The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ครูอาร์ม งาน กศน., 2021-12-18 03:59:47

โครงการจัดการเรียนรู้ และการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในยุคสถานการณ์โควิค19 “พืชสมุนไพร ต้านโควิค19”

รายงานผลการดำเนนิ งาน

โครงการจัดการเรยี นรู้ และการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ใน
ยุคสถานการณโ์ ควิค19 “พืชสมุนไพร ต้านโควิค19”
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564

กศน.ตำบลวงั สะพุง

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอวงั สะพงุ
สำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั เลย

สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

ตามท่ี สำนักงาน กศน. ได้ให้นโยบายจัดการศึกษาการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้
หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การเรียนทางไกล การ
ประชุมสัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบ
อ่ืนๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชนแต่ละพื้นท่ี โดยเน้นการดำเนินตามหลักป รัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง การสร้างจิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี การบำเพ็ญประโยชน์ การ
อนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงจัดโครงการจัดการเรียนรู้ และการน้อมนำหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ในยุคสถานการณ์โควิค19 “พืชสมุนไพร ต้านโควิค19” ซ่ึงเป็นการสรุปผลการดำเนินงาน
ของ กศน.ตำบลวงั สะพุง อำเภอวงั สะพงุ จังหวดั เลย โดยดำเนนิ การในวันที่ 25 พฤษภาคม 2564

รายงานผลการดำเนินงานโครงการจัดการเรียนรู้ และการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใน
ยุคสถานการณ์โควิค19 “พืชสมุนไพร ต้านโควิค19” นี้ สามารถนำมาเป็นบทเรียนและพัฒนาในการจัดกิจกรรม
กศน. ตอ่ ไปได้อยา่ งเป็นรูปธรรมและมคี ุณภาพ ซึ่งสามารถดำเนนิ การจดั กศน. ได้อยา่ งครบวงจร (PDCA)

กศน.ตำบลวงั สะพุง จงึ หวงั ว่าเอกสารเล่มนี้ท่จี ะบง่ บอกถึงการบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ของโครงการและจะเป็น
ประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรม กศน. ทั้งในการบริหารงาน การพัฒนาคน และการทำงานที่ตรงตามความต้องการ
ของผู้เรียน ผู้รับบริการและชุมชนและสามารถเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ และขอขอบคุณผู้มีส่วนเก่ียวข้องและให้
ความรว่ มมือในการตอบแบบสอบถามทุกทา่ นไว้ ณ โอกาสนีด้ ว้ ย

จดั ทำโดย
กศน.ตำบลวงั สะพงุ

สารบญั หน้า

คำนำ ข
สารบญั 1
บทที่ 1 บทนำ 3
บทที่ 2 เอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ ง 6
บทที่ 3 วิธกี ารดำเนนิ การ 8
บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งาน 11
บทท่ี 5 ปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ
รูปภาพกิจกรรม
คณะผจู้ ดั ทำ

บทท่ี 1 บทนำ

1.1 ความเปน็ มา
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิค 2019 ท่ีกำลังทำให้ประชาชนคนไทย และคนท้ังโลก

เกิดปัญหา และความยากลำบากในการดำเนินชีวิต ท้ังวิกฤตด้านการค้า การลงทุน การประกอบอาชีพ ส่งผล
กระทบเป็นอย่างมาก การใช้ชีวิตแบบพึ่งพาตนเอง การสร้างความมั่นคงทางอาหาร การดูแลตวั เองด้วยภูมิปัญญา
ท้องถิ่น การสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตนเองจึงมีความสำคัญ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นศาสตร์พระราชา
ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นศาสตร์ที่สามารถ
นำมาประยุกต์เพ่ือแก้ปัญหาต่างๆได้อย่างมาก โดยเฉพาะในสถานการณ์ปัจจุบันที่คนไทยจะต้องสร้างภูมิคุ้มกัน
การพ่ึงตนเอง ใช้หลักเหตุและผล มาใชป้ ระยุกต์ในการดำเนนิ ชวี ิต

กศน.ตำบลวังสะพุงและศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสะพุง เห็น
ความสำคัญของการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือมาประยุกต์ในการแกป้ ัญหา ในยคุ สถานการณ์
โควิค19 โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำภูมิปัญญาท้องถิ่น ความรู้ เกี่ยวกับสมุนไพรไทย มาส่งเสริมให้ความรู้กับ
ประชาชนในอำเภอวังสะพงุ ให้ทราบและเข้าใจสรรพคุณประโยชน์ สงิ่ ท่ตี นเองมี จึงจัดโครงการจดั การเรียนรู้ และ
การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในยคุ สถานการณ์โควคิ 19 “พชื สมุนไพร ต้านโควคิ 19”

1.2 วตั ถปุ ระสงค์
เพ่ือให้ประชาชน อำเภอวังสะพุง มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการ

นำพชื สมนุ ไพรในชมุ ชนมาใช้ประโยชน์

1.3 กลุ่มเปา้ หมาย

เชงิ ปริมาณ

ประชาชนตำบลวังสะพุง จำนวน 5 คน

เชิงคุณภาพ

ประชาชนตำบลวังสะพุงท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการของปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพยี ง และการนำพืชสมนุ ไพรในชมุ ชนมาใชป้ ระโยชน์

1.4 ขอบเขตในการทำกจิ กรรม

กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พนื้ ทดี่ ำเนินการ ระยะเวลา

1.ประชุมบุคลากรผูท้ ี่ ขอมติท่ีประชุม บุคลากร 26 คน กศน.อำเภอ 12 พ.ค.
เก่ียวข้อง วังสะพงุ 2564
กศน.อำเภอ 13 พ.ค.
2.เขียนโครงการ ขออนุมตั โิ ครงการ เจา้ หนา้ ท่ีงาน 1 คน วงั สะพุง 2564
เสนอขออนมุ ัติ กศน.อำเภอ 14 พ.ค.
3.แต่งต้ังคณะทำงาน มอบหมายงาน บคุ ลากร 25 คน วงั สะพงุ 2564
กศน.อำเภอ 25 พ.ค.
4.จดั เตรยี มสถานท่ี จดั เตรียมเอกสารทใี่ ชใ้ น บุคลากร 25 คน วงั สะพงุ 2564
5 คน
วัสดุ สือ่ และอุปกรณ์ โครงการฯ สถานท่ี วสั ดุ ประชาชนท่ัวไป
ตำบลวงั สะพงุ
อุปกรณ์ ตามหนา้ ที่

5.ดำเนนิ การตาม เพ่ือให้ประชาชน อำเภอ กศน.ตำบล 28 พ.ค.
วงั สะพงุ 2564
โครงการฯ วังสะพุง มีความรู้ ความ

ตามกำหนดการท่ี เข้าใจ หลักการของปรัชญา

แนบ เศรษฐกิจพอเพยี ง และการ

นำพืชสมนุ ไพรในชมุ ชนมา

ใช้ประโยชน์

6.ตดิ ตามประเมินผล ประเมนิ ผลการดำเนินงาน - ผู้นเิ ทศ 3 คน กศน.ตำบล 28 พ.ค.
ตดิ ตาม วงั สะพุง 2564
/ สรุปรายงาน เมอื่ แลว้ เสรจ็ - ครู กศน.
ตำบล

1.5 ขอบเขตพื้นที่การจดั กจิ กรรม
กศน.ตำบลวังสะพงุ อำเภอวังสะพงุ จงั หวดั เลย

1.6 ขอบเขตระยะเวลาการจัดกจิ กรรม
วนั ท่ี 25 พฤษภาคม 2564 เวลา 08.00 น. - 16.30 น.

1.7 เครอื ข่าย
1) ปราชญ์/ภมู ปิ ญั ญา 2) ผ้นู ำชุมชน ฯลฯ

บทที่ 2 เอกสารที่เกีย่ วข้อง

2.1 จดุ เริม่ ตน้ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง
ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่สังคมไทยอย่าง

มากในทกุ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมอื ง วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งกระบวนการของความ
เปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากท่ีจะอธิบายใน เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการเปล่ียนแปลงท้ังหมด
ตา่ งเป็นปจั จยั เชอื่ มโยงซง่ึ กนั และกัน

สำหรับผลของการพัฒนาในด้านบวกนั้น ได้แก่ การเพ่ิมข้ึนของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความ
เจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบส่ือสารท่ีทันสมัย หรือการขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอย่าง
ท่ัวถึงมากขึ้น แต่ผลด้านบวกเหล่าน้ีส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมน้อย แต่ ว่า
กระบวนการเปล่ยี นแปลงของสงั คมไดเ้ กิดผลลบตดิ ตามมาดว้ ย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้ส่งผลให้
ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ท้ังการต้องพ่ึงพิงตลาดและพ่อค้าคนกลางในการส่ังสินค้าทุน ความเสื่อม
โทรมของทรพั ยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และการรวมกลุ่มกันตามประเพณีเพื่อการจดั การ
ทรัพยากรท่ีเคยมีอยแู่ ต่เดิมแตก สลายลง ภูมิความรู้ท่ีเคยใช้แก้ปัญหาและสั่งสมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลืมเลือนและ
เรมิ่ สญู หายไป

สิ่งสำคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดำรงชีวิต ซ่ึงเป็นเง่ือนไขพื้นฐานท่ีทำให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง และ
ดำเนินชีวิตไปได้อย่างมีศักด์ิศรีภายใต้อำนาจและความมีอิสระในการกำหนด ชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถ
ในการควบคุมและจัดการเพ่ือให้ตนเองได้รับการสนองตอบต่อความต้อง การต่างๆ รวมท้ังความสามารถในการ
จัดการปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ซ่ึงท้ังหมดนี้ถือว่าเป็นศักยภาพพื้นฐานท่ีคนไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่แต่ เดิม
ต้องถูกกระทบกระเทือน ซ่ึงวิกฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมท้ังปัญหา
อ่ืนๆ ท่ีเกดิ ขึ้น ลว้ นแตเ่ ปน็ ข้อพิสูจน์และยนื ยันปรากฎการณ์นไ้ี ด้เป็นอยา่ งดี

2.2 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับ

ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงท้งั ภายในภายนอก ท้งั น้ี จะตอ้ งอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวงั อย่างยงิ่ ใน

การนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการ ทุกข้ันตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้าง
พนื้ ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหนา้ ที่ของรฐั นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหม้ ีสำนกึ ในคุณธรรม
ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และ
ความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ
สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

2.3 ความหมายของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพยี ง จึงประกอบด้วยคณุ สมบตั ิ ดงั นี้
1. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดีทไี่ ม่น้อยเกินไปและไมม่ ากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น

เชน่ การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดบั พอประมาณ
2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับความพอเพียงน้ัน จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดย

พจิ ารณาจากเหตปุ ัจจัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง ตลอดจนคำนึงถึงผลทีค่ าดวา่ จะเกดิ ขึ้นจากการกระทำนนั้ ๆ อย่างรอบคอบ
3. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ท่ีจะเกิดขึ้น โดย

คำนึงถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องสถานการณ์ตา่ งๆ ทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ ในอนาคต

โดยมี เง่อื นไข ของการตดั สนิ ใจและดำเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ ให้อยู่ในระดบั พอเพียง ๒ ประการ ดังน้ี
1. เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการตา่ งๆ ทีเ่ ก่ียวข้องรอบด้าน ความรอบคอบทจี่ ะนำ
ความรูเ้ หลา่ นัน้ มาพิจารณาให้เชือ่ มโยงกนั เพ่อื ประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในการปฏบิ ตั ิ
2. เงอ่ื นไขคุณธรรม ทจี่ ะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มีความซ่ือสตั ยส์ ุจรติ และ
มีความอดทน มีความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ ชวี ติ

2.4 ประเทศไทยกบั เศรษฐกจิ พอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นให้ผู้ผลิต หรือผู้บริโภค พยายามเร่ิมต้นผลิต หรือบริโภคภายใต้ขอบเขต ข้อจำกัด

ของรายได้ หรือทรัพยากรท่ีมีอยู่ไปก่อน ซ่ึงก็คือ หลักในการลดการพึ่งพา เพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมการ
ผลิตได้ดว้ ยตนเอง และลดภาวะการเสี่ยงจากการไม่สามารถควบคมุ ระบบตลาดได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

เศรษฐกิจพอเพียงมิใช่หมายความถึง การกระเบียดกระเสียนจนเกินสมควร หากแต่อาจฟุ่มเฟือยได้เป็นครั้ง
คราวตามอัตภาพ แต่คนส่วนใหญ่ของประเทศ มักใช้จ่ายเกินตวั เกินฐานะทหี่ ามาได้

เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำไปสู่เป้าหมายของการสร้างความม่ันคงในทางเศรษฐกิจได้ เช่น โดยพื้นฐาน
แล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึงควรเน้นที่เศรษฐกิจการเกษตร เน้นความ
ม่ันคงทางอาหาร เป็นการสร้างความม่ันคงให้เป็นระบบเศรษฐกิจในระดับหนึ่ง จึงเป็นระบบเศรษฐกิจที่ช่วยลด
ความเสย่ี ง หรือความไมม่ ั่นคงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได้

เศรษฐกิจพอเพียง สามารถประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกิจ ไม่จำเป็นจะต้องจำกัด
เฉพาะแต่ภาคการเกษตร หรือภาคชนบท แม้แต่ภาคการเงิน ภาคอสังหาริมทรัพย์ และการค้าการลงทุนระหว่าง
ประเทศ

โดยมีหลักการที่คล้ายคลึงกันคือ เน้นการเลือกปฏิบัติอย่างพอประมาณ มีเหตุมีผล และสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่
ตนเองและสงั คม

2.5 การดำเนินชวี ิตตามแนวพระราชดำรพิ อเพียง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ทรงเขา้ ใจถึงสภาพสงั คมไทย ดังน้นั เมอื่ ได้พระราชทานแนวพระราชดำริ หรอื

พระบรมราโชวาทในด้านต่างๆ จะทรงคำนึงถึงวถิ ีชวี ติ สภาพสังคมของประชาชนดว้ ย เพื่อไม่ใหเ้ กดิ ความขดั แย้ง
ทางความคดิ ทอี่ าจนำไปสู่ความขัดแย้งในทางปฏบิ ตั ไิ ด้
แนวพระราชดำริในการดำเนินชวี ติ แบบพอเพียง

1. ยึดความประหยดั ตดั ทอนค่าใชจ้ ่ายในทุกดา้ น ลดละความฟมุ่ เฟือยในการใชช้ ีวติ
2. ยึดถอื การประกอบอาชพี ด้วยความถูกต้อง ซื่อสัตย์สุจรติ
3. ละเลกิ การแกง่ แยง่ ผลประโยชน์และแขง่ ขันกันในทางการคา้ แบบต่อสกู้ ันอยา่ งรนุ แรง
4. ไม่หยดุ นง่ิ ที่จะหาทางใหช้ ีวิตหลดุ พน้ จากความทุกขย์ าก ดว้ ยการขวนขวายใฝห่ าความรใู้ ห้มรี ายได้
เพิ่มพูนขน้ึ จนถงึ ขน้ั พอเพยี งเป็นเป้าหมายสำคัญ
5. ปฏิบตั ิตนในแนวทางทดี่ ี ลดละส่ิงชัว่ ประพฤติตนตามหลกั ศาสนา

บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนินการ

3.1 วิธีการดำเนนิ การตามระบบการดำเนนิ งานครบวงจร (PDCA)
การวางแผน (Plan)
1. ประชุมรบั นโยบายการดำเนินงานดา้ นการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานจากหน่วยงานตน้ สังกดั
2. สำรวจความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายในพนื้ ท่ี
3. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปใชใ้ นการดำเนินงาน
4. จดั เตรยี มข้อมลู รายละเอียดและสื่อตา่ งๆเพ่ือนำไปใชใ้ นการประชาสัมพันธ์รับสมคั ร
การนำไปปฏิบตั ิ (DO)
1. สรุปข้อมลู พน้ื ฐานและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
2. ประชุมเพอ่ื ทำแผนปฏิบัตกิ าร
3. จัดทำโครงการเพ่อื ขออนุมัติ
4. ประสานเครอื ข่าย / วทิ ยากร
5. ดำเนนิ การฝกึ อบรมตามโครงการ
6. สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
การตรวจสอบ (Check)
1. ตรวจสอบความพรอ้ มของสถานทีอ่ ุปกรณแ์ ละส่ือต่างๆ
2. ดำเนนิ การประเมนิ ผลความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการที่มตี ่อการจัดกระบวนการเรยี นรู้
3. ดำเนินการประเมินผลความพึงพอใจของวิทยากรที่มีต่อความสำเร็จของโครงการและกระบวนการ
บริหารจัดการของสถานศกึ ษา
4. นเิ ทศตดิ ตามผลโครงการ

3.2 ดชั นีช้ีวดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ
ตัวชว้ี ัดผลผลติ
ประชาชนตำบลวงั สะพุง จำนวน 5 คน เขา้ ร่วมโครงการ
ตัวชวี้ ดั ผลลัพธ์
ประชาชนตำบลวังสะพุงท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

และการนำพืชสมุนไพรในชุมชนมาใชป้ ระโยชน์

3.3 วิธกี ารดำเนนิ การ

กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุม่ เป้าหมาย เป้าหมาย พนื้ ทดี่ ำเนินการ ระยะเวลา

1.ประชมุ บุคลากรผ้ทู ่ี ขอมติที่ประชุม บคุ ลากร 26 คน กศน.อำเภอ 12 พ.ค.
เกยี่ วข้อง วังสะพงุ 2564
กศน.อำเภอ 13 พ.ค.
2.เขยี นโครงการ ขออนมุ ัตโิ ครงการ เจ้าหนา้ ท่งี าน 1 คน วงั สะพงุ 2564
เสนอขออนมุ ัติ กศน.อำเภอ 14 พ.ค.
3.แต่งตั้งคณะทำงาน มอบหมายงาน บุคลากร 25 คน วังสะพงุ 2564
กศน.อำเภอ 25 พ.ค.
4.จัดเตรียมสถานท่ี จัดเตรยี มเอกสารทใี่ ช้ใน บุคลากร 25 คน วงั สะพงุ 2564
5 คน
วสั ดุ สอ่ื และอปุ กรณ์ โครงการฯ สถานที่ วัสดุ ประชาชนท่ัวไป
ตำบลวังสะพงุ
อุปกรณ์ ตามหนา้ ท่ี

5.ดำเนินการตาม เพอ่ื ให้ประชาชน อำเภอ กศน.ตำบล 28 พ.ค.
วงั สะพงุ 2564
โครงการฯ วังสะพงุ มีความรู้ ความ

ตามกำหนดการที่ เข้าใจ หลักการของปรัชญา

แนบ เศรษฐกิจพอเพียง และการ

นำพชื สมนุ ไพรในชมุ ชนมา

ใชป้ ระโยชน์

6.ติดตามประเมินผล ประเมนิ ผลการดำเนินงาน - ผู้นิเทศ 3 คน กศน.ตำบล 28 พ.ค.
ตดิ ตาม
/ สรุปรายงาน เมอ่ื แล้วเสรจ็ - ครู กศน. วังสะพงุ 2564
ตำบล

บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ การ

ตอนที่ 1 ข้อมูลท่วั ไป

ตารางท่ี 1 แสดงเพศผูเ้ ข้าร่วมโครงการ จำนวน (คน)
5
เพศ -
ชาย 5
หญิง
รวมท้ังหมด

จากตารางที่ 1 ผู้เข้าร่วมโครงการเปน็ เพศชาย จำนวน 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ซ่งึ รวมทง้ั หมด 5 คน

ตารางที่ 2 แสดงอายเุ ขา้ ร่วมโครงการ

อายุ 15 - 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 – 60 ปี 61 ปีขนึ้ ไป รวมทั้งหมด
1 - - 5
จำนวน (คน) 4 -

จากตารางที่ 2 ผู้เข้ารว่ มโครงการ มีอายุ 15 - 30 ปี จำนวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 80 อายุ 41 -
50 ปี จำนวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20 ซง่ึ รวมช่วงอายุทง้ั หมด 5 คน

ตารางที่ 3 แสดงระดับการศึกษาเข้ารว่ มโครงการ จำนวน (คน)
ระดบั การศึกษา -
2
ประถมศึกษา 3
มัธยมศึกษาตอนต้น 5
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

รวมท้ังหมด

จากตารางที่ 3 ผู้เข้าร่วมโครงการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 40 และ
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 60 ซึ่งรวมท้ัง 2 ระดับช้ันท้งั หมด 5 คน

ตารางท่ี 4 แสดงอาชีพเข้าร่วมโครงการ

อาชพี ธรุ กิจสว่ นตวั รบั จา้ ง เกษตรกร อนื่ ๆ รวมทั้งหมด

จำนวน (คน) - 3 -2 5

จากตารางที่ 4 ผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบอาชีพรับจ้าง จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 60 และ
ประกอบอาชพี อืน่ ๆ จำนวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 40 ซ่ึงรวมผูป้ ระกอบอาชีพท้งั หมด 5 คน

ตอนท่ี 2 ระดบั ความพึงพอใจ

ตารางท่ี 5 แสดงระดับความพึงพอใจในการจัดโครงการ

ประเด็นวัดความพอใจ 5 ความพึงพอใจ
4=80% 4 321
1. เน้อื หาวชิ าทจี่ ดั การเรยี นรู้ตรงตามความต้องการของท่าน 3=60%
2. วิทยากรมคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรู้/อธบิ ายเนอ้ื หา 4=80% 1=20%
3. ท่านไดร้ บั ความรจู้ ากการเข้ารว่ มกิจกรรม 4=80% 2=40%
4. ความรแู้ ละทกั ษะทีไ่ ดร้ บั สามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ 4=80% 1=20%
5. ความเหมาะสมของสถานท่ี 5=100% 1=20%
6. ทา่ นไดร้ ับโอกาสในการเรียนรเู้ ท่าเทียมกันเพยี งใด 5=100% 1=20%
7. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการจดั กิจกรรม 5=100%
8. โดยภาพรวม ท่านมคี วามพึงพอใจในกระบวนการ/ขน้ั ตอนของการจดั 6=15%
กิจกรรมคร้ังนี้ 34=85%

สรุปรวม

จากตารางท่ี 5 ผู้เข้าร่วมโครงการแสดงความคิดเห็นในการประเมินโครงการจัดการเรียนรู้ และการน้อม
นำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในยคุ สถานการณ์โควคิ 19 “พชื สมุนไพร ต้านโควิค19” ประเด็นวัดความพึง
พอใจการได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกัน ความเหมาะสมของระยะเวลาในการจัดกิจกรรม และภาพรวมใน
กระบวนการ/ข้ันตอนของการจัดกิจกรรมคร้ังนี้ อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 100 รองลงมา คือประเด็นวัด
ความพึงพอใจด้านเนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่าน ด้านได้รับความรู้จากการเข้าร่วม
กจิ กรรม ด้านความรู้และทักษะที่ได้รับ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ และด้านความเหมาะสมของ

สถานท่ี คิดเป็นร้อยละ 80 และอยู่ในระดับน้อยสุด คือความพึงพอใจด้านวิทยากรมีความสามารถในการ
ถ่ายทอดความรู/้ อธิบายเนอ้ื หา คิดเป็นร้อยละ 60
สรุปผลการวิเคราะหข์ ้อมูล

ผู้เข้าร่วมโครงการจัดการเรียนรู้ และการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในยุคสถานการณ์โค
วิค19 “พืชสมุนไพร ต้านโควิค19” เป็นเพศชาย จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 100 โดยมีอายุ 15 - 30 ปี
จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 80 อายุ 41 - 50 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 40 และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 3 คน คิดเป็น
ร้อยละ 60 ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นประชาชนท่ัวไปในตำบลวังสะพุง พร้อมทั้งประกอบอาชีพรับจ้าง จำนวน 3
คน คิดเป็นร้อยละ 60 และประกอบอาชีพอื่นๆ จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 40 และมีความพึงพอใจในการ
เข้าร่วมโครงการแสดงความคิดเห็นในการประเมินโครงการจัดการเรียนรู้ และการน้อมนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ในยุคสถานการณ์โควิค19 “พืชสมุนไพร ต้านโควิค19” ประเด็นวัดความพึงพอใจการได้รับ
โอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกัน ความเหมาะสมของระยะเวลาในการจัดกิจกรรม และภาพรวมในกระบวนการ/
ขั้นตอนของการจัดกิจกรรมครั้งนี้ อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 100 รองลงมา คือประเด็นวัดความพึงพอใจ
ด้านเนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่าน ด้านได้รับความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม ด้าน
ความรู้และทักษะที่ได้รับ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ และด้านความเหมาะสมของสถานท่ี คิด
เป็นร้อยละ 80 และอยู่ในระดับน้อยสุด คือความพึงพอใจด้านวิทยากรมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้/
อธบิ ายเนือ้ หา คดิ เป็นรอ้ ยละ 60 จากผตู้ อบแบบสอบถามท้ังหมด 5 คน

บทที่ 5 ปญั หาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ

1. ปญั หาและอุปสรรค
ปญั หาและอุปสรรคในการจดั กิจกรรมโครงการจดั การเรยี นรู้ และการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง ในยุคสถานการณ์โควคิ 19 “พืชสมุนไพร ต้านโควิค19” ดังนี้
- เนอื่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 ทำใหผ้ ูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมไม่กล้ามาเข้ารว่ ม

กจิ กรรม แต่กิจกรรมกส็ ามารถดำเนินต่อไปตามเป้าหมาย จนเสรจ็ สิน้ กิจกรรม

2. ข้อเสนอแนะจากผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม
ขอ้ เสนอแนะจากผู้เข้าร่วมโครงการจดั การเรียนรู้ และการน้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ใน

ยุคสถานการณ์โควคิ 19 “พืชสมุนไพร ตา้ นโควิค19” ดังนี้
- ตอ้ งการไดห้ ัวกระชายขาว เพิ่มมากขนึ้

รูปภาพกจิ กรรม
โครงการจัดการเรยี นรู้ และการน้อมนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ในยุคสถานการณ์โควิค19 “พืชสมนุ ไพร ตา้ นโควคิ 19”
ณ กศน.ตำบลวงั สะพงุ อำเภอวังสะพงุ จังหวดั เลย

วันท่ี 25 พฤษภาคม 2564

ทป่ี รึกษา กณุ วงษ์ คณะผูจ้ ัดทำ
นางปยิ ะนชุ เหลาสพุ ะ
นายทวีวัฒน์ สุขบวั ผอ.กศน.อำเภอวงั สะพุง
นางดวงเดอื น จันทวัน ครู
นางบวั คำ กตุ นั ครูผู้ช่วย
นายสถาพร อนั ทะระ ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น
นางลำไย ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น
คณะทำงาน วไิ ลสอน
นางศศิพมิ ล ลกี ระจา่ ง หวั หนา้ กศน.ตำบลวงั สะพุง
นายฐาปกรณ์ ครู ศรช.วงั สะพงุ

รวบรวม / เรียบเรยี งข้อมลู หวั หน้า กศน.ตำบลวงั สะพุง
นางศศิพมิ ล วิไลสอน ครู ศรช.วังสะพุง
นายฐาปกรณ์ ลีกระจา่ ง
หวั หนา้ กศน.ตำบลวงั สะพุง
ภาพประกอบออกแบบรปู เลม่ /พิมพ์ ครู ศรช.วงั สะพงุ
นางศศิพมิ ล วิไลสอน
นายฐาปกรณ์ ลีกระจ่าง


Click to View FlipBook Version