชป้ ระโยชนไ์ ม่ได้ ถูกปล่อยรกร้างมานาน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลย
เดชได้เสด็จพระราชดำเนนิ ได้ทรงศึกษาแผนท่ี ศึกษาสภาพภมู ิศาสตร์ หลังจากนัน้ ไดท้ รงสนทนากับวาเดง็ ปเู ต๊ะ
ซึง่ ได้ตอบคำถามถวายพระองค์ ได้ใหข้ ้อมูลของพระองค์ โดยที่ทรงศึกษาจน เข้าใจ อยา่ งถอ่ งแท้ ทรงเย่ียมเยียน
ราษฎรจนได้รับการยอมรับและมีผู้ถวายท่ีดินเพ่ือเข้าร่วมโครงการพระราชดำริเรียกว่าทรงงานอย่าง เข้าถึง
นำมาสู่การ พัฒนา ทไ่ี ดผ้ ลในท้ายทส่ี ุด
พลอากาศเอกกำธน สินธวานนท์ อดีตองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ได้เขียนไวใ้ นบทความ “พระมหากษตั ริยน์ ักคิด…นกั ปฏบิ ัติเพื่อความสุขของประชาชน” ความวา่
“ครั้งหน่ึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงพระราชปรารภวา่ “ฉนั ครองราชย์สองปแี รก ฉันไม่มีผลงาน
เพราะฉันยังไม่รู้ว่าราษฎรต้องการอะไร” เป็นที่ประจักษ์ว่าทรงมองการเป็นพระมหากษัตริย์เป็นเรื่องของงาน
เป็นพระราชภาระ ที่จะสนองความต้องการของราษฎร เพื่อราษฎรจะได้ดำรงชีวิต อย่างมีความสุขและการท่ีจะ
ทรงงานให้ได้ผลตรงเปา้ หมายได้นน้ั ตอ้ งทราบว่าประชาชนตอ้ งการอะไร”
การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชนั้นทรงยึดวิธีการ เข้าใจ เข้าถึง
พัฒนา มาตลอดรัชสมัย ดังที่ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล อดีตเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือ
ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริและอดีตเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้เขียนไว้บทความ “ประสบการณ์สนองพระราชดำริเรียนรู้ หลักการทรงงาน ใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พัฒนา” ความวา่
“พระองค์ทรงมุ่งเน้นเร่ืองการพัฒนาคน ทรงตรัสว่า “ต้องระเบิดจากข้างใน” นั่น คือต้องสร้างความ
เขม้ แข็งให้คนในชุมชนท่ีเราเข้าไปพัฒนา ให้มสี ภาพพร้อมท่ีจะรบั การพัฒนาเสียก่อน มิใช่การนำความเจริญหรือ
บุคคลจากสังคมภายนอกเขา้ ไปหาชมุ ชนหมบู่ ้านทยี่ งั ไม่ ทันไดม้ โี อกาสเตรยี มตัว
…..ทรงใช้หลัก “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” น่ัน คือก่อนจะทำอะไร ต้องมีความเข้าใจเสียก่อน เข้าใจภูมิ
ประเทศ เข้าใจผู้คนในหลากหลายปัญหา ท้ังทางด้านกายภาพด้านจารีตประเพณีและวัฒนธรรม เป็นต้น และ
ระหว่างการดำเนินการนั้นจะต้องทำใหผ้ ู้ท่ีเราจะไปทำงานกบั เขาหรือทำงาน ให้เขาน้นั “เข้าใจ” เราด้วย เพราะ
ถ้าเราเข้าใจเขาแต่ฝ่ายเดียว โดยที่เขาไม่เข้าใจเรา ประโยชน์คงจะไม่เกิดข้ึนตามท่ีเรามุ่งหวังไว้ “เข้าถึง” ก็
5
เช่นกัน เม่ือรู้ปัญหาแล้ว เข้าใจแล้วก็ต้องเข้าถึง เพ่ือให้นำไปสู่การปฏิบัติให้ได้ และเม่ือเข้าถึงแล้ว จะต้องทำ
อยา่ งไรก็ตามให้เขาอยากเขา้ ถึงเราด้วย
…..ดังนั้น จะเห็นว่าเป็นการสื่อสารสองทางท้ังไปและกลับ ถ้าสามารถทำสองประการแรกได้สำเร็จ เรือ่ ง
“การพัฒนา” จะ ลงเอยไดอ้ ยา่ งดี เพราะเมื่อต่างฝ่ายต่างเข้าใจกัน ต่างฝ่ายอยากจะเข้าถึงกันแลว้ การพัฒนาจะ
เป็นการตกลงรว่ มกนั ทั้งสองฝา่ ย ทง้ั ผ้ใู ห้และผรู้ บั ”
หลักการทรงงาน เข้าใจ เข้าถึง พัฒนานั้น ทรงใช้กับทั้ง คน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และ วัฒนธรรม มี
ความลุ่มลึกและมโี ครงการพระราชดำริหรอื งานอน่ื ที่ทรงทำเป็นตวั อย่างใหเ้ หน็ อย่างชัดเจน
สรปุ วิธกี ารแหง่ ศาสตร์พระราชา เข้าใจ เขา้ ถึง พัฒนา ดังนี้
เข้าใจ (Understanding) นัน้ ประกอบด้วยองคป์ ระกอบย่อย 4 องคป์ ระกอบ คอื
1. การใช้ข้อมูลท่ีมีอยู่แล้ว (Existing data) ทรงสนใจค้นคว้าหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต และทรงรับฟัง
ข่าวสารจากท้ังในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะแผนท่ี ทรงตรวจสอบความถูกต้องของแผนท่ีทุกครั้งท่ี
เสด็จทอดพระเนตรสภาพพ้ืนที่จริง เมื่อเสด็จประทับบนเฮลิคอปเตอร์พระท่ีนั่งก็ทรงทอดพระเนตรและ
ตรวจสอบ หากไม่ถูกต้องจะทรงส่งข้อมูลให้หน่วยราชการเช่น กรมแผนที่ทหารไปดำเนินการแก้ไข ในทาง
วิทยาการข้อมูล (Data Science) น้ันการทำความสะอาดข้อมูล (Data cleaning) มีความจำเป็นอย่างยิ่ง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดลุ ยเดชได้ทรงทำเช่นนั้นมาโดยตลอด เช่น ทรงสอบถามความถูกต้องของ
แผนที่กับพระสหายแห่งสายบุรีเมื่อเสด็จพรุแฆแฆ ที่ปัตตานี เป็นต้น บรรดานักสถิติต่างทราบกันดีว่าเมื่อใส่
ข้อมูลที่ไม่สะอาดเข้าไป วิเคราะห์ดีใช้แบบจำลองดีอย่างไรก็ได้แบบจำลองขยะออกมาเช่น (Garbage-in,
Garbage out (GIGO) model) อันแสดงให้เห็นว่าทรงใช้หลักการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ได้อย่างลึกซึ้ง
เช่นเดียวกันกับที่มีความรู้ทางสถิติศาสตร์อย่างลุ่มลึก ไม่ใช่เป็นเพียงผู้ใช้หากแต่เป็นผู้ใช้ข้อมูลที่มีอยู่อย่างผู้มี
ความรู้ ระมัดระวัง รอบคอบเป็นอยา่ งยิ่ง ซง่ึ แม้แต่นักวิทยาการข้อมูลท่ีมีอาชีพดงั กล่าวโดยตรงยังรู้สกึ เบ่ือหน่าย
และตอ้ งใช้เวลามากเป็นพิเศษในการทำความสะอาดข้อมูลดังกล่าว การทท่ี รงแก้ไขความถูกตอ้ งของขอ้ มลู ที่มีอยู่
แล้ว เช่น การแก้ไขแผนที่นั้นสะท้อนให้เห็นถึงพระนิสัยในการทรงงานอย่างมีวิริยะและมีความเข้าใจในวิชาการ
เป็นอยา่ งย่งิ
2. การใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical data) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงเอา
พระทัยใส่ในการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะระบบสถิติทางการ (Official statistics) และการ
การสำมะโนประชากร (Census) และสถิติศาสตร์ศึกษา (Statistical Education) [8] ทรงมีความรู้ความเข้าใจ
อย่างลุ่มลึกถงึ ความสำคญั ของการใชส้ ถิตใิ นการพัฒนา
ทรงรับเป็นพระราชภาระในการแก้ไขปัญหาและวางระบบดังกล่าว โดยทรงติดต่อกับ Rockefeller
foundations โดยมีพระราชปรารภขอความช่วยเหลือจาก Dr. David Rockefeller ให้ช่วยส่ง Dr. Stacy May
ผู้เช่ียวชาญด้านสถิติมาช่วยประเทศไทยในราชการสถิติเพ่ือการพัฒนาประเทศและจัดต้ังคณะสถิติประยุกต์ ท่ี
สถาบนั บณั ฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ศาสตราจารย์บญุ ชนะ อัตถากร อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ท่านแรกได้บันทกึ ไว้วา่
6
“เวลาน้ันประเทศไทยกำลงั ตนื่ ตัวท่ีจะมีการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติขึ้น พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวได้พระราชทานดำริแก่ประธานกรรมการบริหารสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ คือ ม.ล.เดช สนิท
วงศ์ [10] ม.ล. เดช ท่านก็บอกผมว่าในหลวงมีพระราชดำริ ในการพัฒนาน้ันต้องใช้ข้อมูล ใช้สถิติมาก และถ้ามี
การตั้งสถาบันขึ้นมาสอนวิชาเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ เน้นการให้วชิ าในการสรา้ งคนเตรียมไว้เพ่อื จะส่งเสริม
ในการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม การเมอื งเป็นไปไดด้ เี รว็ ข้นึ ”
พระราชดำริเร่ืองการประยุกต์ใช้สถิติศาสตร์ในการวิเคราะห์/ประเมินโครงการเพื่อการพัฒนาสังคม
เศรษฐกิจและประเทศชาติน้ันคงฝังแน่นในพระราชหฤทัยดังที่ได้ทรงมีพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทาน
ปริญญาบัตรของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ครั้งแรก เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 19 พฤหัสบดีที่ 19 พฤศจิกายน
2513 ณ สถาบันบณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ความว่า
“…เดิมทีเดียวข้าพเจ้าต้ังข้อคิดเก่ียวกับการพัฒนาประเทศไว้ว่า ในการทำโครงการพัฒนาเศรษฐกิจ
ต่างๆ จะต้องอาศัยใช้ข้อมูลที่ถูกต้องเป็นหลัก และจะต้องใช้นักสถิติท่ีมีความรู้ความสามารถช้ันสูงเป็นผู้
ปฏิบตั …ิ ”
3. การวเิ คราะหแ์ ละวิจยั (Analytics and Research)
โครงการพระราชดำริกว่าสี่พันโครงการน้ันอาศัยการวิเคราะห์และการวิจัย สร้างองค์ความรู้ท่ีม่ันใจว่า
ได้ผลก่อนท่ีจะนำไปปฏิบัติจริง โครงการพระราชดำริโครงการหน่ึงท่ีใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและการวิจัยมากท่ีสุด
โครงการหนึ่งคือโครงการหลวง (Royal Project) โดยเฉพาะการวิจัยเกี่ยวกับการปลูกพืชเมืองหนาวและการ
เลี้ยงสัตว์จากเมืองหนาวเช่นปลาเทราท์ มีการจัดต้ังสถานีวิจัยโครงการหลวง และสถานีเกษตรหลวงมากมาย
การค้นคว้าวิจัยดังกล่าว รวมไปถึงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ การบรรจุหีบห่อ เทคโนโลยีหลังการเก็บเก่ียว ไปจนถึง
การวิจัยตลาด ผลสำเร็จจากการวิจัยทำให้โครงการหลวงมีความก้าวหน้ามาก ทำให้แก้ปัญหาการปลูกฝิ่นและ
การทำไร่เลื่อนลอยบนพน้ื ทส่ี งู ทำใหค้ นไทยได้บริโภคสนิ คา้ คณุ ภาพสูงและทดแทนการนำเขา้ ได้มหาศาล
4. การทดลองจนไดผ้ ลจรงิ (Experiment till actionable results)
พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน แตกต่างจากพระราชวังของพระมหากษัตริย์อ่ืนๆ ทั่วโลก สวนจิตรลดา
เป็นห้องทดลองขนาดใหญ่ท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าให้
ต้ังข้ึน มีท้ังการเลี้ยงโคนม ทำนา ปลูกต้นยางนา ปลูกป่า ทดลองทำโรงสี ทดลองทำนมผงอัดเม็ด ผลิตถ่าน
ชีวภาพ และอ่นื ๆ อีกมากมาย ท้ังหมดนที้ รงทดลองจนกวา่ จะทรงมั่นพระทัยวา่ ได้ผลดีจริง นำไปใช้งานได้จริง จึง
ทรงเผยแพร่ต่อไป ความใส่พระทัยในการทดลองทางวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรรมศาสตร์ น้ันแสดงให้เห็นเด่นชัด
ตลอดพระชนม์ชพี บางโครงการทดลองใชเ้ วลาทดลองยาวนานสิบสามถงึ สิบสี่ ปี เพอื่ ใหม้ ่ันใจวา่ ทำแลว้ ไดผ้ ลจริง
เช่น การทำฝนหลวงหรอื ฝนเทยี ม ก่อนที่จะนำไปสรา้ งต้นแบบหรือขยายผลใหค้ วามรู้แก่ประชาชนทจ่ี ะทำต่อเอง
ได้ ทรงต้องมนั่ ใจผลของการทดลองว่าได้ผลจริงก่อนเผยแพร่หรือถ่ายทอดเทคโนโลยีให้ประชาชน
7
เขา้ ถงึ (Connecting) นั้นประกอบด้วยองคป์ ระกอบยอ่ ย 3 องคป์ ระกอบ คือ
1. ระเบิดจากขา้ งใน (Inside-out blasting)
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงต้องการให้การพัฒ นาเป็ นการระเบิดจากข้างใน
หมายความว่าให้ประชาชนหรือชุมชนที่เข้าไปพัฒนาหรือทำงาน เกิดการปรับตัวที่จะพัฒนาตนเอง เกิดความ
ต้องการทีจะพัฒนาตนเองเสียก่อน ไม่ใช่ส่ิงที่ทางราชการเข้าไปบังคับให้ประชาชนหรือชุมชนทำ ซ่ึงจะไม่ย่ังยืน
จึงทรงเน้นการพัฒนาคน ให้คนเกิดการเปล่ียนแปลงตนเองก่อน แล้วจึงเข้าไปพัฒนาเปล่ียนแปลง ซ่ึงเป็นการ
เข้าถึงกอ่ นจะพัฒนา ไม่ใชน่ ำการพัฒนาเข้าไปโดยท่ีประชาชนยังไมต่ ระหนักหรือเห็นความสำคัญของการพัฒนา
หรือการเปลี่ยนแปลง หลักการในข้อน้ีตรงกับหลักวิชาการสมัยใหม่ว่าด้วยการนำและการบริหารการ
เปล่ียนแปลง (change management) ดังท่ี John P. Kotter ได้นำเสนอว่าในการเปลี่ยนแปลงต้องทำให้คน
ตระหนักถึงความจำเป็นเร่งด่วนท่ีจะต้องเปลี่ยนแปลง (Establishing a Sense of Urgency) ต้องสื่อสาร
วสิ ยั ทัศน์ (Communicate the vision) เพือ่ ให้คนได้เห็นทศิ ทางทีช่ ัดเจนทจี่ ะเปลีย่ นแปลง
2. เขา้ ใจกล่มุ เปา้ หมาย (Understand target)
“ฉนั ครองราชยส์ องปแี รก ฉันไมม่ ผี ลงาน เพราะฉนั ยังไม่รวู้ ่าราษฎรตอ้ งการอะไร”
พระราชปรารภนี้สะท้อนให้เห็นวิธีการแห่งศาสตร์พระราชาในการเข้าถึงแล้วจึงพัฒนาได้เป็นอย่างย่ิง
ทรงใหค้ วามสำคญั กับการทำความเขา้ ใจกลมุ่ เป้าหมาย ซ่ึงคือประชาชน วา่ ประชาชนต้องการอะไร ก่อนท่ีจะทรง
งาน ภาพท่ีคนไทยทุกคนได้พบเห็นจนเจนตาคือภาพท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชโปรดที่จะ
ประทับกับพ้ืนดินเพ่ือพูดคุยกับชาวบ้านในท้องถิ่นทุรกันดาร เพื่อที่จะทรงเข้าใจความเดือดร้อน ปัญหา ความ
ทกุ ข์ยากของชาวบา้ น เพ่อื หาทางแกไ้ ขต่อไป
ทรงมีพระเมตตาอย่างสูงต่อประชาชนในการท่ีจะเข้าใจปัญหาของประชาชน โดยเฉพาะเม่ือประชาชน
จะถวายฎีกาเพ่ือขอพระราชทานพระเมตตาในการปัดเป่าความทุกข์ร้อนต่างๆ ในหลายคร้ังทางราชการเองกลับ
ขัดขวาง ท้ังนี้ทรงพยายามเข้าใจกลุ่มเป้าหมายคือประชาชนของพระองค์ในแต่ละท้องถิ่นอย่างลึกซึ้งมากที่สุด
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้
พระราชทานสัมภาษณน์ กั ขา่ วหญงิ ในปี 2523 เอาไวว้ ่า
“ชาวบ้านภาคใต้นี่ฉลาด รู้ด้วยว่าจะถวายฎีกานี่ต้องทำอย่างไร เอาซ่อนไว้ใต้ดอกไม้แล้วเอาดอกไม้นั้น
มาให้ บอกว่านั่น ข้างล่างน่ะ ฎีกาอยู่ข้างล่าง รู้จักด้วยนะ ซ่อนไว้ ไม่เช่นนั้นฎีกาน่ีตำรวจเขาจะตรวจค้นก่อน
อย่างที่ทุ่งใหญ่ นครศรีธรรมราช ถ้าตามไปดูจะเห็นเขามีเวรยามกันแล้วก็พยักหน้า หัวหน้าเขาล่ะ อุตส่าห์ซ่อน
แทรกเข้าไปไว้ในดอกไม้ พับเสียจนนิดเดียว” “หนหนึ่ง ข้ำขำ เส่ียงตุ๊บๆ ต๊ับๆ หันไปมองว่าอะไรกัน ท่ีแท้เห็นสิ
รนิ ธรกับจุฬาภรณ์ไปแย่งฎีกาจากตำรวจ โดยมากเป็นตำรวจราชสำนัก เขาไม่อยากให้ยุ่งการเมือง คือประชาชน
เห็นเราใกล้เข้ามาก็คง จะชักออกมาจากชายพกหรือตะกร้า ตำรวจก็แย่งมาเสีย สององค์นี่ก็ว่ิงไปแย่งจากมือ
ตำรวจ เสร็จแล้วแม่เลก็ บอก เล็กได้มาแล้ว ก็บอกเขา โธ่คุณ ถ้าเผ่ือปิดน่ีบา้ นเมืองเราจะไปไม่ไหวนะ ราษฎรไมร่ ู้
จะออกทางไหน เราก็มีหน้าท่ีเอามาแล้วเอาไปให้แก่รัฐบาลเท่าน้ัน อย่าไปปิดๆ น่ีประชาชนไม่รจู้ ะไประบายทาง
ไหน แย่เลย บา้ นเมืองไม่ปลอดภยั ”
8
3. สร้างปัญญา (Educate)
การสร้างปัญญาสังคมเป็นส่วนสำคัญยิ่งในการเข้าถึงประชาชน หากประชาชนยังขาดความเข้าใจก็ต้อง
สร้างปัญญาสังคมให้ประชาชนเข้าใจ ครูแห่งแผ่นดิน เลือกจะใช้วิธีที่ง่ายท่ีสุดในการส่ือสารกับประชาชนเพ่ือ
สร้างปัญญา ทรงเลือกใช้วิธีการพูดท่ีจะสร้างปัญญาให้เหมาะสมกับผู้ฟัง ในคราวหน่ึงพระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทาน “โคพันธุ์และสุกร” แก่ชาวไทยภูเขาในภาคเหนือ นักวิชาการของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ตามเสด็จฯ ไปด้วย พระองค์โปรดฯ ให้นักวิชาการเกษตรแนะนำชาวไทยภูเขา ซ่ึง
การบรรยายนั้นใช้ศัพท์วิชาการยาก ที่ชาวเขาฟังอย่างไรก็คงไม่เข้าใจ พระองค์ทรงปล่อยให้นักวิชาการพูด
อธบิ ายประมาณครง่ึ ช่ัวโมง ทรงสงั เกตเห็นชาวเขานั่งฟงั ทำตาปริบๆ จึงทรงถามวา่ “จบแลว้ หรือยงั ” นักวิชาการ
กราบทูลว่า “จบแล้วพระพุทธเจ้าข้า” จงึ มีพระราชดำรัสว่า “ถา้ อยา่ งน้ัน ฉันพูดบ้างนะ” “ฟงั ให้ดๆี นะ จะเลี้ยง
หมูให้มันอ้วน โตเร็วๆ ต้องให้มันกินให้อ่ิม” แล้วทรงหันกลับมารับสั่งกับนักวิชาการว่า “จบแล้ว” ทำเอาผู้ตาม
เสด็จฯ อมย้มิ ไปตามๆ กนั ครูของแผน่ ดิน พระองค์นี้ทรงมีความเมตตาในการสอนถ่ายทอดความรูไ้ ปจนถงึ ระดับ
นักเรียนประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาดังที่ทรงพระกรุณาสอนนักเรยี นโรงเรยี นวังไกลกังวลดว้ ยพระองค์เอง
การที่ทรงสอนนั้นไม่ได้เพียงสอนด้วยการพูดให้ฟังเท่าน้ัน แต่ทรงสร้างแรงบันดาลใจ พลตำรวจเอกว
สิษฐ เดชกุญชร ได้เขียนไว้ในหนังสือ “รอยพระยุคลบาท บันทึกความทรงจำของ พล.ต.อ. วสิษฐ เดชกุญชร”
เร่ืองกาแฟต้นเดียว เอาไว้ว่า ในวันท่ี 3 ธันวาคม 2517 เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ไปทรงเยี่ยม
ราษฎรบนดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่ หลังจากทรงเย่ียมราษฎรชาวเขาเผ่าม้ง ที่บ้านขุนกลาง อ.จอมทอง และ
ชาวเขาเผ่ากะเหร่ียงที่บ้านอังกาน้อยและบ้านท่าฝ่ัง ม.จ ภีศเดช รัชนี ผู้อำนวยการโครงการหลวง กราบบังคม
เชิญทูลเสด็จให้ทรงพระดำเนินต่อไปอีกประมาณ 1 กิโลเมตร เพ่ือทอดพระเนตรไร่กาแฟของราษฎรชาว
กะเหรี่ยง รวมระยะทางที่ทรงพระดำเนินมาท้ังหมดในบ่ายวันน้ัน 6 กิโลเมตร เม่ือไปถึงปรากฏว่า ไร่กาแฟนั้นมี
ต้นกาแฟให้ทอดพระเนตรเพียงต้นเดียว พล.ต.อ. วสิษฐโกรธจนแทบระงับโทสะไว้ไม่ได้และระบายความรู้สึกน้ี
กับเพ่ือนร่วมงานความทราบฝา่ ละอองธลุ พี ระบาท จงึ มีรบั ส่ังใหเ้ ขา้ เฝ้าฯ
“…ตรัสถามวา่ เป็นความจริงหรือที่ว่าผมโกรธท่านภีศเดช ผมก็กราบบังคมทูลตามความเป็นจริงว่าเป็น
เช่นน้ัน พระเจ้าอยู่หัวตรัสถามต่อไปว่า ผมทราบหรือเปล่าว่า เมื่อก่อนนี้กะเหร่ียงที่ดอยอินทนนท์ ประกอบ
อาชพี อะไร ผมก็กราบบังคมทูลวา่ ทราบเกล้าฯ ว่ากะเหรี่ยงปลูกฝน่ิ
“พระเจ้าอยู่หัวตรัสต่อไปด้วยพระสุรเสียงท่ีเป่ียมไปด้วยพระเมตตา (ไม่ได้ดุผม) ว่า แต่ก่อนเขาปลูกฝิ่น
เรา ไปพูดจาชแี้ จง ชกั ชวนใหเ้ ขาลองมาปลกู กาแฟแทน กะเหรี่ยงไมเ่ คยปลูกกาแฟมากอ่ นเลย ที่กาแฟไม่ตายเสีย
หมด แต่ยังเหลืออยู่ 1 ต้นน้ัน ต้องถือว่าเป็นความก้าวหน้าสำหรับกะเหร่ียง จึงต้องไปทอดพระเนตร จะได้
แนะนำเขาตอ่ ไปไดว้ า่ ทำอยา่ งไรกาแฟจึงจะเหลอื อยมู่ ากกว่า 1 ตน้ ”
ทั้งหมดน้ีแสดงให้เห็นว่าทรงเข้าใจจิตวิทยาในการสอน ทรงเป็นครูแห่งแผ่นดินผู้ปลูกปัญญาสังคม
กาแฟต้นแรกต้นน้ันที่ทรงพระดำเนินหลายกิโลเมตร ทรงสอนโดยสร้างแรงบันดาลใจ ได้ทำให้การปลูกฝ่ินและ
การทำไรเ่ ล่ือนลอยลดลงไปอย่างน่ามหศั จรรย์
9
ในการทท่ี รงเป็นครูของแผน่ ดิน ผนู้ ำการพัฒนานั้น กลับทรงถ่อมพระองค์ในการทีจ่ ะเรียนรูจ้ ากนักเรียน
ดังพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่บัณฑิตอาสาสมัครพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยขอนแก่น ณ ศูนย์ศึกษาการ
พฒั นาภพู านอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ อ.เมอื ง จ.สกลนคร วันที่ 22 พฤศจิกายน 2528
“…เราเป็นนักเรยี น เราไม่ใช่เป็นผู้เช่ียวชาญ……. ถ้าหากว่าในด้านไหนก็ตาม เวลาไปปฏิบัติให้ถือว่าเรา
เป็นนักเรียน ชาวบ้านเป็นครู หรือ “ธรรมชาติเป็นครู” การท่ีท่านทั้งหลายจะออกไปก็จะไปในหลายๆด้าน…ก็
ต้องเขา้ ใจว่า เราอาจจะเอาความร้ไู ปให้เขา แต่กต็ ้องนบั ถือความรขู้ องเขาด้วย จึงจะมีความสำเรจ็ ….”
พัฒนา แนวพระราชดำริในการพัฒนานนั้ เมอื่ ทรงเข้าใจ เข้าถงึ แล้วจึงพัฒนาน้ันทรงมีหลักการสำคัญคือ
1.เร่มิ ต้นดว้ ยตนเอง (Self-initiated)
ประเทศไทยมีปัญหาด้านทรัพยากรป่าไม้อย่างรุนแรง ทรงเข้าใจปัญหาดังกล่าวเป็นอย่างดี เม่ือคราว
เสด็จพระราชดำเนินไปหนว่ ยงานตน้ นำ้ พัฒนาทงุ่ จือ จังหวดั เชียงใหม่ พ.ศ.2514 พระองค์ทรงมีพระราชดำรัสกับ
เจา้ หนา้ ทท่ี ี่เฝา้ รับเสดจ็ ฯความวา่
“…ควรจะปลูกต้นไม้ในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่าน้ันก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและรักษา
ต้นไมด้ ว้ ยตนเอง…”
แนวพระราชดำรใิ นการพัฒนาทรงเน้นการพัฒนาทีเ่ กดิ จากประชาชนตอ้ งการจะพัฒนา ตลอดรัชสมัยใน
การทรงงานในบางครั้ง ประชาชนก็ไม่ได้ให้ความร่วมมือกับโครงการพระราชดำริเช่นกัน ไม่เคยทรงฝืนบังคับ
ประชาชนให้ร่วมมือแต่อย่างใดด้วยเหตุผลท่ีแตกต่างกัน กลับทรงเร่ิมต้นโครงการพระราชดำริใหม่ อย่าง
สม่ำเสมอจนมีโครงการพระราชดำริกว่าส่ีพันโครงการ ทรงเคยมีรับสั่งกับนายปราโมทย์ ไม้กลัดว่า “…
พระราชดำริเป็นแนวคิดของฉัน ไม่ได้เป็นพระบรมราชโองการ หรือคำสั่งนะ…” ซึ่งสะท้อนความเป็น
ประชาธิปไตยและความต้องการให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างเต็มที่ ดังท่ีทรงเน้นเสมอว่าการพัฒนานั้น
ต้องระเบดิ จากขา้ งในกอ่ น
2. พึ่งพาตนเองได้ (Self-reliance)
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเน้นว่าการพัฒนาต้องทำให้ประชาชนพึ่งพา
ตนเองได้ ทรงโปรดใหป้ ระชาชนทำอะไรได้ด้วยตนเอง ไม่ตอ้ งรอความชว่ ยเหลือจากรัฐ พระราชดำรัสเกี่ยวกับใน
พธิ ีพระราชทานปรญิ ญา บัตรของมหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันท่ี 20 ธันวาคม 2516 ได้เน้นเร่ืองของการพึ่งพา
ตนเองเอาไว้วา่
“…การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้นตอน ต้องสร้างพ้ืนฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้
ของประชาชนสว่ นใหญเ่ ป็นเบ้ืองต้นก่อนโดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ท่ีประหยัด แต่ถกู ต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้
พ้ืนฐานม่ันคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจชั้นที่สูงข้ึน
โดยลำดับ…”
อีกตอนหน่ึงของพระราชดำรัสท่ีรับสั่งกับนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เม่ือวันท่ี 11 กรกฎาคม พ.ศ.
2523 ว่า
10
“…ในการสรา้ งความเจริญก้าวหน้านี้ ควรอย่างย่ิงท่ีจะค่อยสร้างค่อยเสริมทีละเล็กละน้อยให้เป็นลำดับ
ให้เป็นการทำไปพิจารณาไป และปรับปรุงไป ไม่ทำด้วยอาการเร่งรีบตามความกระหายที่จะสร้างของใหม่เพื่อ
ความแปลกใหม่ เพราะความจริงสิ่งที่ใหม่แท้ๆ น้ันไม่มี ส่ิงใหม่ทั้งปวงย่อมสืบเน่ืองมาจากส่ิงเก่าและต่อไปย่อม
จะตอ้ งกลายเป็นสิ่งเกา่ …”
ทรงโปรดความเรียบง่ายและพึ่งพาตนเองได้ ดังท่ีได้พระราชทานพระราชดำริ “การปลูกป่าโดยไม่ต้อง
ปลูก” ปล่อยให้ธรรมชาติช่วยในการฟื้นฟูธรรมชาติ หรือแม้กระทั่ง “การปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง”
ได้แก่ ปลกู ไมเ้ ศรษฐกิจ ไมผ้ ลและไมฟ้ นื นอกจากได้ประโยชน์ตามประเภทของการปลูกแลว้ ยังชว่ ยสร้างความชุ่ม
ช้ืนให้แก่ พื้นดินด้วย พระองค์จึงทรงเข้าใจธรรมชาติและมนุษย์ที่อยอู่ ย่างเกื้อกูลกัน ทำให้คนอยู่รว่ มกับป่าไม้ได้
อย่างยั่งยืน แนวพระราชดำริในเรื่องการพ่ึงพาตนเองได้ ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่เร่งร้อนจะพัฒนาโดย
การยัดเยียดเทคโนโลยีต่าง ๆ หรือเงิน เข้าไปในการพัฒนาก็สะท้อนออกมาอย่างชัดเจนในเรื่องของการปลูกป่า
ดงั พระราชดำรัสเก่ยี วกับการปลกุ ปา่ ในหลายโอกาสดังน้ี
“…ทิ้งป่านั้นไว้ 5 ปี ตรงนั้นไม่ต้องทำอะไรเลย แต่ป่าเจริญเติบโตเป็นป่าสมบูรณ์ โดยไม่ต้องปลูกสักต้น
เดยี ว คือว่าการปลูกป่านัน้ สำคัญอยู่ทป่ี ล่อยให้เขาข้ึนเอง…” “ถ้าเลือกได้ท่ีทเี่ หมาะสมแล้ว ก็ท้ิงป่าน้ันไว้ตรงน้ัน
ไมต่ อ้ งไปทำอะไรเลย ป่าจะเจริญเตบิ โตขน้ึ มาเป็นป่าสมบูรณ์โดยไมต่ อ้ งไปปลูกเลยสกั ตน้ เดยี ว”
“ไมไ่ ปรงั แกปา่ หรอื ตอแยตน้ ไม้เพยี งแตค่ ุ้มครองใหข้ ้ึนเองไดเ้ ทา่ นนั้ …”
“ในสภาพป่าเต็งรังป่าเสื่อมโทรมไม่ต้องทำอะไรเพราะตอไม้ก็จะแตกก่ิงออกมาอีกถึงแม้ต้นไม้สวยแต่ก็
เปน็ ต้นไมใ้ หญไ่ ด้”
3. ต้นแบบเผยแพรค่ วามรู้ (Prototype and role model)
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงโปรดการสร้างต้นแบบการเผยแพร่ความรู้ โดย
ทรงตั้งศนู ย์ศึกษาการพฒั นาอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ ต่างๆ เช่น ทห่ี ้วยทราย เขาหินซ้อน ภูพาน ห้วยฮอ่ งไคร้
อ่าวคุ้งกระเบย และ พิกุลทอง โครงการช่ังหัวมัน หรือแม้แต่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ที่เปิดโอกาสให้
เกษตรกรได้ศึกษา เรียนรู้ ดูงาน สำหรบั เกษตรทฤษฎีใหม่สง่ สร้างต้นแบบแห่งการเรียนรู้ให้ประชาชนไดศ้ ึกษาท่ี
วัดมงคลชัยพัฒนา จังหวัดสระบุรี ทรงโปรดท่ีจะเลือกพื้นท่ีท่ีมีปัญหาที่สุดเพ่ือต้ังเป็นศูนย์ศึกษาการพัฒนา
ยกตัวอย่างเชน่ บริเวณห้วยทรายนน้ั มีการบุกรุกตัดไม้ทำลายป่า ทำการเกษตรแบบผิดวธิ ีจนดนิ เสื่อมโทรม แห้ง
แล้ง เป็นดินดาน เพราะหน้าดินพังทลายไปหมดสิ้น เมื่อวันท่ี 5 เมษายน พุทธศักราช 2526 ได้เสด็จพระราช
ดำเนนิ ไปทอดพระเนตรพื้นที่ ห้วยทราย มีพระราชดำรสั ด้วยน้ำพระราชหฤทยั หว่ งใยวา่
“หากปลอ่ ยท้งิ ไว้ จะกลายเป็นทะเลทรายในที่สุด”
ทรงใช้ความอุตสาหะพยายามในการพัฒนาห้วยทราย ซ่ึงมีแต่ดินดานแข็ง ในช้ันแรกต้องเจาะดินดาน
เพ่ือปลูกแฝง ให้หญ้าแฝกหยั่งรากลึกทลายดินดานออกให้โปร่งเพื่อให้รากพืชอ่ืนๆ สามารถชอนไชไปเติบโตได้
เนื่องจากพื้นท่ีแห้งแล้งและมีการกัดเซาะของหน้าดินมาก ต้องมีการสร้างฝายชะลอน้ำและหลุมกักเก็บน้ำเล็กๆ
ไวใ้ นพ้ืนทเ่ี พิม่ ความชมุ่ ชน้ื
11
ในขณะที่ทตี่ ้ังของโครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกลุ ทอง เป็นพ้ืนท่ีปา่ พรุ ดินพรุ ซ่ึงเปร้ียวจัดมากจนไม่
สามารถจะปลกู พชื ใดๆ ได้เลย ก็ทรงใชก้ ารแกล้งดนิ ในการแก้ปญั หาจนเปน็ พน้ื ที่การเกษตรได้
การทท่ี รงเลือกใช้พนื้ ทท่ี ่ีมปี ญั หาและความยากลำบากในการพฒั นาน้ันกเ็ พือ่ เป็นต้นแบบให้ประชาชนได้
เห็นและทำตาม ซ่ึงหากแม้พ้ืนที่ที่มีปัญหามากที่สุดก็ยังพัฒนาให้ดีได้ ประชาชนเองก็น่าจะทำตามได้เป็นการ
เรยี นรู้จากตัวแบบ (Role model) ที่เป็นแรงบนั ดาลใจการพฒั นาประชาชนและประเทศชาติ
เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา จึงเป็นวิธีการแห่งศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และเป็นการปกครอง
แผ่นดนิ โดยธรรมเพือ่ ประโยชน์สขุ แห่งมหาชนชาวสยามอย่างแท้จริง
2.2 หลักการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว 23 ข้อ
ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ ที่นอกจากจะทรงด้วยทศพิธราชธรรมแล้ว ทรงยังเป็น
พระราชาที่เป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิต และการทำงานแก่พสกนิกรของพระองค์ และนานาประเทศอีกด้วย
ผู้คนต่างประจักษ์ถึงพระอัจฉรยิ ภาพของพระองค์ และมีความสำนกึ ในพระมหากรณุ าธิคุณเป็นลน้ พ้น อันหาทส่ี ุด
มิได้ ซ่ึงแนวคิดหรือ หลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลท่ี 9 มีความน่าสนใจ ที่สมควรนำมาประยุกตใ์ ช้กับชีวิต
การทำงานเป็นอย่างยิ่ง หากท่านใดต้องการปฏิบัติตามรอยเบ้ืองพระยุคลบาท ท่านสามารถนำหลักการทรงงาน
ของพระองคไ์ ปปรับใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ได้ ดงั นี้
1. จะทำอะไรต้องศึกษาข้อมูลให้เป็นระบบ ทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบจากข้อมูล
เบ้ืองต้น ท้ังเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าท่ี นักวิชาการ และราษฎรในพื้นที่ให้ได้รายละเอียดท่ีถูกต้อง
เพ่อื นำขอ้ มูลเหลา่ นน้ั ไปใช้ประโยชน์ไดจ้ รงิ อยา่ งถกู ต้อง รวดเรว็ และตรงตามเปา้ หมาย
2. ระเบิดจากภายใน จะทำการใดๆ ต้องเริ่มจากคนท่ีเก่ียวข้องเสียก่อน ต้องสร้างความเข้มแข็งจาก
ภายในให้เกิดความเข้าใจและอยากทำ ไม่ใช่การสั่งให้ทำ คนไม่เข้าใจก็อาจจะไม่ทำก็เป็นได้ ในการทำงานน้ัน
อาจจะต้องคุยหรือประชุมกับลูกน้อง เพ่ือนร่วมงาน หรือคนในทีมเสียก่อน เพ่ือให้ทราบถึงเป้าหมายและวิธีการ
ต่อไป
3. แก้ปัญหาจากจุดเล็ก ควรมองปญั หาภาพรวมกอ่ นเสมอ แต่เม่ือจะลงมือแก้ปัญหานน้ั ควรมองในส่ิง
ทีค่ นมักจะมองขา้ ม แล้วเรมิ่ แก้ปัญหาจากจดุ เล็กๆ เสียก่อน เมื่อสำเร็จแล้วจึงค่อยๆ ขยับขยายแก้ไปเรื่อยๆ ทีละ
จุด เราสามารถเอามาประยุกตใ์ ชก้ บั การทำงานได้ โดยมองไปท่ีเป้าหมายใหญ่ของงานแต่ละชิน้ แล้วเร่มิ ลงมือทำ
จากจุดเล็กๆ ก่อน ค่อยๆ ทำ ค่อยๆ แก้ไปทีละจุด งานแต่ละชิ้นก็จะลุลวงไปได้ตามเป้าหมายท่ีวางไว้ “ถ้าปวด
หัวคดิ อะไรไม่ออก กต็ ้องแก้ไขการปวดหัวนกี้ ่อน มันไม่ไดแ้ กอ้ าการจริง แต่ตอ้ งแก้ปัญหาที่ทำให้เราปวดหวั ใหไ้ ด้
เสยี ก่อน เพื่อจะให้อยู่ในสภาพท่ดี ีได้…”
4. ทำตามลำดับข้ัน เร่ิมต้นจากการลงมือทำในสิ่งท่ีจำเป็นก่อน เมื่อสำเร็จแล้วก็เร่ิมลงมือส่ิงที่จำเป็น
ลำดับต่อไป ด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง ถ้าทำตามหลักน้ีได้ งานทุกสิ่งก็จะสำเร็จได้โดยง่าย… ในหลวง
รัชกาลท่ี 9 ทรงเรมิ่ ตน้ จากสิ่งที่จำเปน็ ทสี่ ุดของประชาชนเสียกอ่ น ได้แก่ สุขภาพสาธารณสุข จากนั้นจึงเป็นเรอื่ ง
สาธารณูปโภคข้ันพื้นฐาน และสิ่งจำเป็นในการประกอบอาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน้ำเพ่ือการเกษตร การอุปโภค
12
บริโภค เน้นการปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีราษฎรสามารถนำไปปฏิบัติได้ และเกิดประโยชน์สูงสุด “การพัฒนา
ประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับข้ัน ต้องสร้างพื้นฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็น
เบ้ืองต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ท่ีประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เม่ือได้พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควร
สามารถปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจข้ันท่ีสูงขึ้นโดยลำดับต่อไป…” พระบรม
ราโชวาทของในหลวงรัชกาลท่ี 9 เม่ือวันที่ 18 กรกฎาคม 2517
5. ภูมิสังคม ภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์ การพัฒนาใดๆ ต้องคำนึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่า
เป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเก่ยี วกับลักษณะนสิ ัยใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแตล่ ะท้องถิน่ ท่ีมีความ
แตกต่างกัน “การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคม
วทิ ยา คอื นิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คนอ่ืนคิดอยา่ งอ่ืนไม่ได้ เราต้องแนะนำ เขา้ ไปดูว่าเขาต้องการอะไร
จรงิ ๆ แล้วก็อธบิ ายให้เขาเข้าใจหลกั การของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ ”
6. ทำงานแบบองค์รวม ใช้วิธีคิดเพื่อการทำงาน โดยวิธีคิดอย่างองค์รวม คือการมองสิ่งต่างๆ ที่เกิด
อย่างเปน็ ระบบครบวงจร ทกุ ส่ิงทกุ อยา่ งมีมติ เิ ชอ่ื มตอ่ กนั มองสิ่งทเี่ กดิ ขน้ึ และแนวทางแกไ้ ขอย่างเช่อื มโยง
7. ไมต่ ิดตำรา เม่ือเราจะทำการใดน้ัน ควรทำงานอยา่ งยดื หยุ่นกับสภาพและสถานการณ์น้ันๆ ไม่ใช่การ
ยดึ ติดอยกู่ ับแค่ในตำราวิชาการ เพราะบางท่ีความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด บางครัง้ เรายึดติดทฤษฎมี ากจนเกินไป
จนทำอะไรไม่ได้เลย สงิ่ ท่เี ราทำบางครั้งตอ้ งโอบออ้ มต่อสภาพธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม สงั คม และจิตวทิ ยาดว้ ย
8. รู้จักประหยัด เรียบงา่ ย ได้ประโยชน์สูงสุด ในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ในหลวงรัชกาลท่ี 9
ทรงใช้หลักในการแก้ปัญหาด้วยความเรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถทำได้เอง หาได้ในท้องถิ่นและ
ประยุกต์ใช้สิ่งที่มีอยู่ในภูมิภาคน้ันมาแก้ไข ปรับปรุง โดยไม่ต้องลงทุนสูงหรือใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากมากนัก ดัง
พระราชดำรัสตอนหนึ่งว่า “…ให้ปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูกโดยปล่อยให้ขึ้นเองตามธรรมชาติจะได้ประหยัด
งบประมาณ…”
9. ทำให้งา่ ย ทรงคดิ ค้น ดัดแปลง ปรับปรงุ และแก้ไขงาน การพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดำรไิ ปได้
โดยงา่ ย ไมย่ ุง่ ยากซบั ซ้อนและทสี่ ำคญั อยา่ งย่ิงคือ สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนและระบบนเิ วศ
โดยรวม “ทำใหง้ า่ ย”
10. การมีส่วนร่วม ทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าท่ี
ทุกระดับได้มาร่วมแสดงความคิดเห็น “สำคัญท่ีสุดจะต้องหัดทำใจให้กว้างขวาง หนักแน่น รู้จักรับฟังความ
คิดเห็น แม้กระทั่งความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อ่ืนอย่างฉลาดน้ัน แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาละประสบการณ์
อนั หลากหลายมาอำนวยการปฏบิ ัติบริหารงานใหป้ ระสบผลสำเรจ็ ท่สี มบูรณน์ ัน่ เอง”
11. ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ ดัง
พระราชดำรัสตอนหน่ึงว่า “…ใครต่อใครบอกว่า ขอให้เสียสละส่วนตัวเพื่อส่วนรวม อันนี้ฟังจนเบื่อ อาจรำคาญ
ด้วยซำ้ วา่ ใครต่อใครมาก็บอกว่าขอให้คิดถึงประโยชนส์ ่วนรวม อาจมานกึ ในใจว่า ใหๆ้ อยเู่ รื่อยแล้วส่วนตัวจะได้
อะไร ขอให้คิดว่าคนที่ให้เป็นเพ่ือส่วนรวมนั้น มิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็นการให้เพื่อตัวเองสามารถที่จะมี
ส่วนรวมท่จี ะอาศัยได้…”
13
12. บริการท่ีจดุ เดียว ทรงมีพระราชดำริมากว่า 20 ปีแล้ว ให้บริหารศูนย์ศึกษาการพัฒนาหลายแห่งท่ัว
ประเทศโดยใชห้ ลกั การ “การบริการรวมที่จุดเดียว : One Stop Service” โดยทรงเน้นเร่ืองรูร้ ักสามัคคีและการ
รว่ มมอื ร่วมแรงร่วมใจกนั ด้วยการปรบั ลดชอ่ งวา่ งระหวา่ งหน่วยงานท่เี ก่ียวข้อง
13. ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและ
ตอ้ งการให้ประชาชนใกล้ชิดกับทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด โดยหากเราต้องการ
แก้ไขธรรมชาตจิ ะต้องใชธ้ รรมชาติเข้าชว่ ยเหลอื เราด้วย
14. ใช้อธรรมปราบอธรรม ทรงนำความจริงในเร่ืองธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็น
หลักการแนวทางปฏบิ ัติในการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงสภาวะทไ่ี ม่ปกติเข้าสู่ระบบท่ีปกติ เช่น การบำบัดน้ำเน่า
เสยี โดยให้ผกั ตบชวา ซึง่ มีตามธรรมชาติให้ดดู ซมึ สิง่ สกปรกปนเปอื้ นในน้ำ
15. ปลูกป่าในใจคน การจะทำการใดสำเร็จต้องปลูกจิตสำนึกของคนเสียก่อน ต้องให้เห็นคุณค่า เห็น
ประโยชน์กับสิ่งที่จะทำ…. “เจ้าหน้าท่ีป่าไม้ควรจะปลูกตน้ ไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหลา่ น้นั ก็จะพากันปลูก
ต้นไมล้ งบนแผ่นดินและจะรักษาต้นไมด้ ้วยตนเอง”
16. ขาดทุนคือกำไร หลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ที่มีต่อพสกนิกรไทย “การ
ให้” และ “การเสียสละ” เป็นการกระทำอนั มผี ลเปน็ กำไร คือความอยูด่ ีมสี ุขของราษฎร
17. การพ่ึงพาตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ เพื่อการแก้ไขปัญหาในเบ้ืองต้นด้วยการแก้ไข
ปัญหาเฉพาะหน้า เพ่ือให้มีความแข็งแรงพอที่จะดำรงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือ การพัฒนาให้ประชาชน
สามารถอยู่ในสงั คมไดต้ ามสภาพแวดลอ้ มและสามารถ พึ่งตนเองไดใ้ นทส่ี ุด
18. พออยู่พอกิน ให้ประชาชนสามารถอยู่อย่าง “พออยู่พอกิน” ให้ได้เสียก่อน แล้วจึงค่อยขยับขยาย
ให้มขี ีดสมรรถนะทีก่ า้ วหนา้ ตอ่ ไป
19. เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาท่ีในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชดำรสั ช้ีแนะแนวทางการ
ดำเนินชีวติ ให้ดำเนินไปบน “ทางสายกลาง” เพ่ือให้รอดพ้นและสามารถดำรงอยูไ่ ด้อย่างมั่นคงและยัง่ ยนื ภายใต้
กระแสโลกาภิวัตน์และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ซ่ึงปรัชญานี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ท้ังระดับบุคคล องค์กร
และชุมชน
20. ความซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน ผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อย ก็ย่อมทำ
ประโยชน์ใหแ้ กส่ ่วนรวมไดม้ ากกวา่ ผู้ทีม่ ีความรมู้ าก แต่ไมม่ ีความสุจริต ไมม่ คี วามบรสิ ทุ ธิ์ใจ
21. ทำงานอยา่ งมีความสุข ทำงานตอ้ งมคี วามสขุ ด้วย ถ้าเราทำอย่างไม่มคี วามสุขเราจะแพ้ แต่ถ้าเรามี
ความสุขเราจะชนะ สนุกกบั การทำงานเพียงเท่าน้ัน ถือวา่ เราชนะแล้ว หรือจะทำงานโดยคำนึงถึงความสุขท่ีเกิด
จากการได้ทำประโยชน์ให้กับผู้อ่ืนก็สามารถทำได้ “…ทำงานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอกจากการมีความสุข
ร่วมกัน ในการทำประโยชนใ์ หก้ บั ผู้อื่น…”
22. ความเพียร การเร่ิมตน้ ทำงานหรือทำส่ิงใดน้ันอาจจะไม่ได้มีความพรอ้ ม ตอ้ งอาศัยความอดทนและ
ความมุ่งมั่น ดังเช่นพระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” กษัตริย์ผู้เพียรพยายามแม้จะไม่เห็นฝ่ังก็จะว่ายน้ำต่อไป
เพราะถา้ ไม่เพยี รว่ายกจ็ ะตกเป็นอาหารปู ปลาและไมไ่ ดพ้ บกบั เทวดาที่ชว่ ยเหลอื มิให้จมน้ำ
14
23. รู้ รัก สามคั คี
- รู้ คือ รูป้ ญั หาและรู้วิธีแกป้ ัญหานน้ั
- รัก คอื เม่ือเรารูถ้ ึงปญั หาและวิธีแกแ้ ลว้ เราต้องมคี วามรัก ท่จี ะลงมือทำ ลงมือแกไ้ ขปัญหานนั้
- สามัคคี คือ การแก้ไขปัญหาต่างๆ ไมส่ ามารถลงมือทำคนเดยี วได้ ตอ้ งอาศัยความร่วมมอื รว่ มใจกัน
2.3 ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับต้ังแต่
ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพอื่ ใหก้ ้าวทนั ตอ่ โลกยุคโลกาภวิ ตั น์
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบ
ภมู ิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายนอก และภายใน ท้ังน้ี
จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการ
วางแผน และการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ
โดยเฉพาะเจา้ หนา้ ที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนกั ธุรกิจในทกุ ระดบั ให้มสี ำนึกในคณุ ธรรม ความซ่อื สตั ย์สุจริต และให้
มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนนิ ชีวติ ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อใหส้ มดุล
และพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม
จากโลกภายนอกได้เปน็ อย่างดี
การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ี เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของ
ไทย ซึ่งบรรจุอยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)เพ่ือมุ่งสู่การพัฒนาที่
สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมท่ีมีความสุขอย่างยั่งยืน หรือท่ีเรียกว่า สังคมสีเขียว
(Green Society) ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 น้ีจะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจ แต่ยังคงให้ความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์ หรือระบบเศรษฐกิจท่ีมีความแตกต่างกัน
ระหวา่ งเศรษฐกิจชุมชนเมอื งและชนบท
ดร.สมเกียรติ อ่อนวิมล เรียกสิ่งนี้ว่า วิกฤตเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความไม่รู้ว่าจะนำปรัชญาน้ีไปใช้ทำ
อะไร กลายเป็นว่าผู้นำสังคมทุกคน ทั้งนักการเมืองและรัฐบาลใช้คำว่า เศรษฐกิจพอเพียง เป็นข้ออ้างในการทำ
กิจกรรมใด ๆ เพ่ือให้รู้สึกว่าได้สนองพระราชดำรัสและให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดี หรือพูดง่ายๆ ก็คือ เศรษฐกิจ
พอเพียง ถูกใชเ้ พ่อื เป็นเครื่องมือเพือ่ ตัวเอง ซึ่งความไม่เข้าใจน้ีอาจเกิดจากการสับสนว่าเศรษฐกิจพอเพียงกับ
ทฤษฎีใหม่นั้นเป็นเรื่องเดียวกัน ทำให้มีความเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงการปฏิเสธอุตสาหกรรม
แลว้ กลับไปส่เู กษตรกรรม ซ่งึ เปน็ ความเข้าใจทีผ่ ิด
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ได้รับการเชิดชูสูงสุด จาก สหประชาชาติ (UN)โดยนายโคฟี อันนัน ใน
ฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯถวายรางวัล The Human Development Lifetime
15
Achievement Award แก่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ 26 พฤษภาคม 2549 และได้มีปาฐกถาถึงปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียงว่าเปน็ ปรัชญาทีส่ ามารถเริ่มไดจ้ ากการสรา้ งภูมิคุม้ กันในตนเอง ส่หู มู่บ้าน และสเู่ ศรษฐกิจในวง
กว้างขึ้นในท่ีสุด เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ โดยท่ีองค์การสหประชาชาติได้
สนับสนุนให้ประเทศตา่ งๆท่ีเป็นสมาชกิ 166 ประเทศยึดเป็นแนวทางสูก่ ารพัฒนาประเทศแบบยงั่ ยนื
หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาท่ีตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของทางสายกลาง และความไม่
ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความ
รอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สินใจ และการกระทำ
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีหลกั พจิ ารณาอยู่ 5 ส่วน ดังน้ี
1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมี
พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตด้ังเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิง
ระบบท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
มงุ่ เนน้ การรอดพน้ จากภยั และวกิ ฤต เพอื่ ความมนั่ คง และความยง่ั ยืนของการพฒั นา
2. คณุ ลักษณะ เศรษฐกิจพอเพยี งสามารถนำมาประยุกตใ์ ช้กบั การปฏิบัติตนได้ในทุกระดบั โดยเน้นการ
ปฏบิ ตั ิบนทางสายกลาง และการพฒั นาอย่างเปน็ ขนั้ ตอน
3. คำนยิ าม ความพอเพียงจะต้องประกอบดว้ ย 3 คุณลกั ษณะ พร้อม ๆ กันดงั น้ี
- ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียน
ตนเอง และผอู้ ื่น เช่นการผลติ และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
- ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงน้ัน จะต้องเป็นไปอย่างมี
เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตปุ ัจจัยทเ่ี ก่ยี วขอ้ งตลอดจนคำนงึ ถึงผลท่ีคาดวา่ จะเกดิ ขึน้ จากการกระทำน้ัน ๆ อยา่ ง
รอบคอบ
- การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปล่ียนแปลง
ด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดข้ึนโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตท้ังใกล้
และไกล
4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงน้ัน ต้องอาศัยทั้งความรู้
และคณุ ธรรมเปน็ พืน้ ฐาน กล่าวคอื
- เงอื่ นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ กี่ยวกบั วชิ าการต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวข้องอย่างรอบด้าน ความ
รอบคอบท่ีจะนำความรู้เหลา่ นัน้ มาพจิ ารณาให้เชือ่ มโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในข้ัน
ปฏิบตั ิ
- เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซ่ือสัตย์
สุจริต และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนินชวี ติ
16
5. แนวทางปฏิบัติ / ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ
การพัฒนาท่ีสมดุล และยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
ความรู้ และเทคโนโลยี
เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั ทฤษฎีใหมต่ ามแนวพระราชดำริ
เศรษฐกจิ พอเพียง และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการพัฒนาที่นำไปสู่ความสามารถ
ในการพึ่งตนเอง ในระดับต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นตอน โดยลดความเสียงเกี่ยวกับความผันแปรของธรรมชาติ หรือ
การเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณ และความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี มี
ความรู้ ความเพยี ร และความอดทน สติ และปญั ญา การช่วยเหลอื ซงึ่ กันและกัน และความสามัคคี
เศรษฐกิจพอเพียงความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่ โดยที่เศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบแนวคิดท่ีช้ีบอก
หลักการ และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะท่ี แนวพระราชดำริเก่ียวกับทฤษฎีใหม่ หรือเกษตรทฤษฎี
ใหม่ ซึง่ เป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นขั้นตอนนน้ั เป็นตัวอย่างการใชห้ ลักเศรษฐกิจพอเพียงในทาง
ปฏิบัติ ท่ีเป็นรูปธรรม เฉพาะในพ้ืนที่ท่ีเหมาะสม ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ อาจเปรียบเทียบกับหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบพน้ื ฐาน กบั แบบกา้ วหน้า
ขัน้ ท่ี 1 ที่มุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรที่อยู่ห่างไกลแหล่งน้ำ ต้องพึ่งน้ำฝน และประสบความเส่ียงจากการ
ที่น้ำไม่พอเพียง แม้กระทั่งสำหรับการปลูกข้าวเพ่ือบริโภค และมีข้อสมมติว่า มีท่ีดินพอเพียงในการขุดบ่อเพ่ือ
แก้ปัญหาในเรือ่ งดงั กลา่ ว จากการแกป้ ัญหาความเส่ียงเรื่องน้ำ จะทำให้เกษตรกรสามารถมขี ้าวเพ่ือการบรโิ ภคยัง
ชีพในระดับหน่ึง และใช้ที่ดินส่วนอ่ืน ๆ สนองความต้องการพื้นฐานของครอบครัว รวมทั้งขายในส่วนที่เหลือเพื่อ
มีรายได้ท่ีจะใช้เป็นค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ ท่ีไม่สามารถผลิตเองได้ ทั้งหมดน้ีเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวให้เกิดขึ้นใน
ระดับครอบครัว อย่างไรก็ตาม แม้กระทั่ง ในทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1 ก็จำเป็นท่ีเกษตรกรจะต้องได้รับความช่วยเหลือ
จากชุมชนราชการ มูลนิธิ และภาคเอกชน ตามความเหมาะสมความพอเพียงในระดับชุมชน และระดับองค์กร
เปน็ เศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหนา้ ซ่งึ ครอบคลมุ ทฤษฎีใหม่
ข้ันที่ 2 เป็นเรื่องของการสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ หรือการท่ีธุรกิจต่าง
ๆ รวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ กล่าวคือ เม่ือสมาชิกในแต่ละครอบครัว หรือองค์กรต่าง ๆ มีความ
พอเพียงขั้นพ้ืนฐานเป็นเบ้ืองต้นแล้วก็จะรวมกลุ่มกันเพ่ือร่วมมือกันสร้างประโยชน์ให้แก่กลุ่ม และส่วนรวมบน
พื้นฐานของการไม่เบียดเบียนกัน การแบ่งปันช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามกำลังและความสามารถของตน ซึ่งจะ
สามารถทำให้ ชุมชนโดยรวม หรือเครือข่ายวิสาหกิจนั้น ๆ เกิดความพอเพียงในวิถีปฏิบัติอย่างแท้จริงความ
พอเพียงในระดับประเทศ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบกา้ วหน้า ซ่งึ ครอบคลมุ ทฤษฎีใหม่
ข้ันท่ี 3 ซ่ึงส่งเสริมให้ชุมชน หรือเครือข่ายวิสาหกิจ สรา้ งความร่วมมือกับองค์กรอ่ืน ๆ ในประเทศ เช่น
บริษัทขนาดใหญ่ ธนาคาร สถาบันวิจยั เปน็ ตน้
การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในลักษณะเช่นนี้ จะเป็นประโยชน์ในการสบื ทอดภูมิปัญญา แลกเปลี่ยน
ความรู้ เทคโนโลยี และบทเรียนจากการพัฒนา หรือ ร่วมมือกันพัฒนา ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงทำให้
17
ประเทศอันเป็นสังคมใหญ่อันประกอบด้วยชุมชน องคก์ ร และธุรกิจต่าง ๆ ที่ดำเนินชีวิตอย่างพอเพียงกลายเป็น
เครอื ข่ายชมุ ชนพอเพียงที่เชือ่ มโยงกันดว้ ยหลักไม่เบยี ดเบยี น แบ่งปัน และชว่ ยเหลือซ่ึงกันและกันไดใ้ นทส่ี ดุ
ประการท่สี ำคัญของเศรษฐกจิ พอเพียง
พอมีพอกิน ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3 ต้น พอที่จะมีไว้กินเองใน
ครวั เรอื น เหลอื จึงขายไป
พออย่พู อใช้ ทำใหบ้ ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กล่ินเหม็น ใช้แต่ของที่เป็นธรรมชาติ (ใช้จุลินทรียผ์ สม
น้ำถพู ื้นบา้ น จะสะอาดกวา่ ใช้นำ้ ยาเคมี) รายจา่ ยลดลง สขุ ภาพจะดีขึ้น (ประหยัดคา่ รักษาพยาบาล)
พออกพอใจ เราต้องรู้จักพอ รู้จักประมาณตน ไม่ใคร่อยากใคร่มีเช่นผู้อ่ืน เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุ
ปญั ญาจะไม่เกิด
"การจะเป็นเสือนั้นมันไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบ
พอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง" พระราชดำรัสใน
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ฯ
2.4 ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นท่ีมาของนิยาม “3 ห่วง 2 เง่ือนไข” ท่ี
คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
นำมาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซ่ึง
ประกอบด้วยความ “พอประมาณ มเี หตุผล มภี มู ิคมุ้ กนั ” บนเง่อื นไข “ความรู้” และ “คุณธรรม”
ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างย่ังยืน และใช้จ่ายเงินให้ได้มา
อย่างพอเพียงและประหยัด ตามกำลังของเงินของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน และถ้ามีเงินเหลือ ก็
แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุท่ีแนว
ทางการดำรงชีวิตอย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดำรงชวี ิตของสังคมทุน
นิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝัง สร้าง หรอื กระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเร่ืองที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกินกว่า
ปจั จัยในการดำรงชีวิต เช่น การบรโิ ภคเกินตวั ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัว
ตามแฟช่นั การพนันหรือเส่ยี งโชค เป็นต้น จนทำให้ไม่มีเงินเพียงพอเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการเหล่านั้น ส่งผล
ให้เกิดการกู้หน้ียืมสิน เกิดเป็นวัฏจักรท่ีบุคคลหน่ึงไม่สามารถหลุดออกมาได้ ถ้าไม่เปล่ียนแนวทางในการ
ดำรงชวี ิต
บทสรปุ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 ห่วง 2 เง่ือนไข
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 หว่ ง
ห่วง 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน
ตนเองและผอู้ ่ืน เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคท่ีอยใู่ นระดบั พอประมาณ
18
หว่ ง 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกีย่ วกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมี
เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเก่ยี วขอ้ งตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดวา่ จะเกิดขึน้ จากการกระทำน้ัน ๆ อย่าง
รอบคอบ
ห่วง 3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปล่ียนแปลง
ด้านต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้
และไกล
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 เงื่อนไข
1. เงื่อนไข ความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่าง ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ
รอบคอบทีจ่ ะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้น
ปฏิบตั ิ
2. เง่ือนไข คุณธรรม ท่ีจะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อสัตย์
สุจรติ และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชส้ ติปญั ญาในการดำเนนิ ชีวิต
รูปภาพแสดงปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงือ่ นไข
19
บทที่ 3 วธิ ีการดำเนินการ
3.1 วิธกี ารดำเนินการตามระบบการดำเนนิ งานครบวงจร (PDCA)
การวางแผน (Plan)
1. ประชมุ รบั นโยบายการดำเนินงาน
บุคลากร กศน.ตำบลวังสะพุง ประชุมเพ่ือวางแผนจัดโครงการตามแผนการดำเนินงาน กำหนดชื่อ
โครงการ กำหนดกลุม่ เป้าหมาย เพ่ือดำเนนิ การสำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
2. สำรวจความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมายในพนื้ ที่
กศน.ตำบลวังสะพุง สำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่ โดยการใช้แบบสำรวจความ
ต้องการในการเขา้ รว่ มโครงการ และไดก้ ลมุ่ เป้าหมายตามเปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้
3. วิเคราะหข์ อ้ มูลเพอ่ื นำไปใช้ในการดำเนนิ งาน
กศน.ตำบลวังสะพงุ วิเคราะหข์ ้อมูลจากการสำรวจความต้องการสของกลุ่มเปา้ หมายในพื้นที่ และนำ
ข้อมูลทวี่ เิ คราะหด์ ำเนินการจดั เตรยี มขอ้ มูล เพอื่ จัดทำส่ือตา่ ง ๆ
4. จดั เตรียมขอ้ มลู รายละเอยี ดและสื่อตา่ งๆเพ่ือนำไปใช้ในการประชาสมั พันธ์รบั สมคั ร
กศน.ตำบลวังสะพุง นำข้อมูลท่ีวิเคราะห์ดำเนินการจัดเตรียมข้อมูล เพ่ือจัดทำส่ือต่าง ๆ และ
ประชาสัมพันธ์รบั สมัครใหป้ ระชาชนในพ้นื ทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ
การนำไปปฏิบัติ (DO)
1. สรปุ ขอ้ มลู พ้ืนฐานและความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย
กศน.ตำบลวังสะพุง ได้นำข้อมูลจากการสำรวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่ สรุปข้อมูล
พนื้ ฐานและความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย เพอื่ จดั ทำโครงการ
2. จัดทำโครงการเพือ่ ขออนุมัติ
กศน.ตำบลวังสะพุง จัดทำโครงการ หลักการและเหตุผล กำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขอบเขตใน
การทำกิจกรรม ขอบเขตพนื้ ที่การจัดกจิ กรรม ขอบเขตระยะเวลาการจัดกิจกรรม และเครือขา่ ย
3. ประสานเครือข่าย / วิทยากร
กศน.ตำบลวังสะพุง ดำเนินการจัดทำหนังสือเชิญวิทยากรเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในพ้ืนท่ี และ
ประสานเครือข่ายในการขอความความอนเุ คราะห์ใชส้ ถานท่ใี นการจดั โครงการ
4. ดำเนินการฝึกอบรมตามโครงการ
กศน.ตำบลวังสะพุง ดำเนินการจัดโครงการตามแผนท่ีกำหนดไว้ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นประชาชน
ในตำบลวงั สะพงุ เขา้ อบรมในโครงการ
5. สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
กศน.ตำบลวังสะพุง จัดทำรายงานผลการดำเนินงานโดยการสรุปผล อภิปรายผล หลังเสร็จส้ิน
โครงการ และนำเสนอรายผลการดำเนนิ งานต่อผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
20
การตรวจสอบ (Check)
1. ดำเนินการประเมนิ ผลความพึงพอใจของผู้เข้ารว่ มโครงการที่มีต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้
กศน.ตำบลวังสะพุง ดำเนินการประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีต่อการจัด
กระบวนการเรียนรู้ โดยใหผ้ ู้เขา้ รว่ มโครงการทำแบบประเมนิ ความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมโครงการ
2. ดำเนินการประเมินผลความพึงพอใจของวิทยากรที่มีต่อความสำเร็จของโครงการและกระบวนการ
บรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา
กศน.ตำบลวังสะพุง ดำเนินการประเมินผลความพึงพอใจของวิทยากรท่ีมีต่อความสำเร็จของ
โครงการและกระบวนการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา โดยให้ผูเ้ ข้าร่วมโครงการทำแบบประเมินความพึงพอใจ
ในการเขา้ ร่วมโครงการ
3. นเิ ทศติดตามผลโครงการ
กศน.ตำบลวังสะพุง ได้ลงพื้นที่เพ่ือนิเทศติดตามผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากการจัดโครงการเสร็จส้ิน
โดยใชแ้ บบนเิ ทศตดิ ตามผเู้ ขา้ ร่วมโครงการหลังจากการจัดโครงการเสรจ็ สิน้
ปรบั ปรงุ แก้ไข (Act)
1. วิเคราะหป์ ัญหา/ข้อเสนอแนะ
กศน.ตำบลวังสะพุง นำปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมโครงการมาวิเคราะห์ข้อมูล
จากแบบประเมินความพึงพอใจในการเข้ารว่ มโครงการ
2. สรปุ ปัญหา/ขอ้ เสนอแนะ
กศน.ตำบลวังสะพุง สรุปปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมโครงการมาวิเคราะห์ข้อมูล
จากแบบประเมินความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมโครงการ
3. หาวธิ ีการดำเนินการปรบั ปรุง แกไ้ ข โครงการ/กิจกรรมต่อไป
กศน.ตำบลวงั สะพุง นำปัญหาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะจากผู้เข้ารว่ มโครงการ เพื่อดำเนินการ
ปรับปรุง แกไ้ ข โครงการ/กิจกรรมต่อไป โดยการจดั กจิ กรรมให้เหมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมายให้มากขนึ้
3.2 ดัชนชี ี้วัดผลสำเร็จของโครงการ
ตัวช้วี ดั ผลผลิต
รอ้ ยละ 90 ของผู้เข้ารว่ มกิจกรรม ผา่ นการอบรม
ตัวช้วี ัดผลลัพธ์
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองในการบูรณาการศาสตร์พระราชาเพ่ือนำไปใช้
ในชีวติ ประจำวนั
21
3.3 วธิ ีการดำเนินการ
กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พน้ื ทดี่ ำเนนิ การ ระยะเวลา
บุคลากร 27 คน 7 พ.ย.
1.ประชุมบุคลากรผทู้ ่ี ขอมติทป่ี ระชมุ 1 คน กศน.อำเภอ 2565
เจ้าหนา้ ท่งี าน 26 คน วังสะพงุ 8 พ.ย.
เกี่ยวขอ้ ง 26 คน กศน.อำเภอ 2565
บุคลากร วังสะพุง 15 พ.ย.
2.เขยี นโครงการเสนอ ขออนมุ ตั โิ ครงการ 6 คน กศน.อำเภอ 2565
วังสะพงุ 1 ธ.ค.
ขออนมุ ตั ิ 1 คน 2565
1 คน ศาลาวัดศรีชมชื่น
3.แตง่ ตง้ั คณะทำงาน มอบหมายงาน 1 คน ตำบลวังสะพงุ 2 ธ.ค.
อำเภอวังสะพงุ 2565
4.จดั เตรียมสถานท่ี จัดเตรยี มเอกสารท่ใี ช้ใน บุคลากร จงั หวดั เลย
วสั ดุ ส่ือ และอปุ กรณ์ โครงการฯ สถานท่ี วสั ดุ ศาลาวัดศรชี มชืน่
ตำบลวังสะพงุ
อุปกรณ์ ตามหน้าที่ อำเภอวังสะพุง
จงั หวัดเลย
5.ดำเนนิ การตาม 1. เพ่อื ใหป้ ระชาชนใน ประชาชนใน
โครงการฯ พืน้ ทต่ี ำบลวังสะพงุ มี ตำบลวังสะพงุ ศาลาวัดศรชี มช่นื 2 ธ.ค.
ตามกำหนดการท่ี ความรู้ ความเข้าใจใน ตำบลวงั สะพงุ 2565
แนบ การบูรณาการศาสตร์ - ผนู้ เิ ทศติดตาม อำเภอวังสะพงุ
พระราชา - ครู กศน.ตำบล จงั หวดั เลย
6.ติดตามประเมินผล 2. เพอ่ื ใหป้ ระชาชนใน - ครู ศรช.
/ สรปุ รายงาน พนื้ ทตี่ ำบลวงั สะพุง บรู ณา
การศาสตร์พระราชาเพอื่
นำไปใชช้ ีวติ ประจำวันได้
ประเมินผลการดำเนินงาน
เมอ่ื แลว้ เสร็จ
22
บทที่ 4 ผลการดำเนินการ
ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป
ตารางท่ี 1 แสดงเพศผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ
เพศ จำนวน (คน)
ชาย 3
หญิง 3
รวมทั้งหมด 6
จากตารางท่ี 1 ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นเพศชาย จำนวน 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 50 และเพศหญิง จำนวน 3
คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50 ซ่ึงรวมทั้งหมด 6 คน
ตารางท่ี 2 แสดงอายเุ ข้าร่วมโครงการ
อายุ 15 - 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 – 60 ปี 61 ปีขนึ้ ไป รวมท้ังหมด
จำนวน (คน) 5 1 - - - 6
จากตารางท่ี 2 ผูเ้ ข้าร่วมโครงการมีอายุ 15 - 30 ปี จำนวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 83.33 และอายุ 31-
40 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 ซ่งึ รวมช่วงอายทุ ้ังหมด 6 คน
ตารางที่ 3 แสดงระดับการศกึ ษาเขา้ ร่วมโครงการ
ระดบั การศกึ ษา จำนวน (คน)
ประถมศกึ ษา -
มธั ยมศึกษาตอนตน้ 3
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 3
รวมท้ังหมด 6
จากตารางท่ี 3 ผู้เข้าร่วมโครงการกำลังศกึ ษาอยู่ในระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อย
ละ 50 และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 50 ซงึ่ รวมทั้ง 2 ระดบั ชน้ั ทง้ั หมด 6 คน
ตารางท่ี 4 แสดงอาชีพเข้าร่วมโครงการ
อาชพี ธุรกจิ ส่วนตวั รับจา้ ง เกษตรกร อ่นื ๆ รวมท้ังหมด
จำนวน (คน) - - -6 6
จากตารางท่ี 4 ผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบอาชีพอื่นๆ (ว่างงาน) จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ซ่ึง
รวมผ้ปู ระกอบอาชีพทั้งหมด 6 คน
23
ตอนที่ 2 ระดบั ความพึงพอใจ
ตารางท่ี 5 แสดงระดับความพงึ พอใจด้านเนือ้ หา
ระดบั ความพึงพอใจ หมาย
ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ มากทสี่ ดุ มาก ปาน น้อย น้อย เหตุ
กลาง ทส่ี ุด
ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเนือ้ หา
1 เน้ือหาตรงตามความต้องการ 6= 100%
2 เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ 6= 100%
3 เนื้อหาปจั จุบัน ทนั สมัย 6= 100%
4 เนอ้ื หามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 6= 100%
สรุป 100%
จากตารางท่ี 5 ผู้เข้ารว่ มโครงการแสดงความคิดเหน็ ในการประเมินโครงการการจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นา
สังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการศาสตร์พระราชาเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน” โดยมี
ประเดน็ วัดความพึงพอใจดา้ นเนือ้ หา ดงั นี้ เนื้อหาตรงตามความต้องการ เนื้อหาเพยี งพอตอ่ ความต้องการ เน้ือหา
ปัจจุบัน ทันสมัย และเน้ือหามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต คิดเป็นร้อยละ 100
ตามลำดบั
ตารางท่ี 6 แสดงระดับความพงึ พอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม
ระดบั ความพึงพอใจ หมาย
ขอ้ รายการประเมินความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เหตุ
กลาง ท่ีสุด
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม
1 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 6= 100%
2 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ 6= 100%
3 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 6= 100%
4 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 6= 100%
5 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ 6= 100%
สรปุ 100%
จากตารางท่ี 6 ผู้เข้ารว่ มโครงการแสดงความคิดเห็นในการประเมินโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นา
สังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการศาสตร์พระราชาเพ่ือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน” โดยมี
ประเด็นวัดความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม ดังน้ี การเตรียมความพร้อมก่อนอบรม การ
24
ออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย การจัดกิจกรรม
เหมาะสมกบั เวลา และวิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ตามลำดับ
ตารางที่ 7 แสดงระดับความพงึ พอใจตอ่ วทิ ยากร
ระดบั ความพึงพอใจ หมาย
ข้อ รายการประเมินความพงึ พอใจ มากทส่ี ุด มาก ปาน นอ้ ย น้อย เหตุ
กลาง ทสี่ ุด
ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร 6= 100%
1 วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในการถา่ ยทอด 6= 100%
2 วิทยากรมเี ทคนิคในการถา่ ยทอดใชส้ ่ือเหมาะสม 6= 100%
3 วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มีสว่ นรว่ มและซกั ถาม สรปุ 100%
จากตารางที่ 7 ผู้เข้ารว่ มโครงการแสดงความคดิ เห็นในการประเมินโครงการการจัดการศกึ ษาเพอื่ พัฒนา
สังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการศาสตร์พระราชาเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน” โดยมี
ประเด็นวัดความพึงพอใจต่อวิทยากร ดังน้ี วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอด และวิทยากรเปิด
โอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม และวิทยากรมีเทคนิคในการถ่ายทอดใช้ส่ือเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 100
ตามลำดับ
ตารางที่ 8 แสดงระดับความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก
ระดบั ความพึงพอใจ หมาย
ขอ้ รายการประเมนิ ความพึงพอใจ มากทีส่ ดุ มาก ปาน นอ้ ย น้อย เหตุ
กลาง ทีส่ ุด
ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก
1 สถานที่ วสั ดุ อปุ กรณ์และสงิ่ อำนวยความสะดวก 6= 100%
2 การส่อื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อใหเ้ กดิ กาเรยี นรู้ 6= 100%
3 การบริการ การชว่ ยเหลือและการแก้ปัญหา 6= 100%
สรุป 100%
จากตารางที่ 8 ผ้เู ข้ารว่ มโครงการแสดงความคิดเห็นในการประเมินโครงการการจดั การศึกษาเพ่อื พัฒนา
สังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการศาสตร์พระราชาเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน” โดยมี
ประเด็นวัดความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก ดังนี้ การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา การ
สื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดกาเรียนรู้ และสถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอำนวยความสะดวก คิดเป็น
รอ้ ยละ 100 ตามลำดับ
25
บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผล
ผู้เข้าร่วมโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการ
ศาสตร์พระราชาเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน” เป็นเพศชาย จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50 และเพศหญิง
จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50 และมีอายุ 15 - 30 ปี จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 อายุ 31 - 40 ปี
จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อย 16.67 ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50
และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 50 ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นประชาชนท่ัวไปใน
ตำบลวงั สะพุง พร้อมทั้งประกอบอาชพี อืน่ ๆ (ว่างงาน) จำนวน 6 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 และมปี ระเด็นวดั ความ
พึงพอใจในการจัดโครงการฯ ดงั นี้ ความพึงพอใจด้านเน้ือหา คิดเป็นร้อยละ 100 ความพึงพอใจต่อวิทยากร คิด
เป็นร้อยละ 100 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม คิดเป็นร้อยละ 100 และความพึงพอใจ
ดา้ นการอำนวยความสะดวก คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ตามลำดบั จากผ้ตู อบแบบสอบถามทัง้ หมด 6 คน
5.2 อภิปรายผล
การจัดโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการ
ศาสตร์พระราชาเพ่ือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน” ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในด้านเน้ือหาตรงตามความ
ต้องการและเพียงพอ มีความเป็นปัจจุบันและทันสมัย มีการเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม กิจกรรมเหมาะสมกับ
วตั ถุประสงค์และเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย วิทยากรมคี วามร้คู วามสามารถในการถ่ายทอด เปิดโอกาสให้มีสว่ น
รว่ มและซักถาม พร้อมท้งั มกี ารชว่ ยเหลือและการแก้ปัญหา
การจัดโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการ
ศาสตร์พระราชาเพ่ือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน” ได้ดำเนินการตามเป้าหมายของโครงการ โดยเน้นให้ผู้เข้าร่วม
อบรมบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ซ่ึงผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องแนวทาง “ศาสตร์
พระราชา” แนวทางวิถพี อเพยี งเศรษฐกจิ หลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลท่ี ๙ และความรู้ปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพียง พร้อมการดำเนินชวี ติ ให้ดำเนินไปบน “ทางสายกลาง”
5.3 ข้อเสนอแนะ
ผู้เข้าร่วมโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการ
ศาสตรพ์ ระราชาเพอ่ื นำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ” ไม่มขี ้อเสนอแนะในการจดั กจิ กรรม
ภาคผนวก
โครงการการจดั การศึกษาเพอ่ื พฒั นาสังคมและชุมชน
“กิจกรรมอบรมให้ความร้บู รู ณาการศาสตรพ์ ระราชาเพื่อนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ”
1. ชอื่ โครงการ โครงการการจัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรบู้ ูรณาการ
ศาสตร์พระราชาเพื่อนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ”
2. สอดคล้องนโยบายจุดเนน้ การดำเนนิ งานสำนักงาน กศน.
2.1 ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ที่ 2.2 การพัฒนา
ภาคการผลิตและบรกิ าร เสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแขง็ ย่ังยนื และส่งเสริมเกษตรกรรายย่อยสเู่ กษตรย่งั ยืน เป็น
มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
2.2 นโยบายเรง่ ด่วนเพอ่ื ร่วมขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ
ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง : 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ
โดยปลูกฝังและสร้างความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและ
ความภาคภูมิใจ ในความเป็นคนไทยและชาติไทย น้อมน่าและเผยแพร่ศาสตร์พระราซา หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง รวมถงึ แนวทางพระราชดำริต่าง
ภารกิจต่อเนื่อง : จัดการศึกษาต่อเน่ือง: จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและ
การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การเรียนทางไกล การประชุมสัมมนาการ
จัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฎิบัติ และรูแบบอื่นๆจัดท่ีเหมาะสมกับ
กลมุ่ เปา้ หมาย
3. หลกั การและเหตุผล
ศาสตร์พระราชา หลายคนแต่ยังขาดการนำไปปฏิบัติ หลายคนนำไปปฏิบัติแล้วต่างเข้าใจและซาบซ้ึง
ในศาสตร์นั้น ศาสตร์พระราชาใช้มานานกว่า 70 ปีมีมากกว่า 4,000 โครงการ เป็นท่ียอมรับทั้งในและ
ต่างประเทศ เป็นศาสตร์แห่งการพัฒนาตามฐานะแห่งตนแบบค่อยเป็นค่อยไป ในหลักการเข้าใจ เข้าถึง และ
พัฒนา ขยายผลผ่านองค์กรของรัฐและเอกชน สู่ระดบั รากหญ้าผ่านภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาจงึ เป็นฐานราก
ของการพัฒนาสังคมศาสตร์ ศาสตร์พระราชา คือภูมิปัญญาของพระราชา (king wisdom) รัชกาลที่ 9 ที่
พระองค์ทรงทดลองใช้ นำไปปฏิบัติจนเป็นผลสำเร็จแล้วจึงนำไปบอกแนะนำให้พสกนิกรของพระองค์นำไปใช้
นอกจากบอกแล้วยังตามไปดูว่า ได้ผลหรือไม่อย่างไร เป็นกระบวนการทำงานเชิงวิจัยของพระองค์ ศาสตร์แห่ง
พระราชากับการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน 137 หลักการของศาสตร์พระราชา การเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา คือ
หลักการของศาสตร์พระราชา เพื่อแก้ปัญหาพ้ืนที่ และพัฒนาชีวิตของ ประชาชน ดำเนินการอย่างมีแผนผ่าน
โครงการและกจิ กรรมต่างๆ ซ่งึ ใชค่ วามสำเรจ็ เพียงช่ัวคร้ังช่ัวคราวเท่าน้ัน หากแตเ่ ป็นการพัฒนาเพ่อื ความยั่งยืน1
ศาสตร์พระราชา จึงเป็นโครงการที่ยังชีพให้ประชาชน ได้อยู่ดีกินดี ไม่ว่าจะเป็นโครงการฝนหลวง โครงการฝาย
ชะลอ ความชุ่มช้ืน โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ โครงการแก้มลิง โครงการบำบัดน้ำเสียโดยจุลินทรีย์ เป็นต้น จะ
เห็นได้ว่า โครงการหลวงล้วนแต่เป็นการพัฒนาประชากรระดับรากหญ้า เพ่ือยกระดับการดำรงชีพ ของ
ประชาชนให้สูงขึ้นตามยุคสมัยและกลไกทางสังคมให้อยู่ดีกินดีมีความสุขตามอัตภาพ เพราะปัจจัยพ้ืนฐานทาง
สังคมนั้นครอบครัวคือหน่วยย่อยหากครอบครัวขาดความอบอุ่น น่ันคือสาเหตุของปัญหาทางสังคมท่ีจะตามมา
ศาสตร์พระราชาหลักการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลท่ี ๙ ทรงยึดแนวทางแบบค่อยเป็น
ค่อยไป ไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน หากแต่ให้เกิดความสอดคล้องกับความ
เป็นอยูโ่ ดย ไมใ่ หเ้ กิดความขัดแย้งกัน ทกุ พื้นที่ของประเทศไทยได้มีการน้อมนำแนวพระราชดำรขิ องพระองค์ คือ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาปฏิบัติเพ่ือทำให้หลายชุมชนเกิดความเข้มแข็งเป็นต้นแบบให้แก่ชุมชนอื่น
นำไปสู่การปฏิบัติในการประกอบอาชีพ แบบค่อยเป็นค่อยไปเพ่ือการดำรงชีวิตของตนและชุมชน ประกอบกับ
ความรู้ของตนที่คิดค้นการทดลองใช้และทำซ้ำคร้ังแล้วคร้ังเล่า จนเกิดเป็นผลดี และนำไปบอกต่อหรือแนะนำ
ตลอดทง้ั การไปเรยี นรู้และเกิดความรใู้ หม่ในชุมชน ต่อไป
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสะพุง ได้เห็นความสำคัญท่จี ะขับเคลื่อน
การสร้างความรู้ความเข้าใจ บูรณาการศาสตร์ของพระราชากับพระราชาในพื้นท่ีอำเภอวังสะพุง นำไปสู่การ
ปฏิบัติในการประกอบอาชีพ แบบค่อยเป็นค่อยไป เพ่ือการดำรงชวี ิตของตนและชุมชน จึงได้จัดโครงการการจัด
การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน “กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการศาสตร์พระราชาเพื่อนำไปใช้ใน
ชวี ติ ประจำวัน” ขึ้น
4. วตั ถปุ ระสงค์
4.1 เพือ่ ใหป้ ระชาชน อำเภอวังสะพงุ มีความรู้ ความเขา้ ใจในการบูรณาการศาสตร์พระราชา
4.2 เพ่ือให้ประชาชน อำเภอวังสะพุง มีความรู้ ความเข้าใจ บูรณาการศาสตร์พระราชาเพื่อนำไปใช้
ชวี ติ ประจำวนั ได้
5.เป้าหมาย
เชิงปรมิ าณ
ประชาชนอำเภอวงั สะพงุ ท้งั 10 ตำบล รวมทัง้ สน้ิ จำนวน 78 คน
เชิงคณุ ภาพ
ประชาชนอำเภอวังสะพุง ร้อยละ 90 ที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้
ความเขา้ ใจในเรื่องในการบูรณาการศาสตร์พระราชาเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั
6. วิธดี ำเนินการ
กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เป้าหมาย พนื้ ทด่ี ำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ
บุคลากร 27 คน
1.ประชุม ขอมติท่ปี ระชุม กศน.อำเภอ 7 พ.ย. -
บุคลากรผู้ท่ี ขออนุมัตโิ ครงการ วังสะพงุ 2565
เก่ียวขอ้ ง
2.เขยี น เจ้าหน้าท่งี าน 1 คน กศน.อำเภอ 8 พ.ย. -
โครงการเสนอ วงั สะพุง 2565
ขออนุมัติ
กิจกรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เป้าหมาย พน้ื ท่ีดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ
3.แต่งต้ัง มอบหมายงาน บุคลากร 26 คน กศน.อำเภอ
คณะทำงาน บุคลากร 26 คน วังสะพุง 15 พ.ย. -
4.จัดเตรียม จดั เตรียมเอกสารทใ่ี ช้ใน 2565
สถานที่ วัสดุ โครงการฯ สถานท่ี วัสดุ ประชาชนใน 78 คน ศาลาวัดศรชี มช่ืน
ส่ือ และ อปุ กรณ์ ตามหน้าที่ อำเภอวงั สะพุง ตำบลวังสะพงุ 1 ธ.ค. -
อุปกรณ์ 1 คน อำเภอวังสะพงุ 2565
5.ดำเนนิ การ 1. เพ่อื ใหป้ ระชาชนใน - ผนู้ ิเทศติดตาม ครู กศน. จังหวดั เลย
ตามโครงการฯ พน้ื ท่ีอำเภอวงั สะพุง มี - ครู กศน.ตำบล 10 ตำบล ศาลาวัดศรชี มชน่ื 2 ธ.ค. 25,600
ตาม ความรู้ ความเขา้ ใจใน ตำบลวงั สะพงุ 2565 บาท
กำหนดการท่ี การบรู ณาการศาสตร์ อำเภอวงั สะพงุ
แนบ พระราชา จงั หวดั เลย 2 ธ.ค. -
2. เพื่อใหป้ ระชาชนใน 2565
6.ตดิ ตาม พ้นื ที่อำเภอวังสะพงุ ศาลาวดั ศรชี มชื่น
ประเมนิ ผล / บรู ณาการศาสตร์ ตำบลวังสะพุง
สรุปรายงาน พระราชาเพอื่ นำไปใช้ อำเภอวังสะพุง
ชวี ิตประจำวันได้ จงั หวดั เลย
ประเมินผลการดำเนินงาน
เมอ่ื แล้วเสร็จ
7. วงเงินงบประมาณ
ใช้งบประมาณ แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี 4
ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการศึกษานอกระบบ การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน งบ
ดำเนินงาน รหัสงบประมาณ 20002350004002000000 แหล่งของเงิน 6611200 เพื่อเป็นค่าจ่ายในการจัด
กิจกรรม จำนวน 25,600 บาท (สองหม่นื หา้ พันหกร้อยบาทถ้วน ) ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี
1. คา่ อาหาร จำนวน 78 คน x 70 บาท x 1 ม้ือ จำนวนเงิน 5,460 บาท
2. คา่ อาหารว่างและเคร่ืองดืม่ จำนวน 78 คน x 25 บาท x 2 มื้อ จำนวนเงิน 3,900 บาท
3. คา่ ตอบแทนวิทยากร 1 คน x 200 บาท x 6 ช่วั โมง จำนวนเงนิ 1,200 บาท
4. ค่าวัสดโุ ครงการ จำนวนเงิน 15,040 บาท
(สองหมนื่ หา้ พันหกรอ้ ยบาทถว้ น) รวมเงินท้งั ส้ิน 25,600 บาท
หมายเหตุ คา่ ใชจ้ า่ ยถัวเฉลย่ี ตามทจี่ ่ายจริง
8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
(ต.ค.-ธ.ค.65) (ม.ค.-มี.ค.66) (เม.ย.-มิ.ย.66) (ก.ค.-ก.ย.66)
กจิ กรรมหลกั
25,600 บาท - - -
โครงการการจัดการศึกษา
เพอื่ พฒั นาสังคมและชุมชน
“กิจกรรมอบรมใหค้ วามรบู้ รู ณา
การศาสตร์พระราชาเพ่ือนำไปใช้
ในชวี ิตประจำวนั ”
9.ผู้รบั ผิดชอบโครงการ
9.1 ครู
9.2 ครู อาสาสมัคร ฯ
9.3 ครู กศน.ตำบล 10 ตำบล
9.4 ครู ศรช.
10. เครอื ข่าย
10.1 ทวี่ ่าการอำเภอวงั สะพุง
10.2 เครอื ข่ายกสิกรรมจงั หวัดเลย
10.3 สว่ นราชการในอำเภอวงั สะพุง
ฯลฯ
11.โครงการ/กจิ กรรมทเี่ ก่ียวข้อง
11.1 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
11.2 โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย
ฯลฯ
12.ผลทคี่ าดว่าจะได้รบั (Out come)
ประชาชน อำเภอวังสะพุงที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ ความเข้าใจใน
เรื่องในการบรู ณาการศาสตร์พระราชาเพื่อนำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน
13.ตวั ชวี้ ัดผลสำเร็จของโครงการ
13.1 ตัวช้ีวดั ผลผลติ ( Out put )
ร้อยละ 90 ของผ้เู ข้าร่วมกิจกรรม ผา่ นการอบรม
13.2 ตัวชวี้ ัดผลลพั ธ์ ( Out comes )
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองในการบูรณาการศาสตร์พระราชาเพ่ือ
นำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
14.การประเมนิ ผล
14.1 ภาพถ่ายกจิ กรรม
14.2 ประเมนิ ความพึงพอใจ
ผเู้ สนอโครงการ
ลงชอื่ ………......……………........… ลงชอื่ ………......……………........…
(นางดวงเดือน สุขบัว) (นายทวีวฒั น์ เหลาสพุ ะ)
ครู ผู้ชว่ ย ครู ชำนาญการ
ผอู้ นมุ ัติโครงการ
ลงชื่อ..............................................
(นางพชิ ามณชุ์ ลำมะนา)
ผู้อำนวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอวังสะพงุ
กำหนดการ
โครงการการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
“กิจกรรมอบรมให้ความรู้บูรณาการศาสตร์พระราชาเพื่อนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ”
วันที่ 2 ธันวาคม 2565
ณ ศาลาวัดศรีชมช่ืน ตำบลวงั สะพงุ อำเภอวังสะพงุ จังหวัดเลย
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวงั สะพุง
************************************************************************
เวลา 08.00 น. – 08.30 น. ลงทะเบียน
เวลา 08.30 น. – 08.40 น. ชแี้ จงวตั ถปุ ระสงค์โครงการ/พบปะ
โดย นางพิชามญช์ุ ลำมะนา ผอ.กศน.อำเภอวังสะพุง
เวลา 08.40 น. - 09.00 น. พธิ ีเปิดโครงการ
เวลา 09.00 น. – 10.30 น. นายภูริวัจน์ โชตินพรัตน์ นายอำเภอวงั สะพุง
วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรแู้ นวทาง “ศาสตรพ์ ระราชา”
เวลา 10.30 น. - 10.40 น. แนวทางวถิ ีพอเพียงเศรษฐกิจ
เวลา 10.40 น. - 12.00 น. โดยวทิ ยากร เครอื ขา่ ยกสิกรรมจังหวัดเลย
พักรับประทานอาหารว่างและเคร่ืองดื่ม
เวลา 12.10 น. - 13.00 น. วิทยากรบรรยายใหค้ วามรู้แนวทาง หลักการทรงงาน
เวลา 13.00 น. – 14.30 น. ของในหลวงรัชกาลท่ี ๙
โดยวทิ ยากร เครอื ข่ายกสิกรรมจงั หวัดเลย
เวลา 14.30 น. – 14.40 น. พกั รับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 14.40 น.- 16.30 น. วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เวลา 16.30 น.- 17.00 น. และการดำเนนิ ชวี ิต ให้ดำเนนิ ไปบน “ทางสายกลาง”
โดยวิทยากร เครือข่ายกสิกรรมจังหวัดเลย
พักรับประทานอาหารว่างและเคร่ืองด่มื
แบง่ กลมุ่ /ถอดบทเรยี น/แลกเปลี่ยนเรยี นร/ู้ ปญั หา/วธิ ีการแก้ไข
โดยวิทยากร เครือข่ายกสิกรรมจังหวัดเลย
พิธปี ดิ โครงการ
โดย นางพิชามญช์ุ ลำมะนา ผอ.กศน.อำเภอวังสะพุง
หมายเหตุ : กำหนดการนี้เปล่ียนแปลงได้ตามความเหมาะสม
เชา้ เวลา 10.30 น. – 10.40 น. พักรบั ประทานอาหารว่างและเคร่ืองด่มื
เวลา 12.00 น. - 13.00 น. พกั รบั ประทานอาหารกลางวนั
บา่ ย เวลา 14.30 น. – 14.40 น. พกั รบั ประทานอาหารวา่ งและเคร่ืองดื่ม
แบบประเมินความพึงพอใจ
โครงการการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสังคมและชุมชน
“กิจกรรมอบรมใหค้ วามรบู้ ูรณาการศาสตร์พระราชาเพอ่ื นำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน”
วนั ท่ี 2 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2565
ณ ศาลาวดั ศรชี มชนื่ ตำบลวังสะพุง อำเภอวงั สะพงุ จังหวัดเลย
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอวงั สะพงุ จังหวดั เลย
********************************************
คำชแ้ี จง : แบบประเมนิ ความพึงพอใจนี้ มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พอื่ ศกึ ษาความคดิ เห็นของนกั ศึกษา ผเู้ ข้าร่วมโครงการ ฯ
ขอใหต้ อบตรงตามความเป็นจริงมากทีส่ ุด และผลที่ได้จะนำมาปรับปรงุ และพฒั นาการดำเนนิ งานต่อไป
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไป ชาย หญิง
1. เพศ 15 - 30 ปี 31 - 40 ปี
2. ชว่ งอายุ 41- 50 ปี 51- 60 ปี
60 ปีข้ึนไป
3. ระดบั การศึกษา ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนตน้
4. อาชีพ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย อน่ื ๆ............................................
ธรุ กจิ ส่วนตัว เกษตร
ลูกจ้าง/รบั จ้าง อนื่ ๆ..............................................
สว่ นท่ี 2 : ความคิดเหน็ เกีย่ วกับการดำเนินงานโครงการ ( ขีด ช่องระดับความพงึ พอใจ )
ระดบั ความพึงพอใจ
ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน น้อย น้อย หมายเหตุ
ทีส่ ดุ กลาง
ทส่ี ดุ
ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจด้านเนือ้ หา
1 เนือ้ หาตรงตามความต้องการ
2 เนอ้ื หาเพยี งพอต่อความต้องการ
3 เนื้อหาปจั จบุ นั ทันสมัย
4 เน้ือหามปี ระโยชน์ต่อการนำไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ
ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม
5 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม
6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์
7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา
8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย
9 วธิ กี ารวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์
ระดบั ความพึงพอใจ
ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย หมายเหตุ
ทสี่ ุด กลาง
ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร ทสี่ ุด
10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถา่ ยทอด
11 วทิ ยากรมเี ทคนิคในการถ่ายทอดใช้ส่อื เหมาะสม
12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซกั ถาม
ตอนที่ 4 ความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก
13 สถานท่ี วัสดุ อปุ กรณ์และสง่ิ อำนวยความสะดวก
14 การส่อื สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกดิ กาเรียนรู้
15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา
ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
รูปภาพกจิ กรรม
โครงการการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมและชุมชน
“กิจกรรมอบรมให้ความรบู้ ูรณาการศาสตร์พระราชาเพอื่ นำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน”
วนั ที่ 2 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2565
ณ ศาลาวัดศรชี มช่ืน ตำบลวังสะพุง อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวงั สะพุง จังหวัดเลย
ทีป่ รึกษา ลำมะนา คณะผจู้ ัดทำ
นางพิชามญชุ์ เหลาสุพะ
นายทววี ฒั น์ สขุ บัว ผอ.กศน.อำเภอวงั สะพุง
นางดวงเดือน จันทวนั ครู
นางบัวคำ อันทะระ ครผู ู้ช่วย
นางลำไย ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น
ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น
คณะทำงาน วไิ ลสอน
นางศศิพิมล ลีกระจ่าง ครู กศน.ตำบลวังสะพุง
นายฐาปกรณ์ ครู ศรช.ตำบลวังสะพุง
รวบรวม / เรียบเรียงขอ้ มลู ครู กศน.ตำบลวงั สะพุง
นางศศิพิมล วิไลสอน ครู ศรช.ตำบลวงั สะพุง
นายฐาปกรณ์ ลีกระจ่าง
ครู กศน.ตำบลวงั สะพุง
ภาพประกอบออกแบบรูปเล่ม/พมิ พ์ ครู ศรช.ตำบลวังสะพุง
นางศศิพมิ ล วไิ ลสอน
นายฐาปกรณ์ ลกี ระจา่ ง