ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
แบบประเมนิ เครอื่ งมือ
กำหนดให้ผทรงคุณวุฒิ / ผู้เชี่ยวชาญ แสดงความคิดเหน็ ที่มีต่อการแสดงความม่งุ หมายหลัก
บทบาทหลักหน้าท่ี (Key Role)
โดยทำเครือ่ งหมาย √ ลงในชอ่ งระดับความคดิ เหน็ และเขยี นข้อเสนอแนะ (ถา้ มี)
ความคดิ เห็น +1 หมายถึง เหน็ ดว้ ย
ความคิดเหน็ 0 หมายถึง ไมแน่ ่ใจ
ความคิดเหน็ -1 หมายถึง ไม่เหน็ ดว้ ย
หนว่ ยมาตรฐาน ความคิดเห็น ขอ้ เสนอแนะ
+1 0 -1
เคร่อื งมือชว่ ยพัฒนาฝีมือ สร้าง และรักษา
สมั พนั ธภาพในการทำงานท่ีมีประสิทธภิ าพ
ดแู ลอุปกรณ์ เครอ่ื งมือมสี ภาพใช้งานดี
การใช้งานเครอ่ื งมือปฏบิ ัตติ ามคำสั่ง กฎ ข้อบังคบั
สุขอนามยั และความปลอดภยั
การปฏิบัติงานใช้อปุ กรณ์ เคร่ืองมืออยา่ งมีสขุ อนามัย
และปลอดภยั
เลือกอปุ กรณ์ เครือ่ งมือสำหรับวธิ กี ารทำงาน และ
ดำเนนิ กระบวนการทำงานใหเ้ กิดความปลอดภัย
อุปกรณ์ เคร่ืองมือ ผา่ นการวินิจฉยั และควบคมุ การ
เส่ยี งภยั อันตรายในพ้ืนทท่ี ำงาน
อปุ กรณ์ เครื่องมือ มีคูม่ อื การใช้งานครบถ้วน มี
วธิ กี ารแนะนาํ วิธีการใช้งาน
อุปกรณ์ เครอ่ื งมอื จดั เป็นเครอ่ื งมอื พัฒนาทกั ษะ
ฝมี ือในสถานประกอบการ
คมู่ อื การดาเนนิ งานการเรยี นร้กู บั การทางาน
สาหรบั หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวชิ าวิศวกรรมการผลติ อตั โนมัติ
สาหรับนักศกึ ษา และสถานประกอบการ
Work-Integrated
Learning (WiL)
Handbook
-
วสิ ยั ทศั น์มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครินทร์
“มหาวิทยาลัยช้นั นารบั ใชส้ งั คมของภาคตะวนั ออก เพื่อสร้างนวตั กรรมตามศาสตร์พระราชา”
A Leading Social Enterprise University in the Eastern Thailand to Create Innovation
with Royal Philosophy.
อตั ลักษณ์
จติ อาสา ใฝ่รู้ สู้งาน
เอกลกั ษณ์
“มหาวิทยาลยั ราชภฏั ราชนครินทรเ์ ป็นสถาบนั อดุ มศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นาชุมชนและทอ้ งถิ่น ตาม
แนวพระราชดาร”ิ
ปรัชญา
จดั การศึกษา เพอื่ พฒั นาทอ้ งถิ่น
คานา
คู่มือโครงการ WiLเล่มน้ีจัดทาข้นึ เพื่อประโยชน์ในการประสานงานระหว่างนกั ศกึ ษา
คณาจารย์และสถานประกอบการ เป็นแนวทางข้นั ตอนปฏิบัติการดาเนินงานใหน้ ักศึกษา ได้ปฏิบัตงิ าน
จริงในสถานประกอบการเพ่ือเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ทางดา้ นอาชีพ และการพฒั นาตนเอง
กอ่ นทจ่ี ะสาเรจ็ การศึกษา และเป็นการเปิดโอกาสให้หนว่ ยงานทั้งภาครฐั และเอกชนไดม้ ีส่วนรว่ มใน
การพัฒนาคุณภาพบณั ฑิต โดยได้รวบรวมข้อมูลรายละเอยี ดเก่ียวกบั แนวคิดและกระบวนการของ
โครงการ WiL ตลอดจนเอกสารประกอบการบริหารจัดการ ซ่ึงเป็นหัวใจสาคญั ในการติดตามและ
ประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของนักศึกษา ผจู้ ัดทาใครข่ อขอบคณุ ทุกท่าน ทมี่ ีส่วนร่วมในการจัดทา คู่มือ
โครงการ WiLฉบับน้สี าเรจ็ เป็นรูปเลม่ เพอ่ื ประโยชน์สงู สดุ ท่จี ะเกดิ ข้ึนกบั ทุกฝ่ายทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
คณะจดั ทา
เมษายน 2565
สารบญั
เร่ือง หนา้
บทท่ี 1 โครงการโรงเรียนในโรงงาน (WiL) 1
1.1 โรงเรียนในโรงงานคอื อะไร Error! Bookmark not defined.
1.2 ทมี่ าของโครงการ WiL 1
1.3 โครงการ WiL ชว่ ยแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างไร 2
1.4 โครงการ WiL แตกตา่ งจากการศกึ ษาในระบบปกติ 3
บทที่ 2 ระบบโรงเรียนในโรงงาน (WiL) 4
2.1 ระบบโรงเรียนในโรงงานมใี ครเกย่ี วขอ้ งบ้าง 5
2.2 บทบาทและหน้าที่ของนักศกึ ษา 7
2.3 คณุ สมบตั ิพ้นื ฐานของนกั ศกึ ษา 8
2.4 ข้อกาหนด/กฎ/ระเบยี บสาหรบั นักศกึ ษา WiL 9
2.5 ประโยชน์ทน่ี กั ศกึ ษาจะได้รบั จากการปฏิบัติงาน WiL 10
บทที่ 3 บทบาทหน้าที่ของนักศึกษาและอาจารย์ท่ปี รึกษาสหกิจศกึ ษา 11
3.1 บทบาทวชิ าวศิ วกรรมการผลติ อัตโนมตั ิ 11
3.2 บทบาทและภาระหน้าท่คี ณะกรรมการประจาวชิ า 13
3.3 บทบาทและหนา้ ทขี่ องอาจารยท์ ี่ปรึกษา 13
3.4 บทบาทและภาระหน้าทข่ี องนักศกึ ษา 14
3.5 กิจกรรมระหว่างการปฏิบัติงาน 17
3.6 กิจกรรมหลังเสร็จส้นิ การปฏิบัตงิ าน 17
3.7 ประโยชน์ทน่ี กั ศกึ ษาจะไดร้ ับจากการปฏิบัตงิ านสหกจิ ศกึ ษา 18
บทท่ี 4 บทบาทสถานประกอบการโครงการ (WiL) 19
4.1 ฝ่ายบริหารงานบคุ คล/ฝ่ายทรพั ยากรบคุ คล 19
4.2 พนักงานท่ีปรึกษา (Job Supervisor) 20
4.3 เคร่ืองมอื เคร่ืองจักรท่ีสาคัญกับสาขาวิชาวศิ วกรรมการผลิตอัตโนมัติ 22
สารบญั (ตอ่ ) หนา้
เร่อื ง 24
25
4.4 ประโยชน์ท่ีสถานประกอบการจะได้รบั 25
บทที่ 5 กระบวนการและข้ันตอนโครงการ WiL 25
26
5.1 การรบั สมัครนักศึกษาโครงการ WiL 26
5.2 การเตรียมความพรอ้ มนักศึกษากอ่ นออกปฏิบัติงาน (การอบรมนักศึกษา) 26
5.3 การเลือกสมัครงาน 26
5.4 การคดั เลอื กนักศึกษาโดยสถานประกอบการ 27
5.5 การคัดเลือกคุณสมบตั ิของนกั ศึกษา 27
5.6 คา่ ตอบแทนและสวสั ดิการจากสถานประกอบการ 28
5.7 กจิ กรรมระหวา่ งการปฏิบัติงาน 28
5.8 การนิเทศงานโครงการ WiL 30
5.9 กิจกรรมภายหลงั เสรจ็ โครงการ WiL 34
5.10 การประเมนิ ผล 35
5.11 ขนั้ ตอนการดาเนินงานโครงการ WiL 35
5.12 แนวปฏิบตั โิ ครงการ WiL 35
บทท่ี 6 การเขยี นรายงานสหกจิ ศกึ ษา 37
6.1 การเขยี นรายงานการปฎิบตั งิ านโครงการ WiL 39
6.2 รายงานโครงการ WiL 40
6.3 เนื้อหาของรายงานโครงการ WiL
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
- เอกสารสาหรับการตดิ ตอ่ ประสานงานโครงการโครงการ WiL
- มาตรฐานโครงการ WiLของสถานศึกษา มาตรฐานของสถานประกอบกา
1
บทท่ี 1
โครงการโรงเรยี นในโรงงาน (WiL)
1.1 โรงเรียนในโรงงานคอื อะไร
โครงการโรงเรียนในโรงงาน (STI-WIL) พัฒนาข้ึนเพอ่ื แกป้ ญั หาความไมส่ อดคลอ้ งทีเ่ กิดข้ึน
ระหวา่ ง "ภาคอตุ สาหกรรม" ทต่ี อ้ งการแรงงานท่ีมคี วามรคู้ วามสามารถในเทคโนโลยกี ารผลิตและระบบ
ก า ร ผ ลิตในแต่ล ะขั้นตอ น กับ "ภา ค ก าร ศึก ษา " ท่ีผ ลิตก าลังคนท่ีเน้นความรู้ทักษะทั่วไป
และความร้สู ามญั โดยการพฒั นารูปแบบการจัดการศกึ ษาท่ีเชอื่ มโยงระหว่างอตุ สาหกรรมกับสถานศกึ ษา
ท่มี ีประสิทธิผล โดยการบรู ณาการการเรียนกับการทางานในรปู แบบที่เรียกวา่ "โรงเรียนในโรงงาน" หรือ
"Work-integrated Learning" ตลอดระยะเวลา 2 ปี ของหลักสูตร โดยมีคติของการเรี ยนรู้ในโครงการ
STI-WIL (Motto) คือ "เรี ย นในสิ่งที่ทา แ ละทาในส่ิงที่เรีย น" หรื อ "Learn what you Work &
Work what you Learn"
1.2 ทม่ี าของโครงการ WiL
จากปัญหาการขาดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลติ และบริการของประเทศไทย
ดร.ลี ผู้เช่ียวชาญด้านนโยบายนวตั กรรม ของสถาบันนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตก รรม
ได้วิเคราะห์ว่า ประเทศไทยมีความไ ม่ส อดคล้องขอ ง "อุตสาหกรรม" และ "วิทยาศาสตร์"
โดยอตุ สาหกรรม หมายถึง ภาคอตุ สาหกรรม/ เอกชนที่ลงทนุ เพ่ือผลิตสินค้าหรือบริการเพ่ือผลกาไร
ขณะท่ี วทิ ยาศาสตร์ หมายถึง การจดั การศึกษาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ของภาคการศกึ ษาเพอ่ื ผลิตกาลังคนให้
พร้อมสาหรบั การพฒั นาประเทศดว้ ยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เมอ่ื ทง้ั สองส่วนไม่
สอดคลอ้ งกันจึงสง่ ผลต่อความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิตและบริการของประเทศ เป็นวงจร
ทส่ี ง่ ผลทาใหเ้ กดิ ปญั หาความอ่อนแอในการพฒั นากาลังคนด้าน STEM แสดงในรปู ท่ี 1
รูปที่ 1 วงจรปัญหาของความไม่สอดคล้องระหว่างอตุ สาหกรรมและวิทยาศาสตร์
ทม่ี ารูป: ดัดแปลงมาจาก Lee (2018)
2
แนวทางการแก้ไข เริ่มตน้ ดว้ ยการสร้างสัมพันธร์ ะหว่างภาคอุตสาหกรรมและภาคการศึกษาให้
เกิดข้นึ เป็นลา้ ดับแรก ซ่งึ จะท้าให้เกดิ ตลาดงานทต่ี อ้ งการแรงงานคณุ ภาพด้าน STEM ส่งผลใหเ้ กิดการ
พฒั นากาลังคนทางดา้ น STEM จากภาคการศึกษา ดงั แสดงในรปู ท่ี 2 ซ่งึ การสรา้ งความสัมพนั ธ์ดงั กล่าว
สวทน. เร่ิมตน้ โดยใช้โครงการ STI-WiL ทา้ ให้เกดิ ความเช่อื มโยงระหว่าง 2 ฝ่าย
รูปที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาคอุตสาหกรรมและภาคการศึก ษ า
โดยใช้ STI-WiL
1.3 โครงการ WiL ช่วยแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งไร
สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแหง่ ชาติ (สวทน.)
ไดพ้ ัฒนารปู แบบการจัดการศกึ ษาโดยน้าร่องโครงการโรงเรียนในโรงงาน (WiL) ที่อาศัยความร่วมมือ
จากท้ังสถานประกอบการและสถานศกึ ษา โดยเริ่มจากสภาวะปญั หาและความตอ้ งการ (Demand) ของ
ภาคอตุ สาหกรรมกอ่ นเป็นลา้ ดับแรก และแกป้ ญั หาดว้ ยการจดั การศึกษาในรปู แบบโรงเรียนในโร งงาน
โดยมสี ถานศึกษาท่ีเป็นต้นสังกัดของนกั ศึกษาระดับ ปวส. และ ป.ตรีเข้ามามบี ทบาทและส่วนร่วมกับ
สถานประกอบการอย่างเข้มข้น เร่ิมต้นสรา้ งความเช่ือมโยงให้เกิดข้นึ ระหว่างสถานประกอบการ
และสถานศกึ ษา
3
ตารางท่ี 1 สภาวะของอุตสาหกรรมการผลติ และแนวทางแกป้ ญั หาดว้ ยโครงการ WiL
สภาวะของอตุ สาหกรรมการผลติ การแก้ปัญหาดว้ ยโครงการ WiL
ขาดแคลนแรงงานท่ีมีทักษะ มีความรู้ใน
ระดับปฏิบัติการ(Operator)รับสมัครผู้จบ ม.6
จากพื้นท่ีที่ไม่มีโรงงา นอุตสาหก รรมมา เข้ า
ขาดแคลนแรงงานท่ีมีทักษะ มีความรใู้ น โครงการโรงเรียนในโรงงานโดยทา้ งานในร ะดับ
ระดบั ปฏบิ ัตกิ าร (Operator) ปฏิบัติการในโรงงานและเรียนต่อระดบั ปวส. ใน
ตอนเยน็ หรือ เสาร์-อาทิตย์ ในหลักสตู รทวิภาคี
เพื่อสามารถนับงานเป็นส่วนหน่ึงของวิชาทีม่ ี
ชว่ั โมงปฏิบัติ
ขาดแคลนนกั วทิ ยาศาสตร์ นกั เทคโนโลยี รับสมัครผู้จบปริ ญญาตรี สายวิทยาศา ส ตร์
วิ ศ ว ก ร ท่ี มี ค ว า ม รู้ ทั ก ษ ะ ด้ า น ก า ร ผ ลิต เท ค โ นโ ล ยี วิศ วก ร รมมาเป็ นผู้ช่วยวิศวกร
กระบวนการและเทคโนโลยีช้ันสูง ทาหน้าท่ีครูในวิชาเทคนิค และให้เรียนต่อใน
ระดับปริญญาตรี ในตอนเย็น หรือ เสาร์-อาทิตย์
ในหลกั สูตรที่เรียนเสาร์-อาทิตย์ ใหน้ บั งานเป็น
ส่วนหน่ึงของวิชาเรียนแ ละท้าวิทยา นิพ นธ์
ในโรงงาน
1.4 โครงการ WiL แตกต่างจากการศึกษาในระบบปกติ
หลักของ WiL มงุ่ เน้นการสร้างความร้กู ารถ่ายทอด การใช้ความร้ทู ม่ี จี ากภาคอตุ สาหกรรมซ่ึง
เป็นความรูส้ มยั ใหม่ มมี ลู ค่าสูงและมีการจา้ งงานต่อในอนาคต โดยความรเู้ หล่าน้ไี มไ่ ด้อยใู่ นห้องเรียน
ท่วั ไปซ่งึ ในระดบั นักศึกษา ปวส. ความร้ทู เ่ี น้นมี 2 หวั ข้อหลกั คือ
1) เทคโนโลยกี ารผลิตสินค้าแตล่ ะขน้ั ตอน(Fabrication Technology)
2) ระบบการผลติ ในอุตสาหกรรม (Manufacturing System)
ดังน้นั เม่ือนักศกึ ษา ปวส. เขา้ รว่ มโครงการ WiLจะได้รับถา่ ยทอดความรู้ 3 แบบ ซ่งึ มีที่มาจาก
3 แหล่ง คือ
1. ความรูท้ ฤษฎีตามหลกั สูตร ปวส. จากวทิ ยาลัยเทคนคิ
2. ความรู้เชิงเทคนคิ ท่ีไดร้ บั จากการทา้ งานจริง จากสถานประกอบการ
4
3. ความรเู้ ฉพาะสาขาอตุ สาหกรรมท่ีเน้นในระดับ ปวส. WiL2 หัวขอ้ คือ (1) เทคโนโลยี
การสรา้ งสนิ ค้าแต่ละขนั้ ตอน และ (2) ระบบการผลิตในอุตสาหกรรม โดยในประเทศรายได้ปานกลาง
เช่น ไทย และมาเลเซยี นายจา้ งในภาคอุตสาหกรรม/สถานประกอบการ ตอ้ งการพนกั งานทม่ี คี วามรู้ครบ
ทงั้ 3 รปู แบบแตค่ วามรเู้ ฉพาะสาขาอุตสาหกรรมมคี วามสาคัญมากทส่ี ดุ (Doner,2018)
5
บทท่ี 2
ระบบโรงเรียนในโรงงาน (WiL)
2.1 ระบบโรงเรียนในโรงงานมีใครเก่ียวข้องบ้าง
เพ่อื ใหเ้ กิดการแกป้ ญั หาอย่างเป็นระบบและยง่ั ยนื ดังนน้ั ระบบโรงเรียนในโรงงาน จึงต้องการ
การมีสว่ นรว่ มจากฝัง่ “สถานประกอบการ” และ “สถานศึกษา” โดยจึงมผี ู้เก่ยี วข้องจาก 5 องค์ประกอบ
ดงั น้ี
รปู ที่ 3 องค์ประกอบทงั้ 5 ของระบบ WiLโรงเรียนในโรงงาน
องคป์ ระกอบหลักท่ี 1 สถานประกอบการในกลุม่ อุตสาหกรรมการผลิต
บทบาท: เป็นจุดเริ่มตน้ ของการเร่ิมดาเนินโครงการเนื่องจากเป็นฝ่ายที่มีปัญหาด้านกาลังคน
เป็นผสู้ นับสนุนคา่ ใช้จ่ายท้งั หมดเปรียบเสมือน“เจ้าของโครงการ”และเป็นผ้ทู ี่ไดร้ ับประโยชน์มากท่ีสุด
และจะสามารถช่วยแกป้ ัญหาด้านกาลังคนไดอ้ ยา่ งยง่ั ยืนหากสามารถดาเนนิ การไดเ้ องอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
หน้าท:ี่ เร่ิมตงั้ แตก่ ารวเิ คราะห์ความตอ้ งการแรงงานและความพรอ้ มของสถานประกอบการเอง
การจดั หาตา่ แหน่งงานทม่ี คี วามเหมาะสมโดยพจิ ารณารว่ มกบั สถานศึกษา การคดั เลอื กนกั ศึกษารว่ มกับ
สถานศึกษา สนับสนุนค่าธรรมเนียมการศกึ ษาและสวัสดิการอื่นๆ ตามข้อกา หนดของโครงการ
ประสานงานและอา้ นวยความสะดวกเพ่อื ให้เกิดกจิ กรรมตามแผนทไี่ ด้วา งไว้เพือ่ ให้เกดิ การถ่าย ทอด
ความร้แู ละทักษะเกีย่ วกบั อตุ สาหกรรมการผลติ
6
องคป์ ระกอบหลักที่ 2 สถาบนั อาชวี ศกึ ษา
บทบาท: เป็นตน้ สงั กดั ของนักศึกษา ปวส. เป็นได้ท้งั วิทยาลัยเทคนคิ หรือวิทยาลัยอาชวี ศึกษา
เป็นผ้รู บั ผิดชอบหลักในการดูแลและจัดการศึกษาระดับ ปวส. ตามหลักสตู รทวิภาคใี ห้มีมาตรฐา นตาม
เกณฑ์ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (สอศ.)
หน้าที่: จัดการศึกษาระดับ ปวส. ที่มีความสอดคล้องกับต่า แหน่งงานนักศึกษา ปวส.
โดยรว่ มกับสถานประกอบการในการพจิ ารณาและคัดเลอื กหลักสตู รและรายวชิ าท่ีเหมาะสม สนนั สนนุ
และอานวยความสะดวกให้อาจารย์วิทยาลยั เข้าสอนในสถานประกอบการและเข้าร่วมการประชุมของ
โครงการ รวมท้ังอ้านวยความสะดวกและสนับสนนุ ทรัพยากรเพอ่ื ใหก้ ารจัดการเรียนการสอนเป็นไปตาม
วตั ถุประสงคโ์ ครงการ
องคป์ ระกอบหลกั ท่ี 3 สถาบนั อดุ มศึกษา
บทบาท: เป็นต้นสงั กัดของนกั ศกึ ษา ป.ตรีซ่งึ ในระบบเรียกว่า “ผชู้ ่วยวศิ วกร” ดูแลและจัด
การศึกษาระดับปริญญาโทตามมาตรฐานของสา นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ร่วมวิเคราะหแ์ ละแกไ้ ขปัญหาของสถานประกอบการโดยการทาวทิ ยานพิ นธข์ องนกั ศกึ ษา ป.ตรี
หน้าท่ี: จัดการศึกษาระดับปริญญาโทตามหลักสูตรที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงานในส ถาน
ประกอบการ สนับสนนุ อาจารย์เข้ามามสี ว่ นรว่ มในโครงการทงั้ การสอน การดแู ลนักศึกษา การเข้าร่วม
การประชมุ ของโครงการ การให้ค้าปรึกษาและวเิ คราะห์ปญั หาร่วมกบั สถานประกอบการที่นา้ ไปสู่การทา้
งานวจิ ัยร่วมกันและการทา้ วทิ ยานพิ นธ์ อา้ นวยความสะดวกและสนบั สนนุ ทรัพยากรเพื่อใหก้ ารจัดการ
เรียนการสอนเป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
ผ้เู ก่ียวข้องใน 3 องค์ประกอบหลกั
1. ผู้จัดการโครงการ ฝัง่ สถานประกอบการ เป็นผ้ทู ี่ไดร้ ับมอบหมายจากสถานประกอ บการ
เพือ่ ให้รับผิดชอบโครงการโดยตรง ทาหนา้ ที่เป็นตวั แทนสถานประกอบการในการดูแลและบริ หาร
จดั การโครงการร่วมกับวิทยาลยั และมหาวิทยาลยั ผ่าน ผจู้ ัดการระดับ ปวส. และ ผู้จัดการระดับ ป.ตรี
เพือ่ ใหเ้ กดิ กิจกรรมตามท่ีไดว้ างแผนไว้ เป็นผตู้ ดิ ตามและประเมินผลการดา เนนิ โครงการเพ่ือราย งาน
ใหแ้ ก่ผู้บริหารของสถานประกอบการไดร้ ับทราบรวมทัง้ ร่วมกบั ตวั แทนของสถานศกึ ษาเพ่ือหาทางออก
และแก้ไขปญั หาต่างๆ ท่เี กิดข้นึ ระหว่างดาเนนิ โครงการฯ
2. ผจู้ ัดการโครงการ กลมุ่ นกั ศกึ ษา ปวส. ทา้ หน้าท่ีวางแผนประสานงานและบริหารจดั การด้าน
การเรียน การท้างาน และชีวิตความเป็นอยู่ขอ ง นักศึกษา ปวส. รวมท้ังแก้ไขปัญหา ต่า งๆ
ท่ีเกิดข้ึนให้โครงการดาเนินการไปตามแผนงาน อาจเป็นไดท้ ั้งอาจารยว์ ิทยาลยั หรือพนักงานของ
สถานประกอบการเอง
3. ผจู้ ัดการโครงการ กล่มุ นักศึกษา ป.ตรีทา้ หน้าท่ีเหมอื น ผ้จู ดั การ ปวส. แต่เน่ืองจากการศึกษา
ในระดบั ปริญญาโทต้องเกี่ยวขอ้ งกับงานวิจยั การทาวิทยานพิ นธซ์ ่งึ ต้องเป็นโจทยแ์ ละปัญหาที่มาจาก
สถานประกอบการ และมีความเข้มข้นทา งวิชาการ ในระดับ ท่ีสา มารถ เป็นวิทย านิพนธ์ ไ ด้
7
ดังน้ัน ผู้จัดการจึงต้องมีความเข้าใจท้ังฝ่ังสถานประกอบการและสถานศึกษา อาจเป็นได้ทั้งอาจารย์
มหาวิทยาลยั หรือพนักงานของสถานประกอบการเอง
องค์ประกอบเสริม
องคป์ ระกอบเสริมท่ี 1 โรงเรียนตวั ป้อน (หมายเลข 4) เป็นแหล่งผลิตนกั เรียน/นักศึกษาระดับ
มธั ยมศึกษาศกึ ษาปีที่ 6 นกั ศกึ ษา ปวช. หรือเทยี บเทา่ มที ้ังโรงเรียนมธั ยมปลายและวทิ ยาลัยตา่ งๆ โดยมี
ครแู นะแนวเป็นผู้ส่ือสารขอ้ มูลโครงการเน้นไปยงั นักเรียน/นักศกึ ษากลุ่มเป้าหมาย รวมทงั้ ผู้ปกครอง
รวมทง้ั ยงั ช่วยตดิ ตามผลประโยชน์ของนักศกึ ษาขณะท่ีเข้าร่วมโครงการอีกดว้ ย
องค์ประกอบเสริมที่ 2 ระบบประกนั คุณภาพ (หมายเลข 5)เป็นบทบาทของหน่วยงานที่มี
หน้าที่ตดิ ตามและประเมินผลการดาเนินโครงการเพือ่ ให้การดาเนินโครงการเป็นไปตามวัตถุประส งค์
ยนื ยนั ว่าทกุ ฝ่ายได้รับคุณคา่ และสร้างคุณคา่ ให้เกดิ ข้ึนจริง ในบางกรณีอาจมีหน้าทีใ่ นการรับรองการผา่ น
มาตรฐานโครงการ ปัจจบุ นั สวทน. ดาเนนิ การในบทบาทน้คี วบค่กู บั การออกแบบและพัฒนาโครงการ
ในอนาคตจะต้องมีหน่วยงานทม่ี าท้าหนา้ ที่เตม็ รูปแบบตอ่ ไปแตเ่ พอ่ื ใหเ้ กิดความยง่ั ยืนการสรา้ งให้เกดิ การ
ตรวจสอบระหว่างหน่วยงาน (Self-regulation)โดยผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี ในระบบเองจะเป็นระบบควบคุม
คณุ ภาพที่ดที ี่สุด
บริษัทจัดการโครงการ ในกรณีที่หน่วยงานในองค์ประกอบหลักทั้ง 3 องค์ประกอบ
ยงั ไม่สามารถให้บริการดา้ นการอ้านวยความสะดวกในส่วนของนักศึกษา ปวส. และนักศึกษา ป.ตรี
ได้ ซ่งึ อาจเป็นในชว่ งเริ่มต้นโครงการบริษัทจัดการโครงการจะเข้ามาดา เนินการใหโ้ ดยได้รบั คา่ จัดจ้าง
จากสถานประกอบการในอัตราทีเ่ หมาะสมและ00เป็นค่าใช้จ่ายในการท้าโครงการเพมิ่ เติมไมใ่ ชก่ ารหัก
จากค่าแรงงานที่นกั ศึกษา
2.2 บทบาทและหน้าทข่ี องนักศึกษา
บทบาทหน้าที่
1. นกั ศกึ ษาปวส.
(1.1) ทา้ งานหรือปฏิบตั ิหนา้ ท่เี หมอื นพนกั งานปกต/ิ พนักงานรายวัน/พนักงานปฏิบัตกิ าร
(1.2) เรียน ปวส. ในชว่ งเย็นหรือวันหยดุ โดยเนน้ ความรดู้ า้ นระบบการผลิตและเทคโ นโลยี
ผลิตภัณฑ์ในรายวิชาทีน่ ักศึกษา ป.ตรีได้รับมอบหมายใหเ้ ป็นผสู้ อน ซ่งึ จะเป็นรายวชิ าทีบ่ รู ณาการเน้ือหา
จากสถานประกอบการเขา้ กบั ทฤษฏที เ่ี ก่ียวขอ้ ง เป็นการทวนสอบสิง่ ทนี่ กั ศึกษาไดเ้ รียนรจู้ ากการท้างาน
ในตา้ แหน่งนัน้ ๆ เป็นการเรียนจาก “สิ่งที่ทา” ซ่งึ จะท้าใหน้ กั ศกึ ษาสามารถเรียนรูแ้ ละเข้าใจบทเรียน
ไดง้ า่ ย เพราะร้วู า่ นา้ ไปใชใ้ นการท้างานไดอ้ ยา่ งไร
(1.3) ท้างานร่วมกบั ผู้ควบคมุ งานและวิศวกร ในต่าแหนง่ ผู้ชว่ ยวิศวกร/ผชู้ ่วยหัวหนา้ แผนก
8
(1.4) ถอดความร้เู ป็นบทเรียนโดยการสงั เคราะห์ความรทู้ ่ีได้รับจากการปฏบิ ัติงานร่วมกับ
วิศวกร หรือหวั หนา้ แผนกในโรงงาน เป็นความรูท้ ี่ไม่ใชค่ วามลบั นา้ มาจัดท้าเป็นบทเรียนทเี่ หมาะสมกับ
นกั ศกึ ษา ปวส. และถ่ายทอดให้ผ่านการสอนในรายวิชาทไี่ ด้รับมอบหมาย ซ่งึ ความรดู้ งั กล่าวถือ เป็น
ความรทู้ ่ีสามารถถ่ายทอดสวู่ ิทยาลยั เทคนคิ ได้เช่นกันเพ่อื ประโยชนท์ างการศกึ ษาน้าไปสู่การปรับ ปรุง
หลกั สูตรให้สามารถผลติ นกั ศกึ ษาไดต้ รงตามความต้องการของสถานประกอบการต่อไป
(1.5) เรียนปริญญาตรีนักศึกษาไดร้ บั ความรพู้ ้นื ฐานทส่ี อนโดยอาจารยม์ หาวทิ ยาลยั และความรู้
ที่ได้จากการปฏิบัตงิ านจริงร่วมกบั วศิ วกรหรือหัวหน้าแผนกในโรงงาน ซ่ึงต้องมีการบริหารจัดการ
ร่วมกันระหว่างผจู้ ัดการโครงการ มหาวิทยาลยั และสถานประกอบการ โดยมีเปา้ หมายเพอ่ื การทาวิจัยช่วย
แก้ไขปัญหาของสถานประกอบการ
2.3 คุณสมบัติพื้นฐานของนักศึกษา
นักศึกษา ปวส. โครงการ WiLเข้าปฏบิ ัตงิ านและเรียนในสถานประกอบการตลอดระยะเวลาของ
หลักสูตร 2 ปี มีข้อกาหนดคุณสมบตั พิ น้ื ฐาน ดงั น้ี
• อายุครบ 18 ปี บริบรู ณเ์ มอ่ื เข้าโรงงาน
• สาเรจ็ การศึกษาระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ทุกแผนการเรียนหรือเทียบเท่า (พจิ ารณาร่วมกับ
คุณสมบัติของพนักงานต่าแหน่งน้นั ๆ ทีส่ ถานประกอบการรับเขา้ ทางาน)
• เช้อื ชาติไทย สญั ชาติไทย
• สุขภาพรา่ งกายแข็งแรงไม่มีโรคประจา้ ตวั ร้ายแรง และตาไมบ่ อดสี
• ไมย่ ุ่งเกยี่ วยาเสพติดใหโ้ ทษตามกฎหมาย
• มรี ะเบยี บวนิ ยั สามารถปฏิบัตติ ามกฎขอ้ บังคับของโรงงานอุตสาหกรรมได้
• มคี วามอดทน สามารถเรียนในโรงงานเป็นเวลา 2 ปีได้
ท้ังน้ี คุณสมบัติของนักศึกษาจะมีรายละเอยี ดทีแ่ ตกต่างกันออกตามรายโครงการข้นึ อยู่กบั
ต่า แ หน่งงา นที่นัก ศึก ษา เข้า ปฏิบัติงา นและเก ณฑ์ก ารคั ดเลือ กนักศึกษ าข องวิท ยาลัย เช่น
บางสถานประกอบการมขี อ้ กาหนดเรื่องเพศ ความสูง น้าหนักของนักศกึ ษา เป็นต้น
9
2.4 ข้อกาหนด/กฎ/ระเบยี บสาหรบั นักศึกษา WiL
จากระบบ WiLนกั ศกึ ษา ปวส. จะอยูภ่ ายใต้การดูแลของท้ังสถานประกอบการและวิทยาลัย
อาชีวศึกษาการใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในสถานประกอบการเพื่อท้างานและเรียนและไดร้ ับสวัสดกิ าร
ดา้ นทพ่ี กั ซ่งึ มีสถานประกอบการเป็นผจู้ ดั เตรียมให้ ดงั นัน้ นกั ศกึ ษาจึงต้องปฏบิ ัตติ นตามขอ้ กาหนด/กฎ/
ระเบยี บของสถานศกึ ษา สถานประกอบการ และหอพกั โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี
1. สถานประกอบการ กฎ/ระเบียบสว่ นใหญเ่ ก่ยี วข้องกับการทางานเป็นหลกั นักศึกษาจะอยู่
ภายใตก้ ฏ/ระเบยี บเดยี วกันกับพนักงานท่ัวไป ไมว่ า่ จะเป็นการบนั ทึกเวลาเข้า -ออกงาน ข้อกาหนดการ
แต่งกาย ขั้นตอนการลากิจ ลาป่ วย การปฏบิ ัติตามมาตรฐานความปลอดภัยขั้นพื้นฐานของสถาน
ประกอบการการลงโทษทางวินยั ขอ้ กาหนดโครงการโรงงานสีขาวซ่งึ เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไข
ปญั หายาเสพตดิ เป็นต้น
2. สถานศึกษา กฎ/ระเบยี บจะเกี่ยวข้องกบั การจัดการเรียนการสอน เช่น นักศึกษาต้องเข้าชั้น
เรียนอยา่ งน้อยรอ้ ยละ 80 ของเวลาเรียนทัง้ หมดจงึ จะผ่านการเรียนในวชิ าน้ันๆ และพฤติกรรมและความ
ประพฤตขิ องนกั ศกึ ษาตามขอ้ กาหนดดา้ นความประพฤตติ ามข้อกาหนดของกฎกระทรวงว่าดว้ ยเร่ือง
ความประพฤติของนกั เรียนและนกั ศึกษา พ.ศ. 2548 เชน่ นักศกึ ษาต้องไมเ่ ลน่ การพนัน นกั ศึกษาต้องไม่
จัดใหม้ ีการเล่นการพนันหรือมั่วสุมในวงการพนันนักศึกษาต้องไม่ซื้อ จา้ หนา่ ย แลกเปลยี่ น เสพสุราหรือ
เคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล์ สงิ่ มนึ เมา บุหรี่ หรือยาเสพติด เป็นตน้
3. หอพกั กฎ/ระเบยี บสว่ นใหญจ่ ะเนน้ ดา้ นความปลอดภัยของผู้พักอาศยั และมารยาทในการอยู่
ร่วมกัน เชน่ การกาหนดเวลาเขา้ -ออกหอพกั ข้อกาหนดเกย่ี วกับเครื่องใชไ้ ฟฟ้าและการประกอบอาหาร
ในหอพกั ขอ้ กาหนดตา่ งๆ ตามสญั ญาเช่าหอพัก เป็นต้น
ทง้ั น้ี ข้อกาหนด/กฎ/ระเบียบท้ังหมดจะแตกต่างกันไปในแตโ่ ครงการตามสถานประกอบการ
และสถานศึกษาที่เขา้ ร่วม ในกรณที นี่ กั ศึกษาไดก้ ระท้าผิดกฎ/ระเบียบข้นั รา้ ยแรง กระบวนการสอบสวน
และพิจารณาบทลงโทษจะอยู่ในดลุ ยพนิ ิจร่วมกนั ระหว่างสถานประกอบการและสถานศึกษา
10
2.5 ประโยชน์ทน่ี ักศึกษาจะได้รับจากการปฏิบตั งิ าน
1. ได้รับประสบการณ์วิชาชีพตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจาการเรียน
ในห้องเรียน
2. เกดิ การเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเอง การทางานรว่ มกบั ผู้อ่ืน ความรับผิดชอบ และมีความมนั่ ใจ
ในตนเองมากข้นึ ซ่งึ เป็นคุณสมบัตทิ ่พี งึ ประสงคข์ องสถานประกอบการ
3. ส่งผลใหม้ ีผลการเรียนดีข้นึ ภายหลังการปฏิบัติงาน เนื่องดว้ ยมีความเขา้ ใจในเน้ือหาวชิ ามาก
ข้ึนจากประสบการณป์ ฏบิ ัตงิ านจริง
4. เกดิ ทกั ษะการสอ่ื สารขอ้ มูล (Communication Skill)
5. ได้รับค่าตอบแทนการปฏิบตั งิ าน
6. สามารถเลอื กสายอาชพี ไดถ้ ูกต้องเนอื่ งจากได้รับทราบความถนัดของตนเองมากข้ึน
7. สาเรจ็ การศกึ ษาเป็นบณั ฑิตทม่ี ีศักยภาพในการทางานมากกวา่ และมีโอกาสได้รับการ เสนอ
งานก่อนสาเร็จการศกึ ษา
11
บทท่ี 3
บทบาทหน้าที่ของนกั ศกึ ษาและอาจารยท์ ีป่ รกึ ษา
3.1 บทบาทวิชาวศิ วกรรมการผลิตอตั โนมัติ
ภาควิชาวิศวกรรมการผลิตอัตโนมัติ ได้มุ่งทาหน้าที่พัฒนารูปแบบระบบการศึก ษ า
โครงการ WiLรบั ผิดชอบประสานงานระหวา่ งนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา และสถานประกอบการและ
ดาเนินกิจกรรมในการเตรียมความพร้อมนักศึกษาสาหรับไปปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ
โดยมีบทบาทจัดการหลักสูตรวชิ าท่ีผสมผสานระหว่างงานเชิงวิศวกรรมกับการจัดการทางดา้ น
สารสนเทศด้านวิชาต่างๆ อาทิเชน่
หมวดวิชาเฉพาะ
ประกอบด้วย 1) กลุ่มวิชาพน้ื ฐานทางคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์และวิศวกรรม
1. IAE101 คณติ ศาสตร์วิศวกรรม 1-2 รหัสวิชา 3(3-0-6)
Engineering Mathematics 1
ลิมิตและความต่อเน่ือง การหาอนุพันธแ์ ละการอินทิเกรตฟังกช์ ันค่าจริง และการประยุกต์
เทคนคิ การอินทเิ กรต อนิ ทิกรัลไมต่ รงแบบ ลาดบั และอนุกรม การกระจายอนกุ รมเทย์เลอร์ของฟังก์ชัน
มูลฐานอนุกรมฟูเรียร์ เรขาคณิตวิเคราะห์ พิกัดเชิงขั้ว สมการอิงตวั แปรเสริม พีชคณิตของเวกเตอร์
เส้นตรง ระนาบและพื้นผิวในปริภมู ิสามมิติ
2. เขยี นแบบวิศวกรรม รหสั วิชา 3(2-2-5)
Engineering Drawing
มาตรฐานของงานเขียนแบบ การเขยี นอักษร ภาพเปอรส์ เปคทีฟ ภาพฉายออรโ์ ธกราฟฟิก
ภาพตัดและสัญนิยม การบอกขนาด การเขียนแบบงานประกอบ พิกัดความเผ่ือ เส้นตรงและ
ระนาบภาพช่วย การหมุนรอยตัด การคล่ี การสเกตซ์ภาพด้วยมือ การเขียนแบบด้วยโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์พ้ืนฐาน
12
2) กลุ่มวิชาวศิ วกรรมการผลิตอัตโนมตั ิ
1. IAE308 การวางแผนและการควบคมุ การผลิต รหัสวิชา 3(3-0-6)
Production Planning and Control
ระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต ได้แก่ เทคนคิ การพยากรณ์ การจดั การวัสดุค งค ลัง
การวิเคราะห์ต้นทุนและกาไรเพื่อการตัดสินใจ การกาหนดตารางการผลิต การควบคุมการผลิต
การจัดสมดลุ สายการผลิตเทคนคิ สมัยใหม่ในการวางแผนและควบคมุ การผลิต และกรณีศึกษา
2. IAE309 การออกแบบโรงงานอตุ สาหกรรม รหัสวชิ า 3(3-0-6)
Industrial Plant Design
การวเิ คราะห์เบอ้ื งต้นสาหรบั การออกแบบแผนผัง ปัญหาการจดั วางแผนผงั การวิเคราะห์ทาเล
ทตี่ ั้งการออกแบบตามหลักเศรษฐศาสตร์ รปู แบบพนื้ ฐานของการจดั วางแผนผัง การจดั วางส่งิ อานวย
ความสะดวกการขนถา่ ยลาเลยี งคลงั สินคา้ และกฎหมายการออกแบบผังโรงงาน
รูปที่ 4 หลักสูตรสร้างอาชพี โครงการ WiLโรงเรียนในโรงงาน
ทมี่ า: สานกั ขา่ วสยามรัฐ,ออนไลน์
ดังน้ัน บทบาทวิชาวิศวกรรมการผลิตอัตโนมัติ จัดเป็นภาควิชาผลกระทบต่อ ธุร กิจ
ภายในประเทศในทุกระดบั ในปจั จุบัน โดยการผลติ บุคลากรทางวิศวกรรมการผลติ ที่มีความพรอ้ มท่ีจะ
ปฏบิ ัติงานในอุตสาหกรรมการผลิตและบริการ และมคี วามเขา้ ใจในสถานการณ์ทางธรุ กิจสามารถนาหรือ
พัฒนาเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมเขา้ มาใชใ้ ห้เป็นขอ้ ได้เปรียบ หรือเครื่องมือท่ีสรา้ งความสามารถในกิจการ
ธุรกิจ รวมถึงการดูแลกากบั ให้องค์กรสามารถทางานอย่างมีประสทิ ธิภาพ มคี วามสามารถในการปรับตวั
เรียนรเู้ ทคโนโลยใี หม่เพอื่ ประยกุ ตใ์ ช้กับองค์กรธุรกจิ และมีคุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ
13
3.2 บทบาทและภาระหน้าทีค่ ณะกรรมการประจาวิชา
1. ภาควิชาสาขาวิชาวิศวกรรมการผลิตอตั โนมัติ รับผิดชอบการบริหารและดาเนินงาน
โครงการ WiLของคณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครินทร์ โดยมีหน้าท่ดี ังน้ี
2. พัฒนาระบบการจัดการศึกษารายวชิ าโครงการ WiLของภาควิชา
3. เสนอหลกั เกณฑ์ แนวปฏิบัตทิ ีเ่ ก่ียวข้องกับโครงการ WiLเพ่ือเสนอต่อคณะกรรมการบริหาร
ภาควิชาสาขาวิชาวศิ วกรรมการผลติ อตั โนมตั ิ
4. ประสานงานทีเ่ กย่ี วข้องกบั โครงการ WiLกบั คณะ
5. ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนินงานโครงการ WiLของแต่ละหลกั สตู รจดั ทารายงานสรุป
เพ่อื เสนอต่อคณะกรรมการบริหารภาควชิ าสาขาวชิ าวศิ วกรรมการผลิตอตั โนมัติ
6. รับสมัครและคดั เลือกนักศึกษาท่จี ะเข้าร่วมโครงการ WiL โดยประสานงานกบั สถาน
ประกอบการ
7. พิจารณาจัดหา ติดต่อหรือเสนอแนะและให้ความเห็นชอบรายช่ือสถานประกอบการท่ี
ดาเนนิ กิจการสอดคล้องกับหลักสูตร และเป็นประโยชน์กับนกั ศึกษาในการเข้ารว่ มโครงการ
8. จดั กิจกรรมการปฐมนเิ ทศ การเตรียมความพรอ้ ม การนเิ ทศ และการสัมมนาผลงานของ
นกั ศึกษาโครงการ WiLในหลกั สูตร
9. กาหนดให้มคี ณะกรรมการดาเนนิ การและอาจารย์ท่ีปรึกษาโครงการ WiL เพื่อให้คาแนะนา
และประสานงานกบั นักศึกษา และสถานประกอบการทงั้ น้ใี หเ้ ป็นไปตามท่ภี าควชิ ากาหนด
10. จัดสมั มนาปจั ฉมิ นเิ ทศโครงการ WiL
11. พิจารณาเหน็ ชอบผลการประเมนิ รายวิชาโครงการ WiLของนกั ศกึ ษา
12. ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานจัดการศึกษารายวิชาโครงการ WiL และสรุปผลรายงานต่อคณะ
กรรมการบริหารภาควชิ าสาขาวชิ าวศิ วกรรมการผลติ อตั โนมัติ
3.3 บทบาทและหนา้ ทีข่ องอาจารย์ท่ปี รึกษาโครงการ WiL
ในการดาเนินงานของโครงการโครงการ WiLและพัฒนาอาชีพให้สาเร็จลุล่วงด้วยดีนั้น
มคี วามจาเป็นอยา่ งย่ิงท่ีจะตอ้ งมีผูแ้ ทนคณาจารยภ์ าควิชาท่ีมีนักศึกษาไปปฏิบตั ิงาน เพื่อทาหน้าที่ให้
คาปรึกษาแก่นักศึกษาโครงการ WiL และประสานงานระหว่างนักศึกษ ากับสถานประกอบการ
นกั ศึกษาจะมีอาจารย์ท่ีปรึกษาโครงการ 1 คน และอาจารยท์ ีป่ รึกษารว่ มตามความเหมาะสม อาจารย์ที่
ปรึกษามหี น้าท่ีดังน้ี
14
1. จัดหา เสนอแนะ และประสานงานกบั สถานประกอบการในการกาหนดรายละเอียดและ
มอบหมายการปฏิบตั งิ านใหน้ ักศกึ ษาโครงการ
2. ร่วมพิจารณาคัดเลือกให้นักศกึ ษาเข้าโครงการ WiL และอนุมัติให้นกั ศึกษาลาออกจาก
โครงการได้
3. ให้คาแนะนาปรึกษาการลงทะเบียนรายวิชา โครงการWiL และกิจกรรมโครงการ
ในทุกด้าน
4. ร่วมมือกับคณะกรรมการรายวชิ าในการจัดหางานสาหรับนกั ศกึ ษา
5. รบั รองคณุ ภาพงานทไ่ี ด้รับการเสนอจากสถานประกอบการ
6. ประสานงานการจดั กจิ กรรมโครงการกบั คณะกรรมการรายวชิ า
7. ออกนเิ ทศงานระหว่างท่นี ักศึกษาปฏบิ ตั ิงาน
8. ร่วมกับคณะกรรมการรายวิชา และพนักงานท่ีปรึกษาประเมินผลนักศึกษาในรายวิชา
โครงการ
3.4 บทบาทและภาระหน้าทขี่ องนกั ศึกษาโครงการ WiL
3.4.1 คณุ สมบตั นิ ักศกึ ษาโครงการ WiL
1. มสี ถานภาพเป็นนกั ศึกษาช้ันปีที่ 4 ข้ึนไป
2. ไดศ้ ึกษารายวิชาในหลักสตู รครบตามเงือ่ นไขทีห่ ลกั สตู รกาหนด
3. ได้ผา่ นการลงทะเบยี นเรียนรายวิชาโครงการสาขาวิชาวศิ วกรรมการผลติ อัตโนมตั ิแลว้
4. มรี ะดับคะแนนเฉล่ยี สะสมไม่ต่ากว่า 2.75 ในภาคการศึกษาครบตามเงอ่ื นไข
หลกั สตู รกอ่ นไปปฏบิ ัติงานโครงการ
5. มีความประพฤตเิ รียบร้อย ไมเ่ คยตอ้ งโทษวนิ ัยนักศึกษาเนือ่ งจากความประพฤติ
เสอ่ื มเสยี
6. ได้รับความเหน็ ชอบจากอาจารยท์ ่ปี รึกษาใหส้ มคั รเรียนรายวชิ าโครงการ WiL
7. มคี ุณสมบัตอิ น่ื ตามทค่ี ณะกาหนด
3.4.2 หน้าท่ีของนกั ศึกษาโครงการ WiL
1. นักศกึ ษาโครงการ WiLจะตอ้ งรบั ผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเข้ารว่ มโครงการเอง
2. ติดตามขา่ วสารการจดั หางานและประสานกบั คณะกรรมการตลอดเวลา
3. ต้องเข้าร่วมกิจกรรมท่ีภาควิชาดาเนินการเก่ียวกับโครงการ WiL ได้แก่ การปฐมนิเทศ
การอบรมเตรียมความพร้อมและการนาเสนอผลงาน เป็นต้น
15
4. ตอ้ งรายงานเขา้ ปฏิบัตงิ าน ณ สถานประกอบการท่ีไดร้ บั การคัดเลอื ก ตามวัน เวลาทส่ี ถาน
ประกอบการกาหนด หรือภาควชิ ากาหนด
5. ตอ้ งปฏิบัตงิ านเสมอื นหน่งึ เป็นพนักงานหรือผู้ปฏบิ ัตงิ านของสถานประกอบการ
6. ต้องปฏิบตั ิตนตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของสถานประกอบการอย่างเครง่ ครัด
7. ต้องปฏิบัตงิ านในหนา้ ท่รี ับผิดชอบท่ไี ดร้ บั มอบหมายโดยภาระหน้าที่ของนักศึกษา
โครงการ WiL จะกาหนดโดยสถานประกอบการรว่ มกับอาจารย์ทีป่ รึกษาโครงการ เพื่อให้นกั ศึกษา
ปฏิบตั ิงานทเ่ี หมาะสม สอดคลอ้ งกับหลักสตู รและความรู้ความสามารถของนกั ศกึ ษา
8. การลาหยุดระหวา่ งปฏิบตั ิงาน ให้เป็นไปตามแนวปฏบิ ัติทสี่ ถานประกอบการกาหนด
9. ต้องจัดทารายงานผลการปฏิบัตงิ านตามท่ีหลกั สตู รกาหนด เสนอต่อพนักงานทป่ี รึกษา
อาจารย์ทปี่ รึกษาโครงการ
10. การขอเปล่ยี นแปลงหรือยกเลิกการเขา้ ร่วมโครงการ WiL นักศกึ ษาที่ไดร้ บั การคัดเลือกให้
เข้าร่วมโครงการจะขอ เปล่ียนแ ปล งหรื อยก เลิกกา รเข้าร่วมโค รงการไ ม่ได้ เว้นแต่กรณีท่ีมี
ความจาเป็นอยา่ งย่ิง
11. การขอเปลีย่ นแปลงหรือยกเลกิ การเขา้ รว่ มโครงการ WiL จะต้องดาเนินการกอ่ นได้รับแจ้ง
จากสถานประกอบการ หรือกอ่ นการเร่ิมปฏิบัตงิ าน
12. กรณีที่นักศึกษาได้เริ่มปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการแล้ว และประสงค์จะขอกลบั
มหาวทิ ยาลัยก่อนกาหนดหรือขอเปล่ยี นแปลงด้วยเหตุใดๆ ทีม่ ีความจาเป็นอยา่ งยิ่งให้คณะกรร มการ
บริหารภาควชิ าเป็นผู้พจิ ารณากลนั่ กรองและอนุมัติ
13. นักศึกษาท่ีได้รับอนุมัติให้ยกเลิกการเข้าร่วมโครงการแล้ว จะไม่มีสิทธ์สิ มัครเข้ารว่ ม
โครงการอกี เว้นแตไ่ ดก้ าหนดให้เป็นรายวิชาบังคับในหลกั สูตร
3.4.3 ข้อแนะนาในการปฏบิ ัตงิ าน
1. หมั่นฝึกฝนและเพม่ิ พนู ความรู้ทางวิชาการอย่างตอ่ เนอื่ งกอ่ นไปปฏบิ ตั งิ านโครงการ
2. ต้งั ใจปฏิบัติงานทไี่ ด้รับมอบหมายจากพนักงานที่ปรึกษาอย่างเต็มกาลงั ความสามารถ
3. ปฏิบตั ิตนอยู่ในระเบียบวนิ ัยหรือข้อบงั คบั ของสถานประกอบการ ไมฝ่ ่าฝืนและละเลย
4. หลกี เล่ยี งการทะเลาะเบาะแว้งในสถานประกอบการทุกกรณี
5. ติดต่อส่งเอกสารท่ีกาหนดและให้ข่าวสารการปฏิบัติงานของตนเองกับอาจารยว์ ิชา
โครงการ WiLตลอดเวลาทปี่ ฏบิ ัตงิ าน ณ สถานประกอบการ
6. หากมีปัญหาในการปฏิบตั งิ านจะต้องรีบติดตอ่ อาจารยท์ ่ีปรึกษาโครงการ WiL หรืออาจารย์
วชิ าโครงการโดยทันที
16
3.4.4 ขอ้ ควรพจิ ารณาในการเลอื กงานสหกจิ
ที่ต้ังสถานประกอบการ
- การหาที่พัก
- การเดนิ ทางไป-กลับ
- ความปลอดภัย
- ในเมอื ง / นอกเมือง
- การหาข้อมลู หรือ การตดิ ต่อ
ขนาดขององค์กร หรอื บรษิ ัท
- องค์กรขนาดใหญ่ / กลาง / เลก็ หรือ SMEs
ช่ือเสียง / ความพร้อมของบริษทั
- ประสิทธภิ าพในการบริหารงาน
- Job Supervisor
- Facilities ตา่ ง ๆ เชน่ ห้องปฏิบตั กิ าร, เคร่ืองมือวเิ คราะห์
- เทคโนโลยีใหม่ ๆ
- ไดโ้ อกาสในการสมัครเขา้ ทางาน/ ได้ประวตั ิการทางาน
ลกั ษณะงานทีเ่ สนอ
- ตรงกบั ความสนใจหรือไม่
- มีอาจารย์ในภาควิชาทเี่ ชยี่ วชาญในเรื่องนัน้ ๆ หรือไม่
- ความชดั เจนของลกั ษณะงาน ขอบเขตความรบั ผดิ ชอบ
- มีคณุ สมบัตติ รงลักษณะงานทก่ี าหนดหรือไม่ (สุขภาพ, โรคประจาตัว
คา่ ตอบแทน
- ยตุ ิธรรม หรือไม่
17
3.5 กจิ กรรมระหว่างการปฏิบัติงาน
นักศึกษาจะต้องส่งเอกสารใหแ้ ก่โครงการฯ ในระยะเวลาที่กาหนด ดังน้ี
สปั ดาห์ท่ี 1
* แบบแจง้ ยืนยนั การรายงานตวั นกั ศกึ ษาโครงการ WiL (CS-CE-09)
* แบบแจง้ รายละเอยี ดทีพ่ กั ระหว่างการปฏบิ ตั ิงานโครงการ WiL (CS-CE-02)
* แบบแจง้ รายละเอียดงาน ตาแหนง่ งานและพนักงานท่ีปรึกษา (CS-CE-03)
สปั ดาห์ท่ี 2
* แบบแจง้ แผนการปฏบิ ตั งิ านโครงการ WiL (CS-CE-10)
สปั ดาห์ที่ 3
* แบบแจง้ โครงรา่ งรายงาน การปฏิบัติงาน (CS-CE-11) หากมขี อ้ ขัดขอ้ งประการใดที่
ทาให้ไม่สามารถจัดส่งเอกสารได้ตามกาหนดเวลา จะต้องแจ้งอาจารย์ท่ีปรึกษาหรือเจ้าหนา้ ท่ี
โครงการทนั ที
* นกั ศึกษาต้องส่งรายงานท่ีเสรจ็ สมบรู ณใ์ หแ้ กพ่ นักงานทปี่ รึกษาอยา่ งน้อย 2 สปั ดาห์
กอ่ นเสร็จส้ินการปฏิบตั งิ าน
3.6 กจิ กรรมหลังเสร็จสน้ิ การปฏบิ ัตงิ าน
1. เขา้ รบั การสัมภาษณโ์ ดยอาจารย์ทีป่ รึกษาโครงการ WiL
2. นาเสนอผลงานหรือโครงงานต่อหนา้ คณะกรรมการ อนั ประกอบดว้ ยอาจารย์ทีป่ รึกษา
โครงการ WiL กรรมการกลาง พนกั งานท่ปี รึกษา
3. จัดบอร์ดประชาสมั พันธ์งานท่ีนกั ศกึ ษาได้ปฏิบัติ
4. ส่งบทความทางวิชาการ ซ่งึ สรุปจากรายงานวิชาการเพอ่ื เสนอตอ่ อาจารยท์ ่ีปรึกษา
18
3.7 ประโยชนท์ ีน่ กั ศกึ ษาจะได้รบั จากการปฏิบตั งิ านโครงการ WiL
รปู ที่ 4 องค์ประกอบของระบบ WiL โรงเรียนในโรงงาน
1. ไดร้ ับประสบการณว์ ิชาชพี ตามสาขาวชิ าท่ีเรียนเพ่ิมเตมิ นอกเหนอื ไปจาการเรียนในหอ้ งเรียน
2. เกดิ การเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเอง การทางานรว่ มกับผอู้ ืน่ ความรับผดิ ชอบ และมคี วามมัน่ ใจ
ในตนเองมากข้นึ ซ่งึ เป็นคณุ สมบัตทิ ีพ่ ึงประสงค์ของสถานประกอบการ
3. ส่งผลใหม้ ีผลการเรียนดขี ้นึ ภายหลังการปฏบิ ตั งิ าน เน่ืองด้วยมีความเข้าใจในเน้ือหาวชิ ามาก
ข้นึ จากประสบการณ์ปฏบิ ตั ิงานจริง
4. เกดิ ทกั ษะการสื่อสารขอ้ มลู (Communication Skill)
5. ได้รบั คา่ ตอบแทนการปฏิบัติงาน
6. สามารถเลือกสายอาชีพไดถ้ ูกตอ้ งเนอ่ื งจากได้รับทราบความถนดั ของตนเองมากข้ึน
7. สาเรจ็ การศึกษาเป็นบัณฑิตที่มศี กั ยภาพในการทางานมากกวา่ และมโี อกาสได้รบั การ เสนอ
งานกอ่ นสาเรจ็ การศึกษา
19
บทที่ 4
บทบาทสถานประกอบการกับโครงการ WiL
โครงการ WiL (Cooperative Education) มีรูปแบบและขัน้ ตอนท่จี าเป็นจะต้องอาศยั ความ
ร่วมมอื อย่างใกล้ชิดจากสถานประกอบการ โดยเฉพาะพนกั งานฝ่ายบุคคลหรือฝ่ายบริหารทรัพยากร
มนษุ ย์และพนกั งานที่ปรึกษา ( Job Supervisor) ซ่งึ จะเป็นที่สถานประกอบการมอบหมายใหก้ ากับและ
ดูแลนกั ศกึ ษา ในระหว่างการปฏิบตั งิ าน เนือ่ งจากเป็นวธิ กี ารผสมผสานการเรียนในหอ้ งเรียนรว่ มกบั การ
ปฏบิ ัตงิ านจริงในสถานประกอบการ
ดงั น้นั จงึ มคี วามจาเป็นอย่างยิ่งทตี่ ้องให้บุคลากรของสถานประกอบการได้รับทราบข้อ มูล
พืน้ ฐานเกยี่ วกับบทบาทหน้าที่ในการสนับสนนุ และส่งเสริมการปฏิบัติงานของนักศึกษา เพอ่ื ใหก้ าร
ปฏิบตั ิงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามที่กาหนดไว้ และนักศกึ ษาไดป้ ฏบิ ตั ิงานท่ีเป็นประโยชน์ต่อ
สถานประกอบการมากท่สี ดุ ดังน้ี
4.1 ฝ่ ายบริหารงานบคุ คล/ฝ่ ายทรพั ยากรบุคคล
โดยท่วั ไปจะทาหนา้ ทป่ี ระสานงานการรับนกั ศึกษามาปฏิบัตงิ าน ณ สถานประกอบการฝ่าย
บริหารงานบคุ คลหรือทรัพยากรมนษุ ย์ เป็นผู้ให้คาแนะนาและอธิบายแนวคดิ เกย่ี วกับโครงการ WiLแก่
ผบู้ ริหารของสถานประกอบการ บุคลากร พนกั งานทปี่ รึกษาของนกั ศกึ ษา และทาหนา้ ทใ่ี ห้คาปรึกษาแก่
นกั ศึกษาในหัวขอ้ ต่อไปน้ี
4.1.1 ดา้ นระเบียบวนิ ยั ฝ่ายบริหารงานบุคคลจะกาหนดให้นกั ศึกษาปฏบิ ัติตนตามระเบียบ
การบริหารงานบุคคลของสถานประกอบการนั้นๆ เสมือนหน่ึงเป็นพนักงานหรือผปู้ ฏบิ ัติงาน เชน่
กาหนดเวลาเขา้ ทางาน การลางาน การแต่งกาย
4.1.2 การปฐมนิเทศการเข้าปฏบิ ัติงานในวันแรก และช่วงสัปดาห์แรก จะเป็นช่วงเวลาท่ี
นกั ศกึ ษามคี วามวิตกกงั วลอย่หู ลายอย่าง นักศึกษาอาจจะเดนิ ทางมาจากตา่ งถิ่น ต้องจากครอบครัวและ
เพ่อื นๆ จึงควรให้ความช่วยเหลือแนะนาแกน่ ักศกึ ษา ในเรื่องท่ีพักอาศัย ท่ีปลอดภัย การเดนิ ทางมายงั ที่
ทางาน การเข้า-ออก ระเบียบวินัยวัฒนธรรมองค์กรของสถานประกอบการ ท่ีนกั ศกึ ษาจะตอ้ งปฏิบัติ
การรกั ษาความปลอดภยั ในการทางาน ตลอดจนการใหค้ วามรู้เกยี่ วกบั สถานประกอบการ โครงสร้างการ
บริหารงานอ่นื ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง
20
4.2 พนกั งานทปี่ รึกษา (Job Supervisor)
พนักงานทป่ี รึกษา หมายถึง บคุ ลากรหรือเจา้ หน้าทที่ ส่ี ถานประกอบการ มอบหมายให้ทาหน้าท่ี
ดแู ลรบั ผดิ ชอบการปฏิบัตงิ านของนกั ศึกษา อาจจะเป็นผบู้ ังคับบญั ชาหรือหัวหน้างานในการปฏบิ ัติงาน
ตลอดระยะเวลาทนี่ กั ศึกษาปฏบิ ตั ิงานจงึ เปรียบเสมือนอาจารย์ของนักศึกษา ณ สถานประกอบการเป็นผูท้ ี่
ให้คาแนะนาและเป็นท่ีปรึกษาทั้งทางด้านการปฏบิ ัติงาน และการปรบั ตัวเข้ากบั การปฏิบตั ิงา นของ
นักศึกษา ดงั นน้ั พนกั งานที่ปรึกษาจึงเป็นผ้ทู ่มี ีความสาคญั ทสี่ ุดที่จะทาใหก้ ารปฏบิ ัติงานโครงการ WiL
ของนักศกึ ษาสาเร็จไปด้วยดี บทบาทของพนกั งานทป่ี รึกษาควรเป็นดังน้ี
4 .2 .1 ก า รก า หนดลัก ษณ ะงา น ( Job Description ) แล ะแผนงา นก า รป ฏิบัติงาน
( CoopWork Plan )
ในสัปดาหแ์ รกของการปฏิบัติงาน พนกั งานทป่ี รึกษาควรกาหนดตาแหนง่ งานของนักศึกษา
และขอบขา่ ยหนา้ ทีท่ น่ี ักศึกษาจะต้องปฏบิ ัตแิ ละแจ้งให้นกั ศกึ ษาได้รับทราบ ลักษณะงานควรตรงกับ
สาขาวิชาของนักศกึ ษาและเป็นประโยชน์แก่สถานประกอบการมากทส่ี ุด โดยมิใชก่ ารเวยี นไปฝึก งาน
หรือดงู านในแผนกต่างๆโดยไมม่ ีภาระงานทจี่ ะตอ้ งรับผดิ ชอบโดยตรง รวมทง้ั ควรมกี ารกาหนดแผนการ
ปฏิบตั งิ านรายสปั ดาหใ์ หแ้ ก่นกั ศกึ ษาตลอดระยะเวลาที่ปฏบิ ัติงาน เพ่อื ใหเ้ ห็นโดยชดั เจนวา่ นักศึกษา
จะต้องดาเนนิ การอะไรและเมื่อใดในแผนงานควรระบุข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน ซ่งึ อาจจะมกี ารอบรมดว้ ย
การทดลองฝึกหัดและดาเนินการจริง รวมทั้งกาหนดระยะเวลาการเสนอรายงานและการประเมินผลท่ี
กาหนดดว้ ย
4.2.2 การจดั ทารายงานโครงการ WiL
นกั ศกึ ษาโครงการ WiLทุกคนต้องจดั ทารายงานโครงการ WiLเสนอต่อสถานประกอบการ
และพนกั งานท่ีปรึกษาจะเป็นผู้มีบทบาทสาคญั ที่สุดในการตรวจประเมนิ รายงานของนกั ศึกษา รายงาน
ฉบับน้ีอาจจะประกอบดว้ ยเน้อื หาทีส่ ถานประกอบการ จะสามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ตอ่ ไป รายงาน
อาจ มลี ักษณะดงั น้ี
4.2.2.1 โครงการหรืองานวิจยั หากงานทนี่ ักศกึ ษาไดร้ ับมอบหมายเป็นงานโครงการและ
งานวิจัย ดงั กล่าว
4.2.2.2 ในกรณงี านท่ไี ดร้ บั มอบหมายเป็นงานประจา ( Routine ) เชน่ งานในสายการผลิต
งานตรวจสอบคณุ ภาพ รายงานของนักศึกษาอาจเป็น ดงั น้ี
- รายงานวิธีและขั้นตอนการปฏิบตั ิงานประจาที่ได้รับมอบหมายท้ังหมดหรือเพยี ง
บางสว่ น
- ร า ย งา นหัวข้อพิเศ ษ ( Special Assignment หรื อ Project ) เป็ นหัวข้ อ ท่ีส ถาน
ประกอบการสนใจ
21
- งานในลกั ษณะโครงการหรือปญั หาพิเศษใหน้ ักศกึ ษาค้นคว้าสรุปและวิจารณ์รวบรวม
ไว้เป็นเล่มเพ่อื ใช้ประโยชนซ์ ่งึ หัวของรายงานอาจจะไมส่ ัมพันธ์กับงานประจาของนกั ศกึ ษากไ็ ด้แต่ต้อง
อยูบ่ นพ้ืนฐานความรู้ทน่ี ักศึกษามแี ละสถานประกอบการหรืออาจารยท์ ปี่ รึกษาโครงการ WiLสามารถให้
คาปรึกษาไดห้ ากมปี ญั หาจัดทาสถติ หิ รือคมู่ ือ เชน่ การรวบรวมสถิติ วิเคราะห์ผล หรือการแปลรวบรวม
คมู่ อื เป็นตน้
เม่ือ พนัก งา นท่ีปรึ ก ษ าก า หนดหัวข้ อร าย งา นแ ล้วนัก ศึก ษา จะต้อ งจัดทา รายงาน
โดยหารือกับพนักงานท่ีปรึกษา แล้วจัดส่งให้อาจารย์ที่ปรึกษา โครงการ WiLประจาสาชาวิชา
ให้ความเห็นชอ บเสียก่อ น ลักษณะรายงานจะเป็นราย งา นท่ีมีรูป แ บบ ตา มราย งา นวิชา ก า ร
ความยาวไมค่ วรเกนิ 25 หนา้ ส่วนภาคผนวกสามารถเพิ่มข้อมูลได้ตามความจาเป็น นกั ศกึ ษาจะต้อง
จดั พิมพ์รายงานดังกล่าวใหเ้ รียบรอ้ ย และสง่ ผลใหพ้ นกั งานท่ปี รึกษา เพอ่ื ตรวจและประเมนิ ผลอย่างน้อย
2 สัปดาหก์ อ่ นสิ้นสุดการปฏบิ ัติงาน ณ สถานประกอบการ
4.2.3 การนเิ ทศ ( Student Visiting )
ระหวา่ งการปฏบิ ตั ิงานของนักศกึ ษา อาจารย์ท่ปี รึกษาโครงการ WiL จะขอนัดหมายกับ
พนักงานทป่ี รึกษาเพอ่ื เข้ามานิเทศงาน ณ สถานประกอบการ โดยจะมีหวั ข้อการหารือกับเจ้าหนา้ ที่ฝ่ าย
บคุ คลหรือพนักงานทีป่ รึกษาในระหว่างการนิเทศ ดังน้ี
- รูปแบบและปรัชญาของโครงการ WiL การดาเนินงานของโครงการฯ
หลกั สูตร
- ลกั ษณะงานทีม่ อบหมายใหน้ กั ศกึ ษาปฏบิ ัติ
- แผนการปฏบิ ัตงิ านตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน
- หวั ข้อรายงานโครงการ WiLและความกา้ วหน้า
- การพฒั นาตนเองของนักศึกษา
- ผลการปฏบิ ัตงิ านของนักศึกษาและความประพฤติ
- ปัญหาต่างๆ ทสี่ ถานประกอบการพบเกี่ยวกบั การมาปฏิบตั งิ านของนกั ศกึ ษา
4.2.4 การประเมินผลนกั ศกึ ษา
การประเมินผลรายงาน ขอให้พนกั งานท่ีปรึกษาเป็นผู้มีภาระหนา้ ทใ่ี นการตรวจ
แก้ไขรายงานของนกั ศกึ ษา และประเมินผลเน้อื หาและการเขียนรายงาน ภายในสัปดาห์สดุ ทา้ ยของการ
ปฏิบตั งิ านของนกั ศกึ ษา
22
การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน พนกั งานท่ปี รึกษาจะเป็นผู้ประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของนักศกึ ษา
ตามแบบที่มหาวทิ ยาลัยกาหนดอย่างช้าท่สี ุดภายในสัปดาห์สดุ ทา้ ยของการปฏบิ ัติงานของนักศกึ ษา
โดยอาจจะช้ีแจงผลการประเมินให้นักศึกษาทราบ จากนั้นมอบผลการประเมินให้นักศึกษานาส่ง
มหาวทิ ยาลัยต่อไป หรือจะจดั สง่ ผลการประเมนิ โดยตรงกับมหาวิทยาลยั
4.3 เครือ่ งมือทีส่ าคัญกบั สาขาวชิ าวศิ วกรรมการผลติ อัตโนมัติ
วิศวกรรมการผลิต เป็นวิชาชีพที่เกยี่ วข้องกบั การผลติ ชิ้นงานและสนิ ค้าในเชิงอุตสาหกรรม
ตั้งแต่กระบวนการออกแบบและพัฒนา การทดสอบผลิต การออกแบบกรรมวิธีการผลติ การเตรียม
วัตถดุ ิบ การควบคมุ เคร่ืองจกั ร การควบคมุ การผลติ การประกอบ การควบคุมคุณภาพ จนไดเ้ ป็นสินค้า
สาเร็จ
ดงั นั้น จึงมคี วามจาเป็นที่จะต้องใชเ้ คร่ืองมอื เคร่ืองจักรในการประยุกตใ์ ชค้ อมพวิ เตอรช์ ่วยใน
การจดั การเรียนการสอนใหท้ ักษะวชิ าชพี ได้เป็นอยา่ งดี โดยเราสามารถ 5 เคร่ืองมอื ท่สี าคญั ได้แก่
ประเภทเครื่องมอื
1. เคร่ืองตดั เลเซอร์ (Laser cutting)
หนา้ ที่: จดั เป็นเทคโนโลยีสาหรับการตัด
วัสดุที่มีประสิทธิภาพสูง ทาให้ช้ินงานที่มี
คุณภาพภายในระยะเวลาทีร่ วดเรว็ ผ่านการใช้
ความร้อนจากลาแสงเลเซอร์
23
2. หนุ่ ยนต์อุตสาหกรรม (Industrial Robotic Arm)
หน้า ที่ : จัด เป็ นเทค โ นโ ลยี เคร่ื องจักรท่ี
ถูกควบคุมอัตโนมัติ สามารถเขยี นโปรแกรม
ใหม่ได้ และสามารถโปรแกรมให้เคลื่อนที่
จัดเป็ นเค รื่ อ งทุ่นแ รงในก าร ผลิตของโ รงงาน
อตุ สาหกรรมทปี่ จั จบุ ันมกี ารนามาใช้กันอย่า ง
แพร่หลาย
3. เคร่ืองบรรจุภัณฑย์ า (Pharmaceutical Machinery)
หน้าท่ี:จัดเป็นเทคโนโลยีเคร่ืองจกั รที่
บรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ท่ีมีขนาดเล็ก เช่น ยา
เพ่ือความสะดวก แมน่ ยา สาหรบั อตุ สาหกรรม
การผลิต เป้าหมายหลักของบรรจภุ ัณฑ์มักจะ
ปกป้องจากปัจจัยภายนอก เช่นความช้ืนและ
การสาหรบั ผผู้ ลติ
ปนเปื้ อน
4. เซอร์กติ เบรกเกอร์ (Circuit breaker panel repair)
หนา้ ท่ี: จดั เป็นเทคโนโลยีเคร่ืองจักรที่ มี
เบรกเกอร์เป็นอุปกรณ์ทาหน้าท่ีในก า ร ตัด
วงจรไฟฟ้าแบบอตั โนมตั ิเมอ่ื เกดิ ความผิดปก ติ
ในระบบ เพือ่ เป็นการป้องกนั ความเสียหายที่จะ
เกิดข้ึนในอุตสาหกรรม ผ่านอุปกรณ์ เช่น
มอเตอร์, Generatorหรือ อปุ กรณ์ไฟฟา้
ปนเปื้ อน
5. เวบ็ แคเมรา (Webcams) 24
หน้าที่: จดั เป็นเทคโนโลยีการใช้กลอ้ ง
Webcam มา ตร วจส อ บ คุ ณ ภา พชิ้นงาน
ในโรงงานอุตสาหกรรม เพ่ือกระบวนการ
ดาเนินงานทถี่ กู ต้อง แมน่ ยา ได้ประสทิ ธิภาพ
สงู สดุ
ทีม่ า: สานกั วศิ วกรรมศาสตร์, ออนไลน์
4.4 ประโยชนท์ ี่สถานประกอบการจะได้รบั
4.4.1 เกิดความรว่ มมอื ทางวชิ าการและสรา้ งความสมั พนั ธท์ ดี่ ีกับสถาบันการศกึ ษา
4.4.2 เป็นการสรา้ งภาพพจนท์ ด่ี ีขององค์กร ในด้านการสง่ เสริมสนับสนนุ การศกึ ษาและช่วย
พัฒนาบณั ฑิตของชาติ
4.4.3 มีนักศึกษาที่มีความกระตือรือร้นและมีความพร้อมทางวิชาการระดับหน่ึงมาช่วย
ปฏิบตั งิ านตลอดทั้งปี
4.4.4 พนกั งานประจามีเวลามากข้นึ ที่จะปฏบิ ัติงานในหน้าทอ่ี ่นื ที่มีความสาคัญ
4.4.5 เป็นวิธีการชว่ ยคัดเลอื กนักศึกษาเขา้ เป็นพนักงานประจาในอนาคตโดยไมจ่ าเป็นต้อ งมี
การทดลองงานก่อน
25
บทท่ี 5
กระบวนการและขนั้ ตอนโครงการ WiL
5.1 การรับสมคั รนักศึกษาโครงการ WiL
เพอ่ื ใหก้ ารเตรียมการเกย่ี วกับการไปปฏิบตั ิงานของนกั ศึกษาโครงการ WiLเป็นไปด้วยความ
เรียบร้อย และนักศึกษาพร้อมที่จะไปปฏบิ ัตงิ านในสถานประกอบการ จึงไดก้ าหนดระเบยี บ การที่
เก่ยี วกับการสมัครเขา้ ร่วมโครงการ ไว้ดังน้ี
5.1.1 การรบั สมค้ รเขา้ โครงการ WiL
กาหนดให้นักศึกษาช้ันปี ท่ี 4 ข้ึนไป ของแต่สาขาวิชา ยื่นใบสมัครเข้าเป็นนักศกึ ษา
โครงการ WiLตามระยะเวลาทีก่ าหนด การคัดเลือกนักศึกษาเขา้ เรียนจะเป็นความรับผดิ ชอบของภาควิชา
โดยยึดหลักการและเงอื่ นไขตามท่ภี าควิชากาหนด
5.2 การเตรยี มความพร้อมนกั ศึกษาก่อนออกปฏบิ ัตงิ าน (การอบรมนกั ศกึ ษา)
5.2.1 การลงทะเบียนรายวชิ าโครงการ WiL
นกั ศกึ ษาทจี่ ะออกปฏิบัตงิ านในสถานประกอบการ ต้องลงทะเบียนก่อนไปโครงการ WiL
(ดูกาหนดการในปฏิทนิ โครงการ WiLประจาภาคการศึกษาน้ันๆ) รายวิชาจะจัดให้มีการฝึกอบรม
นักศกึ ษาก่อนออกไปปฏิบตั งิ านโครงการอยา่ งตอ่ เน่อื งล่วงหนา้ กอ่ นไปโครงการ ทั้งน้ี เป็นการเตรียมให้
นกั ศกึ ษามีความพร้อมสูงสดุ ก่อนทจ่ี ะออกไปปฏิบัตงิ าน ณ สถานประกอบการ โดยมหี วั ข้อทีจ่ ะอบรม
เรื่องต่างๆ เชน่ สัมมนาโครงการก่อนไปปฏบิ ัตงิ านในเร่ืองต่อไปน้ี
- การเลือกงานและสถานประกอบการ
- การเขียนใบสมัครงาน การเขยี นประวตั สิ ว่ นตัว การเตรียมตวั
สมั ภาษณ์
- การพฒั นาบุคลิกภาพ และการปฏบิ ัตติ นในสถานประกอบการ
- การนาเสนอโครงงานและผลงาน
- ระบบความปลอดภยั ในโรงงานหรือสถานประกอบการ
- 5 ส. และการควบคมุ คณุ ภาพ ISO
- หรือ อน่ื ๆ
26
5.3 การเลือกสมัครงาน
นกั ศกึ ษาสามารถเลอื กสมคั รงานที่ได้รบั การเสนอจากสถานประกอบการ ตามประกาศของ
ภาควชิ าฯ โดยท่ีนักศึกษาจะไดร้ บั การปฏิบัติเสมือนการไปสมคั รงานจริงกับสถานประกอบการน้ัน ๆ
โดยมขี ั้นตอนดงั น้ี
5.3.1 นกั ศึกษาสามารถสมคั รงานโดยเลอื กสถานประกอบการจากประกาศของภาควชิ าฯ
5.3.2 สถานประกอบการจะคัดเลือกนักศึกษาโดยพิจารณาจากใบสมัคร หรือสัมภาษณ์
หรือมอบให้คณะกรรมการรายวิชาโครงการ WiLสมั ภาษณ์นกั ศึกษา
5.3.3 อาจารย์โครงการ WiL จะจัดนกั ศึกษาเขา้ ปฏิบตั ิงานในสถานประกอบการใหเ้ หมาะสม
ตามความต้องการของสถานประกอบการและนักศึกษาและให้สอดคล้องทีส่ ุด
5.4 การคดั เลือกนักศกึ ษาโดยสถานประกอบการ
สถานประกอบการจะคดั เลือกนกั ศึกษาไปปฏบิ ตั งิ าน โดยพิจารณาจากใบสมคั รอยา่ งเดียวหรือ
อ า จจะสัมภา ษ ณ์นัก ศึก ษ า ด้วย หรื อ มอ บ ให้ค ณ ะก ร ร มก า ร ร า ย วิชาสัมภา ษ ณ์นักศึกษา
สถานประกอบการจะสง่ ผลการคดั เลอื กนกั ศกึ ษาให้ภาควิชาฯทราบ โดยจะระบลุ าดับการเลอื กนกั ศกึ ษา
และนกั ศกึ ษาต้องตดิ ตามขอ้ มลู จากภาควิชาฯ เพื่อทราบผลการคดั เลอื กจากสถานประกอบการ
5.5 การคัดเลอื กคณุ สมบตั ขิ องนกั ศกึ ษา
คณะกรรมการรายวชิ าโครงการ WiL จะนาผลการคัดเลอื กนักศกึ ษาของสถานประกอบการ
และลาดับความตอ้ งการนักศกึ ษามาจัดเขา้ คู่กัน โดยจะพยายามจัดให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของทัง้ สอง
ฝ่ายมากทีส่ ดุ แลว้ จะประกาศผลการคดั เลือกใหน้ ักศึกษาทราบ ในกรณีทน่ี ักศึกษาที่ไม่มีราย ชื่อ ใน
ประกาศผลการคดั เลือก ใหร้ ีบตดิ ต่ออาจารยป์ ระจาวิชาหรือเจ้าหน้าท่ีโครงการด่วน เพ่ือจดั หาสถาน
ประกอบการให้ใหม่โดยเร็วท่ีสุด ผลการคัดเลือกนักศึกษาจะประกาศตามแผนปฏิทิน โครงการ
ท่ีภาควชิ าฯ กาหนด ภายหลังการประกาศผลการคัดเลือกแลว้ ถอื ว่านักศึกษาทกุ คนจะต้องไปปฏบิ ตั งิ าน
5.6 คา่ ตอบแทนและสวัสดกิ ารจากสถานประกอบการ
ตามปกติสถานประกอบการจะจา่ ยคา่ เบ้ยี เล้ยี งให้แกน่ ักศึกษาในอัตราที่สถานประกอบการ
กาหนดอย่างไรกต็ ามหนว่ ยงานราชการบางแห่ง อาจจะให้ค่าตอบแทนตา่ ในกรณีทส่ี ถานประกอบการ
หรือหน่วยงานเสนองานให้แกน่ กั ศกึ ษาโดยมคี า่ ตอบแทนตา่ นัน้ ส่วนประสานงานจะรบั งานนนั้ ใหแ้ ก่
นักศกึ ษาได้หรือไม่ มีเงอ่ื นไขดังน้ี
27
1) ยอมรับงานใหน้ ักศึกษาโดยปรบั ตามสถานการณท์ างเศรษฐกจิ ท่ตี กตา่
2) เป็นไปตามความตอ้ งการของนกั ศกึ ษา โดยมเี หตุผลอันควร เช่น สถานประกอบการตงั้ อยู่
ในภูมลิ าเนาของนักศึกษา นกั ศึกษาสนใจลกั ษณะงานท่บี ริษัทเสนอ
3) ภารวิชาฯ เหน็ ชอบ
กรณที ่ีสถานประกอบการจัดท่ีพักให้นกั ศึกษาถอื ว่าเป็นสวัสดิการเพิ่มเติม หากนักศกึ ษาไม่
สะดวกในเร่ืองท่ีพกั ที่จัดให้ ให้หาทพ่ี ักเองได้ แต่จะนามาเป็นขอ้ อา้ งในการไมไ่ ปปฏิบัติงานหรื องด
ปฏบิ ัติงาน หรือเปล่ยี นสถานทไ่ี ม่ได้ ในกรณีท่ีสถานประกอบการไม่จดั ทพี่ กั ให้ ขอให้นกั ศกึ ษาประสาน
กับส่วนประสานงานโครงการ WiL เพ่ือติดตอ่ ฝ่ายบุคคลของสถานประกอบการให้ช่วยจดั ท่พี ักท่ี
ปลอดภัยและเหมาะสมใหแ้ กน่ กั ศกึ ษา เชน่ พักรวมกับบคุ ลากรของสถานประกอบการหรือพกั ในบริเวณ
ทพี่ นักงานพกั อยู่ และมีรถของสถานประกอบการรบั ส่งโดยสะดวก เป็นต้น
5.7 กจิ กรรมระหวา่ งการปฏิบัตงิ าน
เพื่อให้การประสานงานระหว่างนักศึกษาและส่วนกลางประสานงาน โคร งการ WiL
ภายในระยะเวลาทกี่ าหนดดังน้ี
5.7.1 ในระหวา่ งสัปดาห์แรกของการปฏิบตั ิงาน นักศึกษาต้องส่งแบบแจง้ รายละเอยี ดท่ีพัก
ระหว่างการปฏบิ ัตงิ านโครงการ WiL และแบบแจ้งรายละเอยี ดงาน ตาแหน่งงาน และพนักงานทป่ี รึกษา
แจ้งสถานท่ีปฏิบตั ิงาน (ชือ่ สถานประกอบการ) และหนา้ ท่ที ่ไี ด้รับมอบหมาย
5.7.2 ในระหว่างสปั ดาหท์ หี่ น่งึ ถึงสอง นกั ศกึ ษาจะต้องแจ้งแผนการปฏบิ ัติงานโครงการ WiL
5.7.3 ในระหว่างสปั ดาหท์ ี่ 2 ถงึ 3 ของการปฏบิ ตั ิงาน นกั ศึกษาจะตอ้ งสง่ แบบแจง้ โครงร่าง
รายงานการปฏิบัตงิ านเพ่ือให้อาจารยท์ ีป่ รึกษาโครงการได้ตรวจสอบและให้คาแนะนานักศกึ ษาอา จจะ
เร่ิมเขยี นรายงานได้ทันทีหากอาจารย์ท่ปี รึกษาโครงการ อาจไมไ่ ดแ้ จง้ แก้ไขหวั ข้อหรือ เค้าโครงร่าง
รายงาน ท้ังน้ีอาจารย์ทีป่ รึกษาโครงการอาจจะให้คาแนะนาเพิ่มเติมระหว่างการไปนิเทศงานก็ได้
ในกรณีที่พนักงานทป่ี รึกษาไม่มีเวลาเขียนข้อมูลในแบบฟอร์มต่าง ๆ ให้นักศึกษาอาจจะแกป้ ญั หา
โดยการสอบถามข้อมูลด้วยวาจาแล้วเป็นผ้เู ขยี นขอ้ มูลท่รี ับด้วยตนเอง จากนนั้ นาไปใหพ้ นกั งานทีป่ รึกษา
ตรวจและลงนามรบั ทราบ หากมีขอ้ ขัดขอ้ งประการใดที่ทาใหไ้ ม่สามารถจัดส่งเอกสารได้ตามกา หนด
จะตอ้ งแจง้ ภาควิชาฯทางโทรสารหรือจดหมายทนั ที
5.8 การนเิ ทศงานโครงการ WiL
ภาควิชาฯ ตอ้ งจัดให้มกี ารนเิ ทศงานโดยคณาจารยท์ ่ีปรึกษาโครงการ WiL โดยจะเดนิ ทางไป
นิเทศงานอย่างน้อย 1 คร้ัง ระหว่างท่ีนักศึกษา ปฏิบัติงา น โ คร งกา ร ณ สถานประกอบ ก า ร
โดยมวี ตั ถปุ ระสงคข์ องการนเิ ทศงานโครงการ ดงั น้ี
28
5.8.1 เพ่ือ เป็ นก า รส ร้างขวัญและก าลังใจแก่นัก ศึก ษาท่ีกาลังปฏิบัติงานโดยลาพัง
ณ สถานประกอบการซ่งึ นกั ศึกษาจะต้องอยูไ่ กลครอบครวั เพือ่ น และคณาจารย์
5.8.2 เพอื่ ดแู ล และติดตารมผลการปฏิบัติงานของนกั ศึกษา ใหเ้ ป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ
โครงการ WiL
5.8.3 เพื่อช่วยเหลือนักศึกษาในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ท่ีอาจจะเกิดข้ึนในระหว่างการ
ปฏิบตั ิงาน ทงั้ ปญั หาด้านวิชาการและปญั หาการปรับตวั ของนกั ศกึ ษาในสภาวะการทางานจริง
5.8.4 เพอ่ื ขอรบั ทราบและแลกเปลยี่ นขอ้ คดิ เหน็ เกยี่ วกบั แนวความคิดการมาปฏิบัติงานข อง
นักศกึ ษาในระบบโครงการ WiL ตลอดจนการแลกเปลี่ยนความก้าวหนา้ ทางวิชาการซ่งึ กันและกนั
5.8.5 เพือ่ ประเมนิ ผลการดาเนินงานและรวบรวมข้อมลู ท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ ภาควิชาฯ และ
มหาวิทยาลัย
5.9 กจิ กรรมภายหลังเสรจ็ โครงการ WiL
5.9.1 ในสปั ดาห์สุดทา้ ยของการปฏบิ ัติงาน พนกั งานทปี่ รึกษาจะประเมินผลนักศึกษาและ
รายงานวชิ าการแลว้ ใหน้ ักศกึ ษานากลับมายนื่ ต่อภาควิชาฯทันที ในวันทเ่ี ดนิ ทางกลบั ส่มู หาวทิ ยาลยั
5.9.2 เข้ารบั การประเมนิ เบอ้ื งตน้ โดยอาจารย์ท่ปี รึกษาโครงการ WiLภาควิชาฯ โดยอาจารย์
จะสัมภาษณ์นักศึกษาทันทีท่ีกลับจากการปฏิบัติงาน เพ่ือสอบถามปัญหา ให้คาปรึกษาหารือ
ข้อเสนอแนะและแนวคดิ ที่ถูกต้องในการพฒั นาตนเองของนกั ศึกษาพร้อมทั้งสง่ รายงานทางวชิ าการแก่
อาจารย์ทป่ี รึกษาโครงการ WiLและทาการแกไ้ ขใหส้ มบูรณ์ตามระยะเวลาทอ่ี าจารย์ท่ีปรึกษากาหนด
5.9.3 การสมั มนา และนาเสนอรายงานท่ีนกั ศกึ ษาไปปฏิบตั ิโครงการ WiLมาระหว่างนักศึกษา
ภายใตก้ ารกากบั ดแู ลของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการประจาภาควิชา เพอื่ พัฒนาความสามารถในการ
นาเสนอและถ่ายทอดประสบการณซ์ ่งึ เป็นสาระสาคญั ของโครงการ
5.10 การประเมนิ ผล
เกณฑ์การให้คะแนนเป็นเกรด A-F ท้ังน้ีมีกระบวนการที่ใช้ในการประเมินข้ึนอยู่กับ
ภาควิชาฯ ดังน้ี
5.10.1 นกั ศึกษาเข้ารว่ มการปฐมนิเทศ สัมมนา และกิจกรรมโครงการ WiL ทกี่ าหนดไว้
โดยครบถ้วน เช่น การสัมภาษณ์หลงั จากกลับสถานประกอบการ การรว่ มสมั มนาแลกเปล่ยี นค วาม
คิดเห็นและในที่สดุ พจิ ารณาเห็นวา่ เป็นผู้ที่เหมาะสมในการปฏบิ ัตงิ านในสถานประกอบการ และสว่ น
อาจารย์ประจาวิชาจะประกาศรายช่ือผมู้ ีสทิ ธ์ไิ ปปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการ และส่วนอาจารยป์ ระจา
วชิ าจะประกาศรายชอ่ื ผมู้ สี ทิ ธ์ไิ ปปฏิบัตงิ าน
29
5.10.2 ไดร้ บั ผลการประเมนิ ความสามารถในการปฏิบัติงานและรายงาน รายวิชาในระดับ
A-D จาก พนกั งานที่ปรึกษา
5.10.3 ไดร้ ับผลการประเมนิ รายงานวิชาในระดับ A-D จากอาจารย์ท่ปี รึกษาโครงการ WiL
5.10.4 เขา้ ร่วมกิจกรรมหลงั กลับจากปฏบิ ตั ิงานครบถว้ น ไดแ้ ก่ การประชุม การสัมภาษณ์
สมั มนา และสง่ แบบสอบถามนักศึกษาท่ีร่วมกจิ กรรมทั้ง 4 กระบวนการ และผ่านการประเมินจาก
สาขาวิชาจะไดร้ บั ระดับคะแนนตัวอักษร A-D กรณนี ักศึกษาไดร้ บั ระดับคะแนนตัวอักษร F ต้องเข้า
ปฏิบัติโครงการ WiLใหม่ หรือเรียนวิชาอนื่ ทดแทน และส่งผลตอ่ การสาเร็จการศึกษาไม่เป็นไป
ตามกาหนด
5.11 ข้นั ตอนการดาเนนิ งานโครงการ WiL
ลาดับท่ี ผงั กระบวนการ งานบรกิ ารฯประ
1 โครงการ WiL เพ
งานบริการฯ ประกาศสถานประกอบการ
นักศึกษาส่งใบส
2 ทรี่ ับนักศึกษาสหกจิ ศกึ ษา เพอื่ ทาหนังสือขอ
นักศึกษาส่งใบสมคั รขอฝึ กงานสหกจิ ศกึ ษา WiLไปยงั หน่วยง
เมือ่ นักศกึ ษาสง่ ใ
3 ประจาวชิ าแต่ละส
อาจารย์ประจาวิชาคัดเลอื กใบสมัคร ทาหนังสือขอคว
หนว่ ยงาน/บรษิ ัท
4 งานบรกิ ารฯ สง่ ห
ส่งหนงั สือขอความอนุเคราะห์ เสนอคณบดลี งน
รับนักศึกษาสหกจิ ศกึ ษา เสนอคณบดีลงนาม เมือ่ คณบดีลงนา
เอกสารกลบั คนื ม
5 รบั หนงั สือ ขอความอนเุ คราะห์
รับฝึ กงานสหกจิ ศึกษาคืน
30
รายละเอียดงาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ เอกสารท่เี ก่ยี วข้อง
ะกาศรายช่อื หนว่ ยงาน/บริษัท ทร่ี บั นักศกึ ษา 1. งานบรกิ ารฯ 1. ข้อมลู บรษิ ทั ทรี่ บั
พ่อื ให้นักศกึ ษาเลอื กสมคั ร 2. อาจารยป์ ระจาวิชา นักศกึ ษาโครงการ WiL
3. ภาควิชา 2. ปฏทิ นิ โครงการ WiL
สมัครฝึกงานโครงการ WiL มายังงานบรกิ าร 1. งานบรกิ ารฯ 1. แบบฟอรม์ ใบสมัคร
โครงการ WiL
อความอนเุ คราะหร์ บั นกั ศกึ ษาฝึกงานโครงการ 2. หน่วยงาน/บรษิ ทั
1. ปฏิทินโครงการ WiL
งาน/บริษทั
2. https://www.rru.ac.th/
ใบสมคั รมายงั านบรกิ ารฯเสนอ อาจารย์ 1. ภาควิชาฯ
1. หนังสือขอความ
สาขาจะคดั เลอื กนักศกึ ษาเพื่อสง่ ใหเ้ จ้าหน้าท่ี 2. อาจารยป์ ระจาวชิ า อนุเคราะหร์ ับนักศึกษา
ฝึกงานโครงการ WiL
วามอนุเคราะห์รบั นักศกึ ษาฝึกงานให้กบั
ท ต่อไป
หนงั สอื ขอความอนเุ คราะหร์ บั นักศกึ ษาฝึกงาน 1. งานบรกิ ารฯ
นามในเอกสารฝึกงาน 2. อาจารยท์ ่ีประจาวิชา
ามเสรจ็ เรียบรอ้ ย สารบรรณคณะฯจะส่ง 1. งานบรกิ ารฯ 1. หนงั สือขอความ
มายงั งานบริการฯ อนเุ คราะห์รบั นกั ศึกษา
ฝึกงานโครงการ WiL
ลาดับที่ ผังกระบวนการ 1. งานบริการฯ
6 2. ส่งเอกสารข
ส่งหนังสอื ขอความอนเุ คราะห์
รับนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษาไปยงั หน่วยงาน/บริษัท โครงการ W
3. และแบบตอ
7 1. เม่ือหนว่ ยงาน
งานบริการฯ กร
ไม่รับนกั ศึกษา สามารถรบั ฝึกงา
หน่วยงาน/บรษิ ทั 2. เมื่อหนว่ ยงาน
พิจารณารับนกั ศึกษา หน่วยงานก็จะแจ
ฝึ กงานสหกิจศกึ ษา หนว่ ยงานได้
รบั นักศกึ ษา
8 บรษิ ัทสง่ แบบตอ
หนว่ ยงาน/บริษัท ส่งแบบตอบรับนักศกึ ษา
ฝึ กงานกลับมายงั งานบริการฯ
9 ประกาศ แจ้งรายช่ือหนว่ ยงาน/บริษัท งานบรกิ ารฯ ปร
ที่รบั นกั ศกึ ษาฝึ กงาน นกั ศึกษาฝึกงานโ
เวบ็ ไซต์ภาควิชาฯ
รายละเอยี ดงาน ผ้รู บั ผดิ ชอบ 31
ฯจดั ทาสติ๊กเกอรท์ อ่ี ยขู่ องหนว่ ยงาน/บรษิ ัท 1. งานบรกิ ารฯ เอกสารทเี่ ก่ียวขอ้ ง
ขอความอนุเคราะหร์ ับนักศึกษาฝึกงาน 2. หน่วยงาน/บรษิ ทั 1. สติ๊กเกอรท์ ่อี ย่ขู อง
WiLพร้อมแนบใบสมัครงานโครงการ WiL หน่วยงาน/บริษทั
อบรบั นกั ศึกษาฝึกงาน 2. หนังสือขอความ
อนเุ คราะหร์ ับนกั ศกึ ษา
น/ บริษัท พิจารณาแลว้ กจ็ ะแจ้งกลับมายงั 1. งานบรกิ ารฯ ฝึกงานโครงการ WiL
รณรี บั หน่วยงานก็จะแจง้ รายชื่อนกั ศกึ ษาท่ี 2. หนว่ ยงาน/บรษิ ทั 3. แบบตอบรบั
านในหนว่ ยงานได้ นกั ศกึ ษาฝึกงานสหกจิ
1. แบบตอบรบั
นักศึกษาฝึกงาน
โครงการ WiL
น/ บรษิ ทั พจิ ารณาแลว้ กรณไี มร่ บั
จง้ เหตุผลทีไ่ ม่สามารถรบั นักศึกษาฝึกงานใน
อบรับกลับมายังภาควชิ าฯ 1. งานบริการฯ 1. แบบตอบรบั
2. หนว่ ยงาน/บริษัท นักศึกษาฝึกงาน
ระกาศรายชอื่ หนว่ ยงาน/บรษิ ทั ที่ตอบรบั 3. นักศกึ ษา โครงการ WiL
โครงการ WiLท่ีบอร์ด( SC.06 ช้ัน 2) และท่ี
ฯ https://www.rru.ac.th/ 1. งานบรกิ ารฯ 1. ขอ้ มลู บริษัททตี่ อบ
2. นกั ศึกษา รับนักศกึ ษาฝึกงาน
3. ภาควชิ าฯ 2.http://sc.ku.ac.th และ
https://www.rru.ac.th/
ลาดับท่ี ผงั กระบวนการ 1. งานบรกิ ารฯ จ
10 ส่งหนังสือ ส่งตัวนกั ศกึ ษาเขา้ รบั การฝึ กงาน 2. สง่ หนังสือสง่
หนว่ ยงาน/บริษทั
11 ปฐมนิเทศนกั ศึกษากอ่ นออกฝึ กงาน
1. ภาควิชาฯ จัดป
12 WiL เพื่อเป็นการ
นักศกึ ษาออกฝึ กงาน เอกสารสาเนาหน
2. ภาควิชาฯ แนะ
3. แนะนาการส่ง
นักศกึ ษาออกฝึก
เดอื น หรอื มากก
บรษิ ัท
13 อาจารย์ประจาสา
อาจารยอ์ อกนิเทศครงั้ ที่ 1
หนว่ ยงาน/บรษิ ทั
นกั ศึกษาและรบั ร
14 อาจารย์ประจาสา
อาจารย์ออกนิเทศครง้ั ที่ 2 หน่วยงาน/บริษทั
โครงการ WiLแล
พรอ้ มการสอบน
รายละเอยี ดงาน ผ้รู ับผดิ ชอบ 32
จัดทาสต๊กิ เกอร์ทอ่ี ยูข่ องหน่วยงาน/บริษัท 1. งานบรกิ ารฯ เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
งตวั นกั ศึกษาเข้ารับการปฏิบัตงิ านให้ 2. หนว่ ยงาน/บริษัท
ท พร้อมปฏทิ นิ โครงการ WiL 1. สติก๊ เกอร์ท่อี ยู่หน่วยงาน
2. หนงั สือสง่ ตวั นกั ศกึ ษา
ปฐมนิเทศนกั ศึกษากอ่ นออกฝึกงานโครงการ 1. ภาควชิ าฯ 3. ปฏิทนิ โครงการ WiL
รเตรยี มความพร้อมก่อนออกฝึกงาน และแจก 2. นักศกึ ษา
นังสอื ส่งตัวนักศกึ ษา 3. อาจารยท์ ปี่ รึกษา สาเนาหนงั สอื ส่งตัว
ะนาข้อปฏบิ ัติตัวระหว่างฝึกงานโครงการ WiL นักศึกษา
งเอกสารต่าง ๆ ระหว่างฝึกงานโครงการ WiL
1. สมุดรายงานการฝึก
กงานตามหน่วยงาน/บรษิ ัท เป็นระยะเวลา 2 1. งานบริการฯ ปฏบิ ัติงาน
กวา่ นัน้ ขึ้นอยกู่ บั เงื่อนไขแต่ละหนว่ ยงาน/ 2. หน่วยงาน/บรษิ ทั 2. หนังสือรบั รองการ
3. นักศึกษา ฝึกงาน
าขา ออกนเิ ทศงานโครงการ WiLตาม 1. งานบริการฯ หนังสือขอเข้านเิ ทศงาน
นักศึกษาคร้งั ที่ 1
ท คร้งั ที่ 1 เพือ่ สรา้ งขวัญและกาลงั ใจใหก้ ับ 2. หน่วยงาน/บรษิ ัท
หนังสอื ขอเขา้ นเิ ทศงาน
ร้ปู ญั หาต่าง ๆ ของนกั ศกึ ษา 3. นักศกึ ษา,อาจารย์ นกั ศึกษาคร้งั ท่ี 2
าขา ออกนเิ ทศงานโครงการ WiLตาม 1. งานบรกิ ารฯ
ท คร้งั ท่ี 2 เพอ่ื ดคู วามกา้ วหนา้ ของรายงาน 2. หนว่ ยงาน/บริษัท
ละแนะนาการเขียนรายงาน พรอ้ มเตรยี มความ 3. นกั ศึกษา,อาจารย์
นาเสนองาน
ลาดับท่ี ผังกระบวนการ เม่อื ครบกาหนดก
15 บรษิ ัทส่งตัวนักศึกษากลบั มหาวทิ ยาลัย กลบั มหาวิทยาลยั
16 สอบนาเสนองานสหกิจศึกษา เมอ่ื นกั ศกึ ษากลบั
โครงการ WiLตา
17 ปัจฉิม และส่งเล่มรายงาน คณะกรรมการสอ
ฉบบั สมบูรณ์ สปั ดาห์
เมือ่ นักศึกษากลับ
ฝึกงานเพอื่ ประเม
รายงานฉบับสมบ
33
รายละเอยี ดงาน ผู้รบั ผดิ ชอบ เอกสารท่ีเก่ียวข้อง
การฝึกงานเรยี บร้อยแล้ว บริษทั จะส่งนกั ศกึ ษา 1. งานบริการฯ 1. สมุดรายงานการฝึก
ปฏิบตั ิงาน
ย 2. หนว่ ยงาน/บริษทั 2. คู่มอื รายงาน
โครงการ WiL
3. นกั ศกึ ษา 1. สมุดรายงานการฝึก
ปฏิบตั ิงาน
บมหาวทิ ยาลัย นักศึกษาจะต้องสง่ เลม่ รายงาน 1. ภาควชิ าฯ 2. ค่มู อื รายงาน
โครงการ WiL
ามจานวนกรรมการสอบ เพอ่ื ให้ 2. นกั ศกึ ษา 1. สมุดรายงานการฝึก
ปฏบิ ตั งิ าน
อบไดอ้ า่ นรายงานกอ่ นวนั สอบอยา่ งนอ้ ง 1 3. อาจารยใ์ นภาควชิ าฯ 2. คมู่ ือรายงาน
โครงการ WiL
บมหาวทิ ยาลยั ภาควชิ าฯจดั ปัจฉิมนเิ ทศการ 1. ภาควชิ าฯ
มนิ ผลการฝึกปฏบิ ตั ิงาน และนักศึกษานาสง่ 2. นกั ศกึ ษา
บูรณ์ ท่ีภาควิชาฯ 3. อาจารยใ์ นภาควชิ าฯ
34
5.12 แนวปฏบิ ตั ิโครงการ WiL
1. อาจารยป์ ระจาวิชาคัดเลือกสถานประกอบการเพอ่ื เชญิ เข้าร่วมโครงการโครงการ WiLกบั ภาควิชาฯ
2. งานบริการการศึกษา ทาหนงั สอื เชญิ บริษัทเข้ารว่ มโครงการ WiL
3. งานบริการการศึกษา ภาควชิ าฯ ประกาศรายชอื่ สถานประกอบการท่ีรบั นกั ศึกษาฝึกโครงการ WiL
ท่บี อร์ด SC.06 ช้ัน 2 และที่ https://www.rru.ac.th/
4. นกั ศกึ ษากรอกใบสมคั รขอฝึกโครงการ WiL โดยดาวนโ์ หลดท่ี https://www.rru.ac.th/ หรือขอรับ
แบบฟอร์มท่ีภาควชิ าฯ
5. อาจารยป์ ระจาวิชา คัดเลือกนกั ศกึ ษาโครงการ WiLตามคณุ สมบัตเิ กณฑก์ ารออกฝึกโครงการ
6. งานบริการการศึกษา ภาควชิ าฯ ประกาศรายช่อื นักศกึ ษาทผ่ี ่านการคดั เลือกใหไ้ ปโครงการทีบ่ อรด์
SC.06 ชัน้ 2 และที่ https://www.rru.ac.th/
7. อาจารย์ประจาวชิ า ใหค้ วามรูเ้ กยี่ วกบั โครงการ WiLตลอดระยะเวลาก่อนท่ีนกั ศึกษาจะออก
ฝึกโครงการ WiL โดยกาหนดเกณฑก์ ารให้คะแนนในการเขา้ กิจกรรมโครงการแต่ละคร้งั
8. ภาควชิ าฯ จดั สมั มนาโครงการ WiLเพอื่ เตรียมความพรอ้ มให้กบั นกั ศกึ ษา กอ่ นออกฝึกโครงการ
9. งานบริการการศกึ ษา ส่งหนงั สอื ส่งตัวนักศึกษาโครงการ WiLให้กบั สถานประกอบการ
10. นักศกึ ษารายงานตัว ณ สถานประกอบการตามระยะเวลาท่กี าหนด
11. อาจารย์ประจาวชิ าออกนเิ ทศงานโครงการ WiL คร้งั ที่ 1
12. อาจารย์ประจาวิชาออกนเิ ทศงานโครงการ WiL คร้งั ที่ 2
13. สถานประกอบการสง่ ตัวนักศกึ ษาฝึกโครงการ WiLกลับมหาวิทยาลยั
14. ภาควชิ าฯ จัดสอบนาเสนอรายงานโครงการ WiL
15. ภาควชิ าฯ จัดปจั ฉมิ นเิ ทศโครงการ WiLเพื่อรวบรวมปัญหาและอุปสรรคของนักศกึ ษาแตล่ ะกล่มุ
ที่ออกฝึกงานตามสถานประกอบการตา่ งๆ และให้นกั ศกึ ษาส่งเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์
35
บทที่ 6
การเขยี นรายงานโครงการ WiL
6.1 การเขยี นรายงานการปฎิบัตงิ านโครงการ WiL
การเขียนรายงานถือเป็นกจิ กรรมบังคบั ของการปฏิบัติงานโครงการ WiLมวี ัตถุประสงคเ์ พ่อื ฝึก ฝน
ทักษะการสือ่ สารของนักศึกษา และเพอื่ จัดทาขอ้ มลู ที่เป็นประโยชน์สาหรับสถาน ประกอบการนักศึกษา
จะตอ้ งขอรับคาปรึกษาจากพนักงานทป่ี รึกษา เพ่ือกาหนดหัวขอ้ รายงานทเี่ หมาะสมโดยคานึงถึงความตอ้ งการ
ของสถานประกอบการเป็นหลกั
6.2 รายงานโครงการ WiL
6.2.1 ผลงานวจิ ัยทีน่ ักศึกษาปฏบิ ัติ
รายงานวิชาการในหวั ข้อทีส่ นใจ การสรุปข้อมูลหรือสถิติบางประการ และการวเิ คราะห์และ
ประเมนิ ผลขอ้ มูล เป็นต้น
ในกรณีที่สถานประกอบการไม่ต้องการรายงานในหัวขอ้ ขา้ งต้น นกั ศึกษาจะตอ้ งพิจารณาเร่ืองที่
ตนสนใจและหยบิ ยกมาทารายงาน โดยปรึกษากับพนักงานที่ปรึกษาเสยี กอ่ น ตัวอย่างหัวข้อท่ีจะใช้เขียน
รายงาน ไดแ้ ก่ รายงานวชิ าการที่นกั ศกึ ษาสนใจ และงานวจิ ัยทที่ าเมื่อกาหนดหวั ข้อไดแ้ ล้วใหน้ ักศึกษา จัดทา
โครงร่างของเน้ือหารายงานพอสังเขป ตามแบบแจ้งโครงร่างรายงานทัง้ น้ีจะต้องได้รับความเห็นชอบจาก
พนักงานท่ีปรึกษาก่อน แล้วจดั ส่งกลับให้โครงการโครงการ WiL ภายใน 3 สปั ดาหแ์ รกของการปฏิบัติงาน
6.2.2 รายงานการปฏิบัติงานท่ีได้รบั มอบหมาย
หรือแผนและวิธกี ารปฏิบตั งิ านทจี่ ะทาใหบ้ รรลุถงึ วตั ถปุ ระสงคข์ องการเรียนรู้ทน่ี ักศึกษา
วางเปา้ หมายไว้จากการปฏบิ ัตงิ านโครงการ WiL
6.2.3 รูปแบบการเขียนรายงานการปฏบิ ตั ิงานโครงการ WiL (Co-operative Report Format)
รายงานโครงการ WiL เป็นรายงานทางวิชาการที่รวมการปฏิบัติงาน และงานวิจัยไว้ดว้ ยกัน
นกั ศกึ ษาจะต้องเขียนในระหว่างการปฏิบัตงิ าน ณ สถานประกอบการภายใตก้ ารกากับดแู ลของพนกั งา นท่ี
ปรึกษา การเขียนรายงานโครงการทีด่ ีจะต้องมคี วามถูกตอ้ ง ชดั เจนและมีความสมบูรณ์ของเนื้อหาทีจ่ ะนาเสนอ
รปู แบบและหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ จะถูกกาหนดไว้อย่างเป็นระบบจะตอ้ งประกอบด้วยรายงานการปฏิบัตงิ านและงานวิจัย
ในแต่ละสว่ น
36
6.2.4 ส่วนนา
เป็นส่วนประกอบก่อนที่จะเขา้ ถึงเน้อื หาของรายงาน ทั้งน้เี พือ่ ทาให้งา่ ยต่อการเขา้ สู่เนอ้ื หา ของ
รายงาน จะประกอบด้วย
- ปกนอก
- ปกใน
- กติ ตกิ รรมประกาศ
- บทคดั ย่อภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ
- สารบัญเร่ือง
- สารบญั ตาราง
- สารบญั รปู ภาพ
6.2.5 ส่วนเนื้อเรื่อง
เป็นส่วนที่สาคญั ทสี่ ุดของรายงาน ประกอบด้วย
- บทนา ประกอบดว้ ย รายละเอียดเก่ียวกับสถานประกอบการ และงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย เช่น
- ชื่อและทีต่ ง้ั ของสถานประกอบการ
- ลกั ษณะการประกอบการ ผลิตภณั ฑ์ / ผลิตผล หรือการให้บริการหลกั ขององค์กร
- รูปแบบการจดั องคก์ รและการบริหารงานขององค์กร
- ตาแหน่งและลกั ษณะงานท่นี กั ศกึ ษาไดร้ บั มอบหมายให้รับผิดชอบ
- พนักงานที่ปรึกษา และตาแหน่งงานของพนักงานทป่ี รึกษา
- ระยะเวลาทป่ี ฏิบัตงิ าน
- วัตถุประสงคห์ รือจุดมุ่งหมายท่ีนกั ศกึ ษาหรือพนกั งานที่ปรึกษาไดก้ าหนดไวว้ ่า จะตอ้ งให้
สาเรจ็ ภายในระยะเวลาที่กาหนด โดยอาจจะจดั ลาดับความสาคญั ของวัตถปุ ระสงค์ที่สาคัญที่สดุ ไว้ก่อน
- ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับการปฏิบตั ิงานหรือโครงการทไี่ ดร้ ับมอบหมายทง้ั ในส่วนตัวนกั ศึกษาเอง
และสว่ นทสี่ ถานประกอบการจะได้รบั
6.2.6 ส่วนประกอบตอนท้าย
เป็นสว่ นเพมิ่ เติม เพอ่ื ทาให้รายงานมีความสมบรู ณป์ ระกอบด้วย
- เอกสารอ้างองิ หรือบรรณานุกรม
- ภาคผนวก (ถา้ มี)
อย่างไรก็ตามในส่วนของเน้อื เร่ืองของรายงานโครงการ WiLอาจจะแตกต่างกนั ไปตามลักษณะ
การปฏิบัตงิ านของนักศกึ ษาแต่ละคนในแตล่ ะสถา นประกอบการ และเพือ่ ให้การเขียนรายงานโครงการของ
37
นกั ศึกษามีรูปแบบและเป็นมาตรฐานเดยี วกนั จงึ ขอกาหนดการจดั ทารูปเลม่ รายงานโครงการ WiLใหน้ ักศึกษา
ใช้รปู แบบดังตอ่ ไปน้ี
- จัดพมิ พ์บนกระดาษขนาด A4 หนา 80 แกรม โดยพิมพห์ นา้ เดยี วหรือหากเกิน 100 แผน่
ให้พิมพส์ องหนา้
- จดั พิมพ์ดว้ ยรปู แบบตัวอักษร Angsana New ขนาด 16
- จดั พิมพ์ในแนวตงั้ เป็นหลกั โดยอาจจะมีรปู ภาพหรือตารางแสดงในแนวนอน
ได้ตามความจาเป็นของข้อมูลทจ่ี ะตอ้ งนาเสนอ
- การเว้นขอบกระดาษกาหนดให้
ขอบบน 1.5 น้ิว (3.81 ซม.)
ขอบล่าง 1.0 น้ิว (2.54 ซม.)
ขอบซ้าย 1.5 นิ้ว (3.81 ซม.)
ขอบขวา 1.0 นิว้ (2.54 ซม.)
6.3 เนอ้ื หาของรายงานโครงการ WiL
โครงการ WiLกาหนดเนอ้ื หาในสว่ นเน้อื เร่ือง ของรายงานโครงการ WiLดงั น้ี
6.3.1 บทนา ประกอบดว้ ย รายละเอียดเก่ียวกับสถานประกอบการและงานท่ไี ดร้ ับมอบหมายเช่น
- ชอ่ื และที่ตั้งสถานประกอบการ
- ลักษณะการประกอบการ ผลติ ภณั ฑ์/ผลิตผล หรือการใหบ้ ริการหลักขององคก์ าร
- รูปแบบการจดั องค์กร และการบริหารงานขององคก์ ร
- ตาแหน่งและลกั ษณะงานทน่ี ักศึกษาได้รับมอบหมายให้รบั ผดิ ชอบ
- พนกั งานท่ปี รึกษา และตาแหนง่ งานของพนักงานทีป่ รึกษา
- ระยะเวลาที่ปฏิบัตงิ าน
6.3.2 วตั ถุประสงคข์ องการปฏิบตั งิ านโครงการ WiLหรือโครงงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ประกอบด้วย
- วตั ถุประสงค์หรือจดุ มุ่งหมายที่นักศกึ ษาพนักงานทปี่ รึกษาได้กา หนดไว้ ว่าจะต้องให้
สาเรจ็ ภายในระยะเวลาทก่ี าหนด โดยอาจจะจดั ลาดบั ความสาคัญของวัตถปุ ระสงค์ท่สี าคญั ทสี่ ุดไว้ก่อน
- ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับจากการปฏบิ ัตงิ านหรือโครงงานท่ไี ด้รบั มอบหมายทัง้ ในส่วนตวั
นกั ศึกษาเองและส่วนทสี่ ถานประกอบการจะไดร้ ับ
38
6.3.3 งานทปี่ ฏิบัตหิ รือโครงงานท่ีได้รับมอบหมาย ประกอบด้วย
- รายละเอยี ดงานท่นี กั ศึกษาปฏบิ ัติ โดยเขียนอธิบายขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงานหรือข้นั ตอน
ปฏบิ ตั ใิ นโครงงานที่ไดร้ ับมอบหมาย
- แสดงภาพ แผนภมู ิ หรือตารางทจี่ าเป็นประกอบคาอธิบาย
- แสดงการคานวณหรือทมี่ าของสญั ลกั ษณท์ างคณติ ศาสตร์ทชี่ ดั เจนถกู ต้องตามหลัก
วิชาการและง่ายต่อการเขา้ ใจ
- หากเป็นการทาปฏบิ ตั ิการในหอ้ งปฏบิ ตั ิการทดลอง ควรอธิบายเครื่องมือปฏิบัตกิ ารทีใ่ ช้
อย่างชดั เจน
6.3.4 สรุปผลการศกึ ษาหรอื ผลการปฏิบตั งิ าน
- รวบรวมและแสดงข้อมลุ ทจี่ าเป็นสาหรบั การวิเคราะห์
- วเิ คราะหแ์ ละแสดงขอ้ มลุ ทีจ่ าเป็นสาหรบั การวเิ คราะห์
- วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณข์ ้อมลู ได้โดยมีขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการแก้ไขปัยหาหรือ
ข้อผิดพลาดท่ีเกดิ ข้นึ โดยเน้นในแง่การนาไปใชป้ ระโยชน์ไดใ้ นอนาคต
- เปรียบเทยี บผลที่ไดร้ บั กับวตั ถปุ ระสงคห์ รือจุดมงุ่ หมายของการปฏบิ ตั ิงานหรือของดครง
งานท่ีไดก้ าหนดไวใ้ นขอ้ 6.2.2
39
บรรณานกุ รม
ณเดช นรี ะ (2552). มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ค่มู อื โครงการ WiLทางวิทยาศาสตร์ประจาปีการศึกษา 2552.
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . (2551). หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์สง่ิ แวดล้อม
หลักสตู รปรับปรงุ 2551.
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. (2550). ค่มู ือโครงการ WiL 2549-2550.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี. (2549). คู่มือโครงการ WiL 2548-2549.
วนันพรณ์ ชนื่ พบิ ูลย์ (2548), มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. ค่มู อื โครงการ WiL 2548.
สมาคมโครงการ WiLไทย. (2552). มาตรฐานและการประกันคุณภาพการดาเนินงานโครงการ WiL:
นครราชสมี า
สานักวิศวกรรมศาสตร์.(2562). แผนการเรียนการสอนวิศวกรรมการผลิตอัตโนมัติ.สบื ค้นจาก
https://www.mae-sut.com/manufacturing-automation-robotics-e
สานักขา่ วสยามรฐั .(2564). แผนลักสูตรสร้างอาชพี ให้คนท้องถนิ่ . สืบค้นจาก
https://siamrath.co.th/n/328442