บทที่ 1
บทนำ
1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา
ในปัจจุบันและอนาคตประเทศไทยมแี นวนโยบายอยา่ งชดั เจนในการส่งเสริมการจัดการเรยี นการสอน
แบบบูรณาการการเรียนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning : WIiL) ทั้งในระดับอาชีวศึกษาและ
อุดมศึกษาโดยบรรจุไว้ในแนวนโยบายและแผนงานทุกระดับ ต้ังแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ดว้ ยการส่งเสริมการทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดระหว่างสถาบันการศกึ ษาและ
ภาคอุตสาหกรรม ทั้งด้านการพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมและเตรียมความพร้อมของบุคลากรที่จะเข้าสู่
ภาคอุตสาหกรรม โดยผ่านระบบการศึกษาทวิภาคีและสหกิจศึกษา (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำนักนายกรัฐมนตรี, 2559, หน้า 6) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 -
2574 มีจุดมุ่งหมายหน่ึงที่สำคัญ คือ การศึก ษาเพ่ือการมีงานทำและสร้างงานได้ มีเป้าหมายให้
สถาบันการศึกษาจัดการศึกษารูปแบบทวิภาคี/สหกิจศึกษา/หลักสูตรโรงเรียนโรงงานตามมาตรฐานท่ีกำหนด
เพ่ิมข้ึน แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ได้นำเสนอแนวโน้ม
การดำเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการในอนาคตด้านการผลติ และพัฒนากำลังคนรองรับการพฒั นาประเทศ
ดว้ ยการเร่งประสานงานกับภาคเอกชนเข้ามาร่วมสนับสนุนการจัดการศึกษา การจดั การเรียนการสอนทวิภาคี
การบรู ณาการการเรยี นรู้ควบคู่กบั การทำงานร่วมกบั สถานประกอบการ โดยม่งุ เนน้ ใหน้ กั เรยี น นักศกึ ษาได้ฝึก
ทักษะฝีมือควบคู่กับการฝึกทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อให้มีสมรรถนะที่เป็นไปตามความต้องการของ
สถานประกอบการ (สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2560, หน้า 52)
จากข้อมูลดังกล่าวจะพบว่าประเทศไทยมีแนวทางการส่งเสริมการจัดการศึกษาแบบบูรณาการการ
เรียนกับการทำงานอย่างจริงจังและเป็นระบบ แต่ยังมีประเด็นต้องพิจารณาอย่างรอบคอบว่าสถาน
ประกอบการตา่ ง ๆ ท่ใี หค้ วามร่วมมอื ในการจดั การเรียนการสอนมีความพร้อมมากนอ้ ยเพียงไร จากการสำรวจ
สภาพปัญหาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงานในสถานศึกษาและสถานประกอบการ
จำนวน 40 แห่ง ที่จัดมามากกว่า 10 ปี เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 พบหน่ึงในหลาย ๆ ปัญหา 3 อันดับ
แรก คอื 1) งานท่นี กั ศึกษาไปปฏิบตั งิ านในสถานประกอบการเป็นงานที่ไมม่ คี ณุ ภาพไม่มีการกำหนดบคุ ลากรท่ี
รบั ผิดชอบอย่างชัดเจน 2) ขาดการกำกับติดตามความก้าวหน้าของผู้เรียนในระหว่างการปฏิบัติงาน 3) ขาด
ความร่วมมือจากบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (อลงกต ยะไวทย์ และณัฐวัฒม์ วงษ์ชวลิตกุล, 2562, หน้า 3)
ประเด็นดงั กล่าวจำเป็นจะตอ้ งหาแนวทางการแกไ้ ขปญั หาโดยเฉพาะในระหวา่ งนักศกึ ษาปฏิบัตงิ านอย่ใู นสถาน
ประกอบการต้องมีสภาวะแวดล้อมการเรยี นอยา่ งไรจึงจะทำให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลลัพธ์การเรยี นรู้ได้อยา่ ง
มีประสิทธิภาพ นักศึกษาต้องไม่ถูกนำไปทดแทนแรงงานท่ีขาดหรือเปน็ แรงงานราคาถูกในสถานประกอบการ
ซ่ึงเปน็ ความสูญเปลา่ ทางการศกึ ษา และไม่สามารถบรรลแุ ผนการจดั การศกึ ษาของประเทศได้
ในภาคอุตสาหกรรม ได้นำระบบอัตโนมัติมาใช้ในกระบวนการผลิตอย่างกว้างขวาง อาทิ เช่น
อุตสาหกรรมการผลิตอาหารและเคร่ืองดื่ม การบรรจุผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมยา
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและน้ำมัน อุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์และชิ้นส่วน ที่ได้มีการใช้หุ่นยนต์อัตโนมัติ
ฯลฯ ตลอดจนภาคอุตสาหกรรมบริการ ที่มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศด้านระบบอัตโนมัติที่
สูงข้ึน ดังน้ัน วิศวกรที่ปฏิบัติงานในสายงานดังกลา่ ว จึงต้องมีองค์ความรู้และทักษะท่ีครอบคลุมดา้ นการผลิต
อัตโนมัติ เทคโนโลยีสมัยใหม่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการจัดการอุตสาหกรรม เพ่ือให้สามารถทำงาน
ผสมผสานและบูรณาการเชิงวิศวกรรมได้อย่างมีประสิทธภิ าพ (มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, สาขาวิชา
วศิ วกรรมการผลติ อตั โนมัต,ิ 2564, หน้า 11)
ดังน้นั ผูว้ จิ ัยจงึ มีแนวคิดทจ่ี ะพฒั นาระบบดำเนินงานการเรยี นการสอนเชิงบูรณาการการเรยี นรู้กบั การ
ทำงานให้มีประสิทธิภาพในการใช้งานในอนาคต ให้แก่สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิตอัตโนมัติ คณะเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์
1.2 วตั ถุประสงคก์ ารวิจัย
การวจิ ัยครัง้ น้ี มวี ัตถุประสงคก์ ารวิจัยดังน้ี
1.2.1 เพือ่ จัดทำคมู่ ือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนเชิงบรู ณาการการเรยี นรู้กับการทำงาน
1.2.2 เพือ่ สร้างระบบจบั คู่ระหว่างสถานประกอบการกับนักศึกษาของระบบการจัดการเรียนรู้กบั การ
ทำงาน
1.3 ขอบเขตการวจิ ยั
การวจิ ัยคร้งั นี้ มขี อบเขตการวจิ ยั ดงั น้ี
1.3.1 ขอบเขตด้านเนือ้ หา
เป็นการศึกษาคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการการเรียนรกู้ ับการทำงาน
และการพัฒนาระบบท่ีเกย่ี วกับการจับคูร่ ะหวา่ งนักศึกษากับสถานประกอบการ
1.3.2 ขอบเขตด้านระยะเวลา
การวิจยั เร่มิ ตน้ ตั้งแต่ เดือนมกราคม ถงึ เดือนเมษายน พ.ศ. 2565
1.4 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ตวั แปรตาม
ผวู้ ิจยั มีแนวคดิ การวจิ ยั ดังนี้ ระบบจับครู่ ะหวา่ งสถาน
ตัวแปรตน้ ประกอบการกบั นกั ศกึ ษาของระบบ
การจัดการเรยี นรูก้ ับการทำงาน
ศกึ ษาการดำเนนิ งานการ
จัดการเรียนการสอนเชงิ บูรณา
การกบั การทำงาน
1.5 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
การวิจยั คร้ังนี้ มนี ิยามศัพท์เฉพาะดงั นี้
1.5.1 การจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการการเรยี นรู้กับการทำงาน (Work-Integrated Learning
: WiL) หมายถึง การจัดการเรียนให้แก่ผ้เู รยี นด้วยการเชื่อมโยงสาระการเรยี นรู้ในช้ันเรียนหรอื สถานศึกษากับ
ประสบการณ์การทำงานในแหล่งเรยี นรู้ในสภาพจริงนอกสถานศึกษาท่ีได้รับการออกแบบไวใ้ นหลักสูตรอย่าง
เป็นระบบเพอื่ ให้ผู้เรียนบรรลุผลลัพธ์การเรยี นรู้ตามท่ีกำหนด
1.5.2 นักศึกษา หมายถึง นสิ ิต หรอื นกั เรียนที่ไดร้ ับมอบหมายใหร้ บั ผดิ ชอบการบูรณาการจัดการเรียน
การสอนกับการทำงานในสถานศกึ ษา
1.5.3 สถานประกอบการ หมายถึง องค์กรหรือหนว่ ยงานท่ีประกอบการกจิ การท้ังภาครฐั และเอกชน
ทีเ่ ป็นผ้ใู ชบ้ ณั ฑิต ใชเ้ ปน็ สถานทท่ี ำงานในสภาพจริงของกลุม่ วิชาชพี
1.5.4 ระบบการจับคู่ หมายถึง เป็นการจับคู่ระหว่างนักศึกษากับสถานประกอบท่ีมีความต้องการ
เหมอื นกันหรอื ใกล้เคยี งกนั
1.6 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รับ
การวิจัยครั้งนี้ มปี ระโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั ดังน้ี
1.6.1 นักศึกษาและสถานประกอบการมีความเข้าใจเก่ียวกับโครงการการจัดการเรียนการสอนเชิง
บูรณาการกบั การทำงาน
1.6.2 การจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการกับการทำงาน มีแนวทางท่ีนักศึกษาและสถาน
ประกอบการเขา้ ถงึ ได้
1.6.3 ไดแ้ นวทางและระบบการจัดการเรยี นการสอนเชิงบรู ณาการการเรียนรู้กบั การทำงาน
1.6.4 สามารถนำแนวทางและระบบการจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการการเรียนรู้กบั การทำงาน
ไปประยุกตใ์ ชใ้ นองค์กรได้
เอกสารอ้างองิ
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี ๑๒
(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔). กระทรวงศึกษาธกิ าร.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหง่ ชาติ ฉบบั ที่สิบสอง พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔. สำนักงานนายกรฐั มนตร.ี
อลงกต ยะไวทย์ และณัฐวัฒม์ วงษ์ชวลิตกุล. (2562). การพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนโดยการสร้าง
สภาวะแวดล้อมการเรียนด้วยการทำงานในสภาพจริง. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ,
47(2), 407-427.
คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม. (2564). รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2). มหาวทิ ยาราชภัฏราชนครนิ ทร.์
บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจัยท่เี กย่ี วขอ้ ง
ในการศึกษาวจิ ยั เรือ่ ง การจดั การเรียนการสอนเชงิ บรู ณาการเรียนรกู้ ับการทำงานผวู้ จิ ยั ได้ศกึ ษา
เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวข้อง ดงั น้ี
2.1 แนวทางการจดั การเรียนการสอนเชงิ บรู ณาการกับการทำงาน
2.2 แนวทฤษฎีที่เกยี่ วขอ้ งการจัดการเรยี นการสอนเชิงบรู ณาการกับการทำงาน
2.3 ทฤษฎีเกีย่ วกบั ระบบแมทช่ิง
2.4 งานวจิ ัยที่เกย่ี วขอ้ ง
2.1 แนวทางการจดั การเรยี นการสอนเชงิ บรู ณาการกับการทำงาน
2.2.1 ความเป็นมาของการจัดการศึกษาทีบ่ รู ณาการเรียนรกู้ ับการทำงาน
WIL มาจากการผสมของคำสามคำ คือ Work Integrated Leaning แปลว่า การบรู ณาการการเรียนรู้
กับการทำงาน กล่าวคือ การผสมกลมกลืนกันระหว่างประสบการณ์ทำงานทางวชาชีพนอกห้องเรียนกับการ
เรียนในห้องเรียนท่ีทางสถาบันหรอื ศนู ยแ์ ละสถานระกอบการณ์จัดการร่วมกัน มหาวิทยาลัย RMIT อธบิ ายว่า
Work Integrated Learning (WIL) คำศัพท์ท่ีให้ไว้กับกิจกรรมหรือโปรแกรมซ่ึงบูรณาการเข้ากับการเรียนรู้
ทางวิชาการพร้อมกับการประยุกต์เข้ากับสถานท่ีทำงาน การฝึกอาจจำลองขึ้นหรือมาจากสถานการณ์จริง ที่
อาจเกดขึ้นในสถานท่ีทำงาน ท่ีมหาวิทยาลัยออนไลน์ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนมีต้นแบบมาจาก
ประเทศแถบตะวันตก ในคู่มือ Work Integrated Learning: Good Practice Guide (2011) ระบุว่า แต่เดิม
น้นั WIL เปน็ คำทใ่ี ช้มีจุดมุ่งหมายเพอ่ื ส่งเสรมิ การเรียนรูข้ องนักเรยี น ด้วยเหตุนี้ รปู แบบหลักสูตรการสอนและ
การประเมินผลหลายรปู แบบจงึ ได้พัฒนาขึ้น เพ่ือตอบสนองต่อความกังวลเก่ียวกบั ความสามารถในการเรยี นรู้
การจ้างงาน และความรับผิดชอบของผู้เรียน WIL จึงครอบคลุมไปถึงด้านต่างๆ ตัวอย่างเช่น การเรียนรู้จาก
การปฏิบัติ การฝึกงาน สหกิจศึกษา การเรียนรู้จากประสบการณ์ การจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหา
ความรู้ การเรียนรู้แบบสหวิชาชีพ การเรียนร้ตู ามแนวโครงร่างการเรียนรจู้ ากปัญหา การเรียนรู้ตามโครงงาน
การเรยี นรู้ตามสถานการณ์ การใหบ้ ริหาร การเรียนรู้เปน็ ทีม การเรยี นรู้แบบ WIL แบบจำลอง การเรยี นรู้จาก
งาน ประสบการณ์การทำงาน การเรยี นในสถานทที่ ำงาน เปน็ ต้น (ฉตั รชัย พ่มุ ชูศักด์ิ, 2564)
การบูรณาการเรียนกับการทำงาน (Work Integrated Learning: Wil) เป็นการผสมผสานกลมกลืน
กนั ระหวา่ งประสบการณ์ทำงานทางวิชาชพี นอกหอ้ งเรยี นกบั การเรยี นในหอ้ งเรียน อาจอยู่ในรปู แบบของการ
ศึกษาวิจัย การฝึกงาน สหกิจศึกษา การทำงานเพื่อสังคม การทำงานในสถานประกอบการ หรือการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพ เป็นต้น การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงานเป็นการสร้าง
สะพานเชื่อมโยงระหว่างการศึกษาในปัจจุบันของผู้เรียนกับวิชาชีพในอนาคต เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้
ประยุกต์ใช้และผสมผสานความรู้ทางทฤษฎีที่ได้จากการเรียนกับประสบการณ์การฝึกปฏิบัติในสถาน
ประกอบการท่ีอยู่ในโลกแห่งความจริง (real world) จงึ เป็นกรณีหนึ่งของการเรียนรเู ชงิ ประสอบการณ์ทชี่ ่วย
ใหผ้ ู้เรียนมีโอกาสในการประยุกต์ความรูท้ ักษะการทำงาน และทกั ษะเฉพาะที่สมั พนั ธ์กับวิชาชพี ได้รจู้ ักชีวติ ท่ี
แท้จริงของการทำงาน ช่วยให้ผู้เรยี นได้พัฒนาความรู้ ความตระหนกั มุมมอง และความเช่อื มั่นเพื่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในตวั ผูเ้ รียน ทั้งความรู้ ทัศนคติ ทักษะ และบุคลิกภาพ เป็นการสร้างโอกาสให้แก่ผเู้ รยี นด้วยการ
ปฏิบัติงานในหน่วยงานภายนอกก่อนปีสุดท้ายท่ีจะสำเร็จการศึกษา เพ่ือให้ผู้สำเรจ็ การศึกษามีความพรอ้ มใน
การทำงานเม่ือสำเรจ็ การศกึ ษา
ในประเทศไทยและต่างประเทศมีการจดั การเรยี นการสอนแบบบูรณาการการการเรียนกับการทำงาน
ทั้งในรูปแบบสหกิจศึกษา และรูปแบบอ่ืน ๆ ท่ีมีความสำคัญและมีประโยชน์ทั้งต่อผู้เรียน สถาบันการศึกษา
และสถานประกอบกา เช่น นักศกึ ษามีผลการเรียนดีขึ้น เกิดการพัฒนาตนเอง และมั่นใจในตนเองมากข้ึน เป็น
ต้น ช่วยให้สถาบันการศึกษามีความร่วมมือทางวิชาการและความสัมพันธ์ที่ดีกับสถานประกอบการ ได้ข้อมูล
ย้อนกลับมาปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอน และได้รับการยอมรับจากตลาดแรงงาน และสถาน
ประกอบการจะมีนักศึกษาช่วยปฏิบตั ิงานตลอดปี พนกั งานประจำมีเวลาทจ่ี ะทำงานสำคัญมากข้ึน และใช้เป็น
วิธีคัดเลือกพนักงานได้ถูกต้องเหมาะสม เป็นต้น มีผู้ศึกษาถึงประโยชน์ของการบูรณาการการเรียนกับการ
ทำงาน เช่น Crequis, A. และคนอ่ืน ๆ พบว่าเป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้พัฒนาขีดความสามารถและ
พัฒนาความสามารถการได้งานทำและการรักษาสภาพการถูกจ้างงาน (employability) เปิดโอกาสให้สถาน
ประกอบการได้คดั เลอื กพนักงานรุ่นใหมท่ ีร่ ู้และเข้าใจสภาพการดำเนนิ งานของสถานประกอบการแล้วเป็นการ
ปรับปรุงคุณภาพของสถานศึกษาดว้ ย (ดร.อลงกต ยะไวทย์ และคณะ, 2562)
เปน็ การสร้างคณุ ภาพการศึกษาทม่ี ีความแตกต่างกับการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นการจดั กิจกรรมใน
ชน้ั เรยี นหรือมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นการจดั การเรียนการสอนแบบเดมิ ที่ผ่ามา Cooper et al. (2010) ให้มุมมอง
ประโยชน์ของการจดั การศึกษาเชิงบรู ณาการกับการทำงาน ในเชงิ การลงทนุ ในอนาคตไว้ 4 ประเด็น ดงั นี้
- การจัดการศกึ ษาเชิงบูรณาการกับการทำงานเป็นการลงทุนในเชงิ ความยัง่ ยืนขององคก์ ร
เนื่องจากบุลคากรในอนาคตต้องเป็นผู้มีความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่มั่นใจได้ว่าจะ
ทำใหอ้ งค์กรมีความเข้มแข็งทา่ มกลางความตอ้ งการที่เปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลา
- การจดั การศึกษาเชงิ บรู ณาการกับการทำงานเป็นการลงทุนเพอื่ พฒั นาผู้เรยี นให้เปน็ มือ
อาชีพ ทงั้ ในสว่ นของการพฒั นาเฉพาะบคุ คล การจัดการศึกษาเพ่ือการเปน็ พลเมอื ง อนั มี
ผลต่อการจา้ งงานและการอยูร่ ว่ มกนั ในสังคมแหง่ อนาคต
- การจัดการเรียนเชิงบูรณาการกับการทำงานเป็นการลงทุนเพ่ือสร้างความยั่งยืนในการ
พัฒนากำลังคนแก่สถาบันอุดมศึกษา องค์กรท่ีให้ความร่วมมือ และชุมชนในท้องถ่ินท่ีมี
สว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา
- การจัดการเรยี นการสอนเชิงบูรณาการกับการทำงานเป็นการลงทุนเพ่ืออนาคตท่ีดีของ
ชมุ ชนและสังคมในภาพรวม เน่ืองจากการบูรณาการทฤษฎีฝึกปฏิบัติ และความรู้ในการ
ดำรงชีวิตเพื่อพัฒนาคนรุ่นใหม่ให้มีความสามารถท้ังด้านนวัตกรรม วิชาชีพ และความ
เป็นพลเมือง จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงผู้เรียนท้ังทักษะ ความรู้ และเจตคติด้วยการเรียน
การสอนเชงิ บรู ณาการกบั การทำงาน
Kramer และ Usher (2011: 22) สำรวจความเห็นของนักศึกษาปริญญาตรี 2,148 คน ของ
มหาวิทยาลัยในประเทศแคนาดาชว่ งเดือนมกราคม ค.ศ. 2011 ทางระบบออนไลน์ถึงประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการ
จัดการศกึ ษาเชิงบูรณาการกับการทำงานแบบมีโครงสร้าง (Structured Work Experiences) พบวา่ การเรยี น
แบบสหกิจศึกษาและการฝกึ งานใหป้ ระโยชน์ ดงั นี้
1. ทำใหเ้ กิดความคิดรวบยอดจากการเรียนในชน้ั เรียนและการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ในสถานการณ์
จรงิ
2. ชว่ ยให้เกิดทักษะการคิดวเิ คราะหอ์ ยา่ งมีวจิ ารญาณ การแกป้ ัญหา และการตดั สนิ ใจ
3. ชว่ ยใหเ้ ดความรแู้ ละทักษะดา้ นเทคนคิ ในสาขาวชิ าชีพ
4. ช่วยให้เกดิ ความเขา้ ใจวฒั นธรรม ธรรมเนยี มปฏิบตั ิ และพฤตกิ รรมขององคก์ รทปี่ ฏิบตั งิ าน
5. ช่วยใหเ้ กิดทักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล เช่น ทกั ษะการทำงานเป็นทมี ทกั ษะการ
สอื่ สาร ทักษะการแกไ้ ขปัญหาความขดั แยง้ และอ่นื ๆ
6. ช่วยใหเ้ กิดเป้าหมายของชีวิตในนาคต
7. ช่วยใหห้ างานไดง้ ่ายขน้ึ เมื่อสำเรจ็ การศกึ ษา
8. ช่วยใหห้ างานทต่ี รงตามสาขาวิชาชีพได้ง่ายขึ้นเม่ือสำเร็จการศกึ ษา
การจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการกับการทำงานมีเป้าหมาย คือ ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่
สอดรับกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ.) ทั้งน้ี มุ่งเน้น
ความร่วมมือ ความพรอ้ มของสถานศึกษาและแหล่งเรียนร้ใู นสภาพจริง โดยมกี ระบวนการดำเนนิ งานเปน็ ไปใน
ทศิ ทางเดียวกัน มกี ารกำกบั ตดิ ตามผลการดำเนนิ งาน ตามภาพท่ี 2.1
ภาพที่ 2.1 เป้าหมายของความร่วมมือกันจัดการเรียนการสอนเชงบูรณาการกับการทำงาน คือ
ผลลัพธท์ ี่ต้องการให้เกิดข้นึ ในตัวผู้เรียน (เครือข่ายพฒั นาสหกิจศึกษาภาคใตต้ อนบน, 2560)
การจัดการศึกษาแบบบูรณาการการเรียนรู้กับการทำงาน ซ่ึงเป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงที่
สถาบันอุดมศึกษาและสถานประกอบการดำเนินการร่วมกันอย่างเป็นระบบ โดยให้นักศึกษาได้เรียนรู้ใน
สถาบันอุดมศึกษาควบคู่กับการนำความรู้ไปทดลองปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ ทำให้นักศึกษามี
สมรรถนะความรู้ (Knowledge) ทกั ษะ (Skills) และเจตคติ (Attitude) โดยมีหลักการสำคญั คือ 1) การผลิต
บัณฑิตให้มีสมรรถะสอดคล้องกับตลาดแรงงาน และมีความพร้อมสู่โลกของการทำงานจริง 2) การทำงานใน
ลักษณะเครือข่ายร่วมกันระหว่างสถาบันอุดมศึกษากับสถานประกอบการและ 3) การดำเนินการท่ีเกิด
ประโยชนร์ ว่ มกันท้ัง 3 ฝา่ ย คอื นักศึกษา สถาบนั อดุ มศึกษา และสถานประกอบการ
สภาคุณภาพการอุดมศึกษาของเมืองออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา (Higher Education Quality
Council, 2016, p. 15) ได้สรปุ คุณประโยชน์ท่ีเกิดจากแนวคิดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงานของผู้ที่
เก่ียวข้องแตล่ ะฝ่าย ดังน้ี
ตารางที่ 2 สรุปคุณประโยชน์ทเ่ี กดิ จากแนวคิดการศึกษาเชิงบูรณาการกบั การทำงาน
2.2.2 รูปแบบการจดั การศกึ ษาแบบบูรณาการการเรียนรู้กบั การทำงาน
การจัดการเรียนการสอนทบ่ี รู ณาการกับการทางาน (Work-integrated Learning: WIL) เป็นรปู แบบ
การจัดการเรียนการสอนรูปแบบหน่ึงท่ีมีต้นแบบมาจากประเทศแถบตะวันตก โดยเน้นการเรียนในช้ันเรียน
ควบคู่ไปกับการทางานในสถานประกอบการจริง เพ่ือเปดิ โอกาสให้นักศกึ ษาไดป้ ระยุกต์ใชค้ วามรู้ทางวิชาการท่ี
ได้จากในห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ในการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการท่ีอยู่ในโลกแห่งความเป็นจริง ซึ่ง
สามารถแบ่งรูปแบบของ WIL ได้หลายประเภท ซ่ึงแต่ละวิธีก็จะมีหลักการท่ีแตกต่าง เช่น รูปแบบของ WIL
ตามแนวคดิ ของ ดร.สุเมธ แย้มนุ่น (2547) ทแ่ี บ่งออกเป็น 9 รปู แบบ ไดแ้ ก่ (แผนการจดั การเรยี นรูแ้ บบบูรณา
การกบั การทำงาน สาขาวิชาการจดั การธุรกจิ โรงแรม คณะวทิ ยาการจดั การ, 2563)
1. Cooperative Education หรือ สหกจิ ศึกษา เป็นระบบการศึกษาท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้โดย
ใช้ประสบการณ์จากการทำงานจริงเป็นหลัก หรือเป็นโครงการพิเศษทมี่ ีประโยชน์กับสถานประกอบการ โดย
บรู ณาการทฤษฎีและการปฏบิ ตั ิผ่านโครงการหรอื งานประจำเพ่ือเพม่ิ ขดี ความสามารถในการทำงาน
2. Pre-course Experience เป็นกิจกรรมท่ีจัดให้ผู้เรียนได้เข้าไปสัมผัสประสบการณ์ เพ่ือเรียนรู้
บทบาทของผูป้ ระกอบอาชพี ทีผ่ ู้เรยี นสนใจก่อนการเรียนในเน้ือหาตามหลักสตู รหรอื ก่อนเลอื กสาขาวชิ าเอก
3. Sandwich Course เป็นระบบการเรียนการสอนท่ีสลับการเรียนในสถาบันอุดมศึกษากับการ
ทำงานในสภาพจริงอย่างต่อเน่ืองตลอดหลักสูตร เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้จากสถาบันอุดมศึกษาไป
ประยุกต์ใช้ในการทำงาน และนำประสบการณ์จากการทำงานกลับมาเป็นประเด็นสำหรับการเรียนใน
อุดมศกึ ษา โดยผู้เรยี นต้องมลี ักษณะงานซบั ซ้อนขนึ้ ตามชน้ั ปหี รือรายวิชาทศี่ ึกษา
4. Cognitive Apprenticeship หรือ job Shadowing เป็นการมุ่งเน้นการสังเกตพฤติกรรม และการ
ซึมซับวัฒนธรรมองค์กร โดยการเรียนรู้ประสบการณ์จากพฤติกรรมการทำงานของผู้ที่ประสบความสำเร็จใน
การทำงานหรอื บคุ คลต้นแบบด้วยการสังเกต การพดู คุย และการทำงานร่วมกนั
5. Joint Industry University Course เป็นระบบการเรียนการสอนท่ีร่วมกันจัดทำหลักสูตรและ
จัดการเรียนการสอนระหว่างสถาบันอุดมศึกษากับภาคอุตสาหกรรมท่ีมีองค์ความรู้ในสาขาวิชาชีพนั้น ๆ
เพอ่ื ให้บณั ฑิตเกิดผลลพั ธ์การเรยี นรตู้ รงตามความต้องการ
6. New Traineeship หรือ Apprenticeship เปน็ การฝกึ งานที่มีการจดั ระบบการเตรยี มการและการ
ฝึกงานในสถานที่หรือนอกสถานที่ท่ีมีโครงการดำเนินงานชัดเจน มีการเตรียมผู้เรียนในตำแหน่งที่สถาน
ประกอบการต้องการก่อนสำเรจ็ การศึกษา และเม่อื ผู้เรียนสำเร็จการศกึ ษาควรไดร้ ับเข้าทำงานในตำแหนง่ น้ัน
ทนั ที
7. Placement หรือ Practicum เป็นระบบการเรยี นการสอนที่จดั ให้ผู้เรียนทำงานหรือฝกึ งานเฉพาะ
ตำแหน่งในภาพจริงหลังจากที่เรียนในสถาบันอุดมศึกษาไปแล้วระยะเวลาหน่ึง โดยผู้เรียนสามารถเรียน
รายวชิ าท่มี ีเน้อื หากบั งานควบค่กู ัน เพอื่ พัฒนาทักษะหรือประสบการณท์ ่ีจำเป็นในอนาคต
8. Fieldwork เปน็ การปฏิบัติงานหรือสังเกตการทำงานในสถานทีจ่ ริง โดยผู้เรียนปฏบิ ัติในชุมชนหรือ
พน้ื ท่ีภูมิประเทศในรปู แบบต่าง ๆ ด้วยการสลับกับการเรียนในสถาบันอุดมศึกษา ซง่ึ การปฏิบัติงานภาคสนาม
แตล่ ะช่วงจะมคี วามต่อเน่อื งจากงา่ ยไปยากเมอื่ ช้นั ปขี องผู้เรียนสูงข้นึ
9. Post-course Internship เป็นการเสริมสร้างประสบการณ์ในการปฏิบัติงานภายหลังจากสำเร็จ
การศึกษาภาคทฤษฎี โดยเน้นให้ผู้เรียนทำงานในสภาพจริง ฝึกการใช้ความคิดรวบยอดจากเรียนใน
สถาบันอุดมศึกษาครบตลอดหลักสตู ร ซ่ึงผู้เรียนสามารถเรียนรายวิชาท่มี ีเนื้อหาสมั พนั ธ์กับงาน ในช่วงสุดทา้ ย
เพอ่ื เติมเตม็ ความรกู้ ่อนสำเร็จการศกึ ษา
วธิ กี ารจดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการการเรยี นกับการทำงานในแต่ละรูปแบบมีความแตกต่างกัน
ได้มีการสังเคราะห์ใจความสำคัญของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงาน 10
รปู แบบ จากสถาบันการศึกษาท่ีเป็นที่รู้จักทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ รวม 22 แห่ง รายละเอียด ดัง
รปู ภาพที่ 2.2
รปู ภาพท่ี 2.2 ความหมายและหัวใจสำคญั ของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนกบั
การทำงานแต่ละประเภท (ดร. อลงกต ยะไวทย์, นายทนงค์ เขียวแกว้ , นางสาวณภัทธริ า มงุ่ ธนวรกุล, 2560)
2.2.3 หลกั การและแนวคดิ การจดั การเรยี นรู้ควบคู่กับการทำงาน
การจัดการเรียนรู้ควบคู่กับการทำงาน หมายถึง ระบบการศึกษาท่ีเน้นการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
มุ่งเน้นเพิ่มคุณภาพบัณฑิตให้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน โดยการเรียนรู้พ้ืนฐานของการแก้ไข
ปัญหาและการปฏิบตั ิงานจรงิ ใจภาคอุตสาหกรรม (Problem Based Leaning) โดยการสนบั สนุนให้นักศึกษา
มโี อกาสประยุกต์ความรู้ ทักษะการทำงาน ทักษะเฉพาะท่ีสัมพันธ์กับวิชาชีพ ได้รู้จกั ชีวิตการทำงานท่ีแท้จรง
กอ่ นสำเร็จการศกึ ษา ตวั อยา่ งของ WIL มหี ลายทกั ษะ เช่น สหกจิ ศึกษา Practice School ฯลฯ
การจัดการเรียนรู้ควบคู่กับการทำงาน เป็นการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ที่ช่วยให้นักศึกษามีโอกาสใน
การประยุกต์ความรู้ทักษะการทำงาน และทักษะท่ีสัมพันธ์กับวิชาชีพ ได้รู้จักชีวิตการทำงานที่แท้จริงก่อน
สำเร็จการศึกษา จุดมุ่งหมายการพฒั นาด้วยการจัดการเรียนรู้ควบคู่กบั การทำงาน ก็คอื สถาบันการศึกษาได้มี
การเชื่อมโยงโลกการศึกษากับภาคธรุ กจิ อุตสาหกรรมเข้าด้วยกนั ทำให้ประเทศมที รพั ยากรมนษุ ย์ที่มสี มรรถนะ
สูง สามารถแข่งขันในระดับนานาชาติได้ ซึ่งโครงสร้างความร่วมมือ ประกอบด้วย สถานศึกษา สถาน
ประกอบการ องค์กรวิชาชีพ นอกจากน้ีสถานประกอบการและสถาบันอุดมศึกษายังได้รับประโยชน์ในเชิง
ความร่วมมือและการพัฒนาปรับปรุงงานและหลกั สูตร(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรี เดช ช่ืนประภานุสรณ์, ดร.
องศอ์ ร สงวนญาติ, นางจงกล บญุ ชาติ, นายสราวุธ ชมบวั ทอง, นางกญั ชลุ ี มลู พฒั น์, 2559)
หลักการและแนวคิดการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงาน ได้มีการเสนอ
แนวคดิ การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงานจากผลการศกึ ษาปัจจยั ความสำเรจ็ ของ
การจัดการศกึ ษาเชิงบูรณาการกับการทำงานสำหรบั อดุ มศึกษาไทย โดยศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง
การสำรวจภาคสนาม สังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม สัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานท่ีเก่ียวข้อง
การศึกษากรณีปฏิบัติดีเด่น การระดมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ สรุปข้อคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิและ
แบบสอบถามกับกลุม่ ตัวอย่าง ท้ังภาคประกอบการ ภาคการศึกษา ภาคสมาคมวิชาชีพ และภาคแรงงาน รวม
349 คน ผลการวิจัยไดแ้ บบจำลองเจดยี ์ (WIL Pagoda Model) ตามรปู ภาพที่ 2.2
รปู ภาพที่ 2.2 แบบจำลองเจดีย์ WIL (WIL Pagoda Model)
มพี ื้นฐานมาจากเจดีย์ซงึ่ เป็นสถาปัตยกรรมทางพุทธศาสนา สะท้อนพลังความคดิ แบบชาวตะวันออก
แบบจำลอง WIL Pagoda Model มีองค์ประกอบสำคญั 3 ประการ เรียกว่า [4 หลัก]x [6 ชั้น] x [3 ปัจจัย
สนับสนนุ ] มีรายละเอยี ดดังน้ี
[4 หลัก]
อาศัยหลักการสำคัญของการสร้างเจดีย์ 4 ประการ ประกอบด้วย (1) มีลักษณะเป็นชั้น ๆ(Layering
approach) (2) ความเช่ือมประสาน (Connectivity) (3) ความเป็นลำดับ (Serializability) และ(4) ความ
บูรณาการ (Integration) การสร้างเจดีย์จะใช้วิธีการแบบล่างขึ้นบน (Bottom up Approach) เจดีย์จะเริ่ม
สรา้ งจากช้นั ของฐานรากใหแ้ ลว้ เสรจ็ ก่อน จึงค่อยสรา้ งช้นั ท่ีอยูเ่ หนือข้นึ ไปได้ แต่ละช้ันจะมีความเช่ือมประสาน
เปน็ เน้อื เดยี วกันภายในชน้ั เดยี วกันและเชือ่ มประสานระหว่างช้ันอกี ด้วย ชน้ั บนจะสามารถสรา้ งได้กต็ ่อเมื่อช้ัน
ก่อนหน้าน้ีถูกสร้างไว้สมบูรณ์แล้ว เจดีย์จะเป็นองค์ที่สมบูรณ์ได้ล้วนถูกหลอมรวมบูรณาการองค์ประกอบที่
แตกต่างหลากหลาย และจำนวนมากเข้าไว้ด้วยกัน การสร้างเจดีย์จะงดงามมากหรือน้อยก็ข้ึนอยู่กับ
ความสามารถในการเชื่อมประสาน จัดสรร และหลอมรวมองค์ประกอบท้ังหมดเข้าด้วยกัน การสร้างเจดีย์จึง
ต้องใชท้ ง้ั ศาสตรแ์ ละศิลป์ เช่นเดียวกับการสรา้ งรูปแบบการจดั การศึกษาแบบ WIL ท่ใี ช้ WIL Pagoda Model
[6 ชน้ั ]
แบบจำลองแบง่ องคป์ ระกอบออกเป็น 6 ช้ัน ประกอบดว้ ย
ช้ันที่ 1 ชั้น 3 ส (Stakeholder Layer) ประกอบด้วย สถานศึกษา สถานประกอบการ และสมาคม
วชิ าชพี
ชั้นท่ี 2 ชั้นสมรรถนะ (Competency layer) ประกอบด้วยความรู้ (K-Knowledge) ทักษะ (S-Skill)
และคุณลักษณะ (A-attribute) แบ่งเปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ สมรรถนะหลัก (Core Competency) สมรรถนะ
ตามหน้าท่ี (Functional Competency) และสมรรถนะตามความเชี่ยวชาญ (Professional/Special
Competency)
ชั้นท่ี 3 ช้ันมาตรฐาน (Standard Layer) ประกอบด้วยมาตรฐานคุณวุฒิ มาตรฐานวิชาชีพและ
มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน
ชั้นที่ 4 ช้ัน WIL (WIL layer) ประกอบด้วยรูปแบบของ Work-integrated Learning ได้แก่DVT
(Dual Vocation Training), Coop (Cooperative Education), Apprentice, Internship ในประเทศไทย
หรือรปู แบบอ่ืน ๆ เช่น Practice School สำหรบั บณั ฑิตศึกษา หรอื รูปแบบอืน่ ๆ จาก WIL ทั่วโลก
ช้นั ท่ี 5 ช้ันรูปแบบการเรียนรู้ (Learning Layer) ประกอบด้วยรูปแบบการเรียนรู้ (Learning Style)
แบบต่าง ๆ เช่น PBL (Problem-based Learning), PJBL (Project-based Learning) Constructivism,
RBL (Research-based Learning), Collaborative Learning, Block Course, แ บ บ อ่ื น ๆ ห รือ แ บ บ
ผสมผสาน ท่ีจะนำมาใช้จัดการเรียนการสอนในหลักสูตร ให้สอดคล้องกับรูปแบบของ WIL เพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายของหลกั สตู ร
ชั้นที่ 6 ชั้นปัจจัยความสำเร็จ (Success Factors Layer) ประกอบด้วย 6 ด้าน ได้แก่ ด้านหลักสูตร
ดา้ นการเรียนการสอน ดา้ นผูเ้ รียน ดา้ นผู้สอน ดา้ นสถานประกอบการ และด้านการเงนิ
[3 ปจั จัยสนับสนุน]
แม้แบบจำลองดังกล่าวจะประกอบด้วยองคป์ ระกอบสำคัญที่จำเป็นตอ่ การบริหารจดั การเรียนรู้แบบ
บูรณาการการเรียนกับการทำงานสำหรับอุดมศึกษาไทย ดังอธิบายไว้ข้างต้น แต่หากต้องการให้การจัดการ
WIL ตามองค์ประกอบเหล่านั้นมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีความยั่งยืน ควรได้รับการสนับสนุนจาก
ปัจจัยเสรมิ ความสำเร็จดังทป่ี รากฎในแบบจำลองทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ภาครฐั ภาคองคก์ รเอกชน ภาคชมุ ชน และ
องคก์ ารปกครองทอ้ งถ่นิ องค์ประกอบทั้ง 3 มีสว่ นสนบั สนุนความยัง่ ยนื ของการจัดการศกึ ษาแบบ WIL ได้
มหาวทิ ยาลัยวิคตอเรีย (Victoria University) ประเทศออสเตรเลีย ไดเ้ สนอกรอบแนวคิดวธิ ปี ฏิบตั ิท่ีดี
สำหรบั การจดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการการเรียนกับการทำงาน 10 ขอ้
1) การจัดการเรียนการสอนแบบบรู ณาการการเรียนกบั การทำงานต้องมีประโยชน์ต่อทกุ ภาคีไมว่ ่าจะ
เปน็ ผู้เรยี น สถาบนั การศึกษา และองคก์ รผ้ใู หค้ วามรว่ มมือ
2) การเรียนรใู้ นสถานประกอบการต้องเปน็ สว่ นหน่ึงของหลกั สูตร
3) การกำหนดผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) รวมท้ังคุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับ
ผเู้ รียนต้องระบุไวอ้ ย่างชดั เจน
4) การนำเสนอผลสะท้อนกลับเชิงวิพากษ์ของผู้เรียน (Critical Reflection) จากประสบการณ์ใน
สถานประกอบการต้องเป็นส่วนหนงึ่ ของการจัดการเรยี นการสอนแบบบูรณาการการเรยี นกบั การทำงาน
5) การประเมินผลต้องสะท้อนผลการเรียนรู้ท่ีแท้จริงโดยเน้นผลลัพธ์และกระบวนการท่ีเกิดขึ้นใน
สภาพจรงิ
6) เกณฑก์ ารประเมินผลตอ้ งมรี ะดบั และเกณฑ์มาตรฐานอย่างชัดเจน
7) ทกุ ภาคที เี่ กย่ี วข้องต้องมีการเตรยี มการจัดการเรียนการสอนแบบบรู ณาการการเรยี นกบั การทำงาน
อย่างเหมาะสม
8) ผเู้ รียนต้องไดร้ บั การสนบั สนุนจากสถานประกอบการทใี่ หค้ วามร่วมมอื
9) การจัดการเรียนการสอนเชิงบรู ณาการกบั การทำงานต้องมีการปรับปรงุ คณุ ภาพอย่างต่อเนอื่ ง
10) การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงานต้องได้รับการสนับสนุนด้าน
ทรัพยากรอย่างเพียงพอมกี ารนำเสนอส่ิงท่ีท้าทายต่อแนวคิดการจัดการเรียนการสอนแบบบรู ณาการการเรยี น
กับการทำงานของสถานศึกษาในประเทศออสเตรเลีย (Work-integrated learning: WIL in Australian
Universities: the challenges of mainstreaming WIL) โดย McLennan, B. and Keating, S. (2008:10)
ดังนี้
1) เม่ือมีการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงานมากข้ึนสถานศึกษาต้องมี
ความละเอยี ดรอบคอบเปน็ อยา่ งยิ่งในการจดั ผ้เู รียนเขา้ ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ (Placement)
2) การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงานต้องตรงตามความต้องการของ
สถานประกอบการมากท่ีสุด เพื่อนำไปส่คู วามรว่ มมือ (Partner) ในการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ของภาคธรุ กิจ
และอุตสาหกรรม
3) การจดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรยี นกบั การทำงานต้องพัฒนาทักษะและประสบการณ์
ของผู้เรียนท้งั ในเชงิ วชิ าการและคุณลกั ษณะท่วั ไปท่พี นักงานในสถานประกอบการพึงมี
4) การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงานต้องเป็นส่วนหน่ึงของวิธีสอนและ
การฝึกปฏิบัติ และเปน็ สว่ นหนงึ่ ของหลกั สตู ร
5) ต้องบรรจุการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาอาชีพ (Career Development Learning) เป็นส่วนหนึ่งของการ
จดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรยี นกบั การทำงาน
6) การจดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรยี นกับการทำงานตอ้ งได้รับการสนับสนุนทรพั ยากรที่
จำเป็นจากสถาบนั อดุ มศกึ ษาอยา่ งเตม็ ที่
จากรายงานการวิจัยระดับชาติของประเทศออสเตรเลีย ได้เสนอกรอบแนวคิดการจัดการเรียนการ
สอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงานในอนาคตของประเทศออสเตรเลียไว้ 3 ข้อ ดังนี้ (Patrick, C-j.,
Peach, D., Pocknee, C., Webb, F., Fletcher, and M., Pretto, G., 2008)
1) ผูน้ ำสถานศึกษารวมทั้งบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องกบั การจดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรยี นกับ
การทำงานจะต้องการดำเนินการจดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการการเรียนกับการทำงานอย่างเป็นระบบ
โดยการสนับสนนุ ทรพั ยากรเพ่อื ให้เกดิ ความหลากหลายในการจดั หลักสูตรการจดั การเรียนการสอนแบบบรู ณา
การการเรียนกับการทำงานภายใต้ความร่วมมือกับผู้ประกอบการและองค์กรวิชาชีพโดยการสนับสนุนให้เกิด
ความสำเร็จตามกลยุทธเ์ พื่อการเติบโตในอนาคต
2) ให้ทุกภาคที ่ีเกี่ยวขอ้ งพิจารณาร่วมกันเพ่ือศึกษาวิจัยหลักสูตรและระบบการจัดการเรียนการสอน
แบบบูรณาการการเรยี นกับการทำงานทท่ี ำใหเ้ กิดความรว่ มมอื มากยง่ิ ขึน้ จนเกดิ ความยงั่ ยืนในอนาคต
3) ให้ทุกภาคที ี่เกี่ยวข้องพิจารณาด้วยความมั่นใจวา่ ผู้เรียนทุกคนสามารถเข้ารว่ มกจิ กรรมการจัดการ
เรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงานได้อย่างเท่าเทียมกันภายใต้นโยบายและกลยุทธ์การ
สนับสนุนกองทุนการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงาน (ดร. อลงกต ยะไวทย์, นาย
ทนงค์ เขียวแก้ว, นางสาวณภทั ธิรา ม่งุ ธนวรกลุ , 2560)
2.2.4. การเลอื กประเภทการจัดการเรียนการสอนเชิงบรู ณาการกบั การทำงาน
สถานศึกษาและแหล่งเรียนสามารถเลือกประเภทการจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการกับการ
ทำงานไดต้ ามความเหมาะสมอาจจะเลอื กใช้ตัง้ แต่ 1 ประเภทหรือมากกว่านั้น โดยมีเกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้
1. ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรยี น (Learning Outcomes) ท้ังท่ีระบุในรายละเอียด
ของหลักสูตร (มคอ.2) และตามความตอ้ งการของแหล่งเรียนรู้ในสาพจรงิ
2. หลักสตู รปริญญาตรีทางวชิ าการและหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรอื ปฏิบัตกิ าร สามารถเลือก
ประเภทของการบูรณาการกับการทำงานตามความเหมาะสมของแต่ละหลักสูตร แต่ละหลักสูตรปริญญาตรี
ทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการอาจได้รับการยกเว้นคุณวุฒิปริญญาโทและผลงานวิชาการของอาจารย์จาก
หน่วยงานภายนอกที่ไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษา ในกรณีท่ีหน่วยงานนั้นร่วมผลิกหลักสูตรด้วย ตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2558
3. การเลอื กเพียงกิจกรรมกำหนดประสบการณ์ก่อนการศึกษา (Pre Course Experience) หรือการ
ฝึกเน้นท่ีการเรียนรู้หรือติดตามพฤติกรรมการทำงาน (Cognitive Apprenticeship or Job Shadowing)
อาจทำให้หลกั สูตรไมเ่ กิดการบูรณาการกับการทำงานโดยสมบูรณ์ เนื่องจากเปน็ เพียงการเรยี นรู้ในบรบิ ทอาชีพ
ของผเู้ รียน ผู้เรยี นยังมาสามารถประยุกตใ์ ช้ความรไู้ ดจ้ รงิ การจดั ทงั้ สองประเภทควรจัดควบค่กู ับประเภทอ่ืน ๆ
เพ่อื ให้หลกั สตู รมกี ารบรู ณาการกับการทำงานได้อยา่ งสมบรู ณ์
4. ประเภทแหล่งเรียนรู้ในสภาพจริงทจ่ี ำเปน็ ในแตล่ ะหลักสูตรตอ้ งคำนึงผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรยี น
ที่กำหนดไวเ้ ป็นหลัก
5. ความพรอ้ มของสถานศึกษาทง้ั ด้านนโยบาย การสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากรทจี่ ำเป็น และ
ความคล่องตัวในการบริหารจัดการ ตลอดจนเครือข่ายความร่วมมือกับแหล่งเรียนรู้ในสภาพจริงท่ีมีความ
เข้มแข็ง หากขากปัจจัยเหล่าน้ีอาจเกิดความยุ่งยากในการจัดประเภทที่มีการบูรณาการกับการทำงานอย่าง
เข้มแขง็ (สำนักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎรธ์ าน,ี 2563)
การจัดกลุ่มการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทำงาน Kramer, M. and Usher, A.
(2011: 1, 4) ได้แบ่งกลมุ่ ตามโอกาสการได้เรียนรู้ประสบการณ์การทำงานของผู้เรยี นในระหว่างการเรียนแบบ
บูรณาการการเรียนกับการทำงาน โดยแบ่งออกเปน็ 2 กลมุ่ ใหญ่ ๆ ดงั น้ี
1) ประสบการณ์การทำงานแบบมีโครงการสร้าง (Structured Work Experiences) ได้แก่ สหกิจ
ศกึ ษา การฝึกงาน การฝึกภาคสนาม ผูช้ ่วยวจิ ยั และผู้ช่วยสอน
2) ประสบการณ์การทำงานแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Work Experiences) ได้แก่ งาน
อาสาสมัคร การทำงานในโรงเรยี น และการทำงานภาคฤดูร้อน
สมาคมสหกิจศึกษาโลก (World Association for Co-operative Education) ได้กล่าวถึงการ
จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทำงานเป็นการผสมผสานระหว่างประสบการณ์ทำงานในสาขา
วชิ าชพี กับการศกึ ษาในช้ันเรียนซ่งึ มีอยู่ 10 รปู แบบ ได้แก่
1) การศึกษาวิจัย (Research)
2) การศึกษาในตา่ งประเทศ (Study Abroad)
3) การฝกึ สอน (Student Teaching)
4) การใหบ้ ริการชมุ ชน (Community Service)
5) สหกิจศึกษา (Cooperative Education)
6) การฝกึ งาน (Internships)
7) การเรยี นรู้ดว้ ยการบรกิ ารสังคม (Service Learning)
8) การเวยี นงานคลินิก (Clinical Rotations)
9) การฝกึ ปฏิบัติงานในอุตสาหกรรม (Industry Attachments)
10) การฝึกงานทางวิชาชีพ (Professional Work Placements)
การจำแนกประเภทการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนกับการทำงานขึ้นอยู่กับ
วัตถุประสงค์ของการจัด ไดแ้ ก่ 1) จัดเพ่ือให้นักเรียนได้เห็นชอ่ งทางการประกอบอาชีพ เช่น การเชิญวิทยากร
มาบรรยาย (Guest Speakers) การศกึ ษาดงู าน (Tours) การติดตามพฤตกิ รรมการทำงาน (Job Shadowing)
2) จัดเพ่ือให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ทางวิชาชีพอย่างแท้จริง เช่น การฝึกงานหรือสหกิจศึกษา
(Internship/Co-Op Education) พนักงานฝึกหัด (Apprenticeship) วิสาหกิจในโรงเรียน (School-based
Enterprise)
2.2 แนวทฤษฎที เ่ี ก่ียวข้องกับการจดั การเรยี นการสอนเชงิ บรู ณาการกบั การทำงาน
2.2.1 แนวคิด / ทฤษฎี
กระบวนการเรียนร้แู บบบูรณาการ เปน็ กระบวนการเรยี นรทู้ ่ีสอดคลอ้ งกบั
1. ปรชั ญาการศกึ ษาแบบ Progressivism ของ John Dewey
- การศกึ ษาคือชวี ติ : คนต้องศกึ ษาตลอดชีวติ (ความรมู้ ากมายมหาศาล)
- เน้นผู้เรยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง
- การเรยี นโดยการแกป้ ัญหา
- ส่งเสริมรว่ มมอื การช่วยเหลือซ่งึ กนั และกัน
- สร้างเสรมิ การอยู่ร่วมกันในวิถีประชาธปิ ไตย
2. ทฤษฎีการเรยี นรูใ้ นด้าน Cognitive ทีใ่ ช้ Constructivism Approach
หลักสำคัญของ Constructivism คือ ผู้เรียนต้องสร้างความรู้เอง ครูเป็นผู้ช่วยโดยจัดหา
ข้อมูลข่าวสารที่มีความหมายให้แก่ผู้เรียน หรือให้โอกาสผู้เรยี นได้ค้นพบด้วยตนเอง และเป็นผู้ลงมือ
กระทำ
3. ทฤษฎกี ารเรยี นรอู้ ย่างมคี วามหมายของ Ausubel
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Ausubel เน้นความสำคัญของการเรียนรู้อย่างมีความเข้าใจและมี
ความหมาย การเรยี นรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรยี นได้เช่ือมโยงสิ่งท่ีเรียนรใู้ หม่เข้ากับความรู้เดิมที่อยู่ในสมอง
ของผเู้ รียน
4. การถ่ายโยงการเรยี นรู้ (Transfer of Learning)
การถ่ายโยงการเรียนรู้ หมายถึง การนำสิ่งท่ีเรียนรู้แล้วไปใช้ในสถานการณ์ใหม่การถ่ายโยง
การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่สำคัญเพราะวัตถุประสงค์ของการศึกษาที่สำคัญประการหนึ่ง คือ การ
เตรียมผู้เรียนให้สามารถนำส่ิงท่ีเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์ในอนาคตทั้งในด้านประกอบอาชีพ และการ
แก้ปัญหาต่าง ๆ
2.2.2 ลักษณะสำคญั ของการบูรณาการ
การบรู ณาการทำได้หลายระดับ โดยเปน็ การบรู ณาการระหว่าง
• ความรขู้ องวิชาต่าง ๆ (บูรณาการหลกั สตู ร)
• ความรูแ้ ละกระบวนการเรียนรู้ (บรู ณาการกระบวนการเรียนการสอน)
• พฒั นาการทางความรแู้ ละพฒั นาการทางจิตใจ (จติ พิสยั ) เนน้ ทั้งความรู้ และ
เจตคติ ค่านยิ ม ความสนใจ สุนทรียภาพ
• ความรู้และการกระทำ เนน้ ทัง้ ความรแู้ ละทกั ษะพิสยั
• สงิ่ ทเ่ี รียนในโรงเรียนกบั สิง่ ทเี่ ป็นอยใู่ นชวี ิตประจำวนั ของผูเ้ รียน
• สิง่ ท่เี รียนในโรงเรยี นต้องมีความหมายและมีคุณคา่ ต่อชวี ิต สามารถนำไปพัฒนา
คณุ ภาพชวี ิตให้สูงขึน้
2.2.3 หลกั การจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการ (Learning Integration) อาจจัดได้ 2 ลกั ษณะ คือ
1. การบูรณาการภายในวิชา (Intradisciplinary) เปน็ การบูรณาการท่ีเกิดขน้ึ ภายในขอบเขต
ของเนื้อหาเดียวกัน วิชาที่ใช้หลักการบูรณาการภายในวิชาเดียวกันมากที่สุด คือ วิชา ภาษา หรือ
กระบวนการทางภาษา ซึ่งประกอบด้วยการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนเน่ืองจากมีความ
เกี่ยวพันกันหลายแบบ นอกจากวิชาภาษาแล้ว วิชาสังคมศึกษา วิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ ก็ใช้
หลกั การเช่อื มโยงภายในวิชาได้
2. การบูรณาการระหว่างวิชา (Interdisciplinary) เป็นการเชื่อมโยงหรือรวมศาสตร์ต่าง ๆ
ตั้งแต่ 2 สาขาวิชาข้ึนไปภายในหัวเรื่อง (Theme) เดียวกัน เป็นการเรียนรู้โดยใช้ความรู้ความเข้าใจ
และทักษะในศาสตร์ หรอื ความรู้ในวิชาตา่ ง ๆ มากกวา่ 1 วิชาขึ้นไป เพ่ือแก้ปัญหาหรือการแสวงหา
ความรู้ความเข้าใจในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง การเชื่อมโยงความรู้และทักษะระหว่างวิชาต่าง ๆ จะช่วยให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรูท้ ี่ลกึ ซ้ึง ไม่ใช่เพียงผิวเผนิ และมีลกั ษณะใกล้เคียงกับชวี ิตจริงมากขึน้
การจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการทง้ั 2 ลกั ษณะน้นั สามารถจดั เป็นรปู แบบของการบูรณา
การ (Models of Integration) ได้ 4 รูปแบบ คอื
1. บูรณาการแบบสอดแทรก (Infusion Instruction) ครูผู้สอนในวิชาหน่ึงสอดแทรกเนื้อหา
ของวิชาอ่ืน ๆ เข้าในการเรียนการสอนของตน เป็นการสอนตามแผนการสอนและประเมนิ ผลโดยครู
คนเดยี ว วธิ ีน้ีถงึ แมน้ ผู้เรียนจะเรียนจากครูคนเดยี ว แตส่ ามารถมองเหน็ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งวิชาได้
2. บรู ณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) ครูตัง้ แต่ 2 คนขนึ้ ไปสอนตา่ งวชิ ากนั ตา่ งคน
ตา่ งสอน แตต่ ้องวางแผนเพ่อื สอนรว่ มกนั โดยมุ่งสอนหัวเร่อื ง/ความคิดรวบยอด/ปญั หาเดียวกนั ระบุ
ส่ิงที่ทำร่วมกันและตัดสินใจร่วมกัน ว่าจะสอนหัวเร่ือง/ความคิดรวบยอดและปัญหาน้ัน ๆ อย่างไร ใน
วชิ าของแต่ละคน ใครควรสอนก่อน-หลัง งานหรือการบา้ นท่ีมอบหมายให้ผู้เรยี นทำจะแตกต่างกันไป
ในแตล่ ะวชิ า แตท่ ้ังหมดจะต้องมหี ัวเร่ือง/ความคิดรวบยอด/ปัญหารว่ มกันการสอนแต่ละวิชาจะเสริม
ซึ่งกันและกนั ทำใหผ้ ูเ้ รียนมองเหน็ ความสมั พนั ธ์เชื่อมโยงกันระหว่างวิชา
3. บูรณาการแบบสหวิทยาการ (Multidisciplinary Instruction) การจัดการเรียนการสอน
ตามรูปแบบน้ีคล้ายกับบูรณาการแบบขนาน กล่าวคือ ครูตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปสอนต่างวิชากัน มา
วางแผนเพอื่ สอนร่วมกัน โดยกำหนดวา่ จะสอนหัวเรอ่ื ง/ความคิดรวบยอด/ปัญหาเดยี วกัน ต่างคนตา่ ง
แยกกันสอนตามแผนการสอนของตน แตม่ อบหมายให้ผู้เรียนทำงานหรือโครงการร่วมกัน ซึ่งจะช่วย
เช่ือมโยงความรู้สาขาวิชาต่าง ๆ เข้าด้วยกันจนสร้างช้ินงานได้ ครูแต่ละวิชากำหนดเกณฑ์เพื่อ
ประเมินผลชนิ้ งานของผู้เรยี นในสว่ นวชิ าท่ตี นสอน
4. บูรณาการแบบข้ามวิชา หรือสอนเป็นคณะ (Transdisciplinary Instruction) ครูท่ีสอน
วิชาต่าง ๆ ร่วมกันวางแผน ปรึกษาหารือ กำหนดหัวเร่ือง/ความคิดรวบยอด/ปัญหาเดียวกันจัดทำ
แผนการสอนร่วมกัน แล้วร่วมกันสอนเป็นคณะ (Team) โดยดำเนินการสอนผู้เรียนกลุ่มเดียวกัน
มอบหมายงาน/โครงการใหน้ ักเรียนทำร่วมกัน ครทู กุ วิชาร่วมกันกำหนดเกณฑ์เพื่อประเมนิ ผลชิ้นงาน
ของผเู้ รยี นร่วมกนั
2.2.4 การฝกึ งาน
การฝึกงานเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และปริญญาตรวิทยาศาสตร์
บณั ฑิต ซึ่งกำหนดให้นักศึกษาทุกคนต้องผา่ นการฝึกงานในหนว่ ยงานราชการหรอื เอกชน สำหรับมหาวทิ ยาลัย
มคี วามตระหนักว่าการฝึกงานเป็นส่งิ จำเปน็ ยง่ิ เพราะนักศกึ ษาไดเ้ รยี นรู้ ไดร้ ับประสบการณ์ ทางการศึกษาครบ
ทง้ั 3 ด้าน คอื
1. ดา้ นพุทธพสิ ัย (Conitive Domain) ได้เรียนรใู้ หม่ เทคโนโลยใี หม่ในสภาพจรงิ
2. ด้านทักษะพิสัย (Psychomoter Domain) คือได้ฝึกปฏิบัติในสภาพจริง ซึ่งอาจแตกต่างกับการ
ฝึกปฏิบัติภายในสถานศกึ ษาในเทคนคิ วธิ ีใหม่ ๆ
3. ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) คือการได้เรียนรู้การปฏิบัติงานร่วมกลุ่มคณะกับบุคคลอื่น
สังคมใหม่ รู้การระมัดระวังในกิริยามารยาท การเข้าสังคม ความตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ
ตลอดจนเรยี นร้รู ะบบงาน การช่วยเหลือกลมุ่ บคุ คลที่ประกอบอาชพี คลา้ ยคลึงด้วยความจริงใจ
เป็นการเตรียมการล่วงหน้าในการหาช่องทางทำงาน เพื่อการเตรียมอาชีพให้เหมาะสมทั้งภาครัฐ
ภาคเอกชน และส่วนตัว การแสวงหาประสอบการณ์ใหม่ จำเป็นอย่างยง่ิ สำหรับการเตรียมตัว เพอ่ื ออกไปอยู่
ร่วมกับสังคมอย่างมีความสุข และเสริมสร้างสังคมให้ประสบแต่สันติสุข รับรู้ปัญหาใหม่ ๆ ทางวิชาการ และ
แก้ปัญหา เพ่ือจะได้ปรับตัวให้เหมาะสม ได้รับรู้ประสบการณ์ใหม่ มาปรับปรุงงานของมหาวิทยาลัยฯ หรือ
เสนอแนะ
2.2.5 ความมงุ่ หมายของหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี ชน้ั สงู และปรญิ ญาตรี
1. เพื่อพัฒนาความรู้ของนักศึกษาด้านเทคนิค ให้ทันสมัยให้เข้าใจและทันต่อเหตุการณ์กับ
เทคโนโลยีท่ีกา้ วหนา้ ตลอดเวลา
2. เพ่ือพัฒนาทักษะของนักศึกษา ให้มีประสบการณ์และมีความสามารถทางการปฏิบัติ
เพือ่ ใหเ้ กดิ ความมนั่ ใจในการประกอบอาชพี
3. เพ่ือพัฒนาเจตคติในวิชาชีพสมัยใหม่ เพื่อให้นักศึกษาได้นำเอาความรู้และทักษะไปใช้ใน
การดำเนินชีวติ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
4. เพ่ือให้นักศึกษาเปน็ พลเมอื งดี มีคุณธรรม และสามารถดำรงชีวิตในระบอบประชาธิปไตย
ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
2.2.6 การประเมินการฝกึ งาน
1. การประเมินตนเองของนักศึกษาในด้านทักษะความรู้ทางวิชาการ ทักษะด้านการ
ปฏิบตั ิงาน และดา้ นมนุษยส์ ัมพันธ์
2. ผู้ประกอบการ (พี่เลี้ยง) ประเมินนักศึกษา ในด้านทักษะความรู้ทางวิชาการ ทักษะด้าน
การปฏิบัติงาน และดา้ นมนุษยส์ มั พันธ์
3. อาจารย์นิเทศ ประเมินนักศึกษา ในด้านทักษะความรู้ทางวิชาการ ทักษะด้านการ
ปฏิบตั งิ าน และด้านมนุษย์สมั พนั ธ์ (น.ส.สพุ ัชชา ทัพสัพ,ดร.สรชยั ชวรางกรู ,นางสนุ ทรี แกน่ แกว้ ,นายปรญิ ญา
เกิดปญั ญา,ดร,ชยุติ เมฆอไุ ร, 2564)
2.3 ทฤษฎีเกยี่ วกบั ระบบแมทช่งิ
ทฤษฎีระบบแมทชิ่ง สามารถกล่าวได้ถึงอัลกอริทึมแมชชิง เป็นระบบทีใช้ในการเปรียบเทียบชื่อสอง
ช่ือว่ามีความคล้ายกันหรือไม่ (Match/No Match) ซ่ึงได้มีการแบ่งชนิดของ Name Matching Algorithm
ออกเป็น 4 ประเภท(Snaeand Brückner, 2006) ไดแ้ ก่
1. กฎพ้ื น ฐาน ของตัวสะกด (Spelling/String Analysis based Algorithms) ใช้ใน การ
เปรียบเทยี บความคลา้ ยคลึงกันระหว่างตวั อักษรของชื่อ 2 ช่ือว่ามีหลกั การเขียนเหมือนกันอย่างไรและผลของ
การเปรียบเทียบนี้จะออกมาในรูปว่าคล้ายกันหรือไม่ (Match/No Match) ซ่ึงอัลกอริทึมประเภทนี้ ได้แก่
Guth และ Levenshtein
2. กฎพ้ืนฐานของการออกเสียง (Phonetic/Sound base Algorithms) เป็นการใช้โครงสร้าง
ของเสยี งเป็นตวั เปรียบเทยี บคา่ ความคล้ายคลงึ กันซงึ ใชใ้ นการแกป้ ัญหาช่ือทีมีเสยี งเดยี วกันแตเ่ ขียนหรือสะกด
ตา่ งกันโดยใช้วิธีการจัดกลุ่มตัวอักษรจัดให้เสียงเดียวกันอยู่ในกลุ่มตัวอักษรเดียวกันตัวอย่างเช่นตัวอักษร Ph
ใช้จัดอยู่ในกลุ่มตัวอักษร F หรือในภาษาไทย “จทธตฏ” ให้จัดอยู่ในกลุ่มแม่กด (ด) อาทิเช่น คําว่า กาจ กับ
กาดจะออกเสียงเห มือน กัน ซึงอัลกอริทึมประเภทน้ี ได้แก่ Soundex, Soundex2, Metaphone,
NYSIIS และ Phonex
3. วิธีการรวมกัน (Composite Methods) เป็น วิธีการรวมกันระหว่างกฎพ้ื นฐาน ขอ ง
ตั ว ส ะ ก ด (Spelling/String Analysis based Algorithms) แ ล ะ ก ฎ พ้ื น ฐ า น ข อ ง ก า ร อ อ ก เสี ย ง
(Phonetic/Sound base Algorithms) ซง่ึ การรวม2วธิ ีนี้เปน็ การแกป้ ญั หาของช่ือเกย่ี วกบั คําพ้องรูปพ้องเสยี ง
หรือคําทีเขียนเหมือนกันแต่ออกเสียงต่างกันและคําทีเขียนต่างกันแต่ออกเสียงเหมือนกันซึงระบบประเภทน้ี
ไดแ้ ก่ Simplex และ ISG
4. วธิ ีการไฮบริด(Hybrid Approaches) เป็นการใช้คา่ ความน่าจะเป็นในการวัดค่าความคล้ายคลึง
ของช่ือ (Snae and Diaz, 2002) ซ่ึงอัลกอริทึมประเภทนี้ ได้แก่ LIG1,LIG2,LIG3 (ยอ่ มากจาก Levenshtein
Index of Similarity and Guth)ในงานวิจัยนีได้ทําการวัดประสิทธิภาพของระบบแมทชิงในกลุ่มทีมีการ
เปลี่ยนช่ือเป็นรหัสเสียงเท่านั้นซ่ึงระบบแมทชิงอัลกอริทึมในกลุ่มน้ีเป็นการเปรียบเทียบระหว่างรหัสเสียงของ
ชอ่ื โดยการนํารหสั เสยี งของช่ือ 2 ชื่อมาเปรยี บเทยี บกันโดยตรงถ้าเหมือนกันแสดงว่าช่ือทั้ง 2 ช่ือ Match กัน
แต่ถ้าไมเ่ หมือนกันแสดงว่าช่ือทั้ง 2 ช่อื No Match กนั ซึ่งเนมแมทชิงอลั กอริทมึ ในกลมุ่ นมี ี 6 อัลกอริทึม ได้แก่
1. Soundex Algorithm ถูกออ กแบบมาใช้สำหรับชื่อภาษาอังกฤษ(Winchester,1970)
Soundex Algorithm ได้ถูกนําไปใช้เพ่ือลดจำนวนระเบียนของการแต่งงานโดยการเข้ารหัสทังนามสกุลของ
สามีและนามสกุลเดมิ ของภรรยาและยงั มีการนําอัลกอริทึมนีไปใช้ในการเช่ือมโยงประชากรอีกด้วยแต่อยา่ งไร
ก็ตามจะพบว่าการละเว้นการออกเสียงอาจจะทำให้ข้อมูลทีสมควร Match กลับได้ผลเป็นไม่ Match และ
ข้อมูลทีไม่ Match กลับให้ผลที่ Match กัน (Davey and Jarvis, 1990) ซ่ึงข้อเสียทีพบจากการใช้
Soundex Algorithm คอื ไม่เหมาะกบั ช่ือที่ส้ันหรือชื่อท่ีมีจำนวนสระมาก(Gilletal.,1993)
Soundex Algorithm จะทำการเปล่ียนชื่อเป็นรหัสของ Soundex ซ่ึงประกอบด้วย 1 ตัวอกั ษรและ
3 ตวั เลขโดยมีขนั ตอนการเปลี่ยนดงั ตอ่ ไปนี
1) เก็บตวั อกั ษรตวั แรกของ Input ช่ือไว้
2) ถา้ ตัวอกั ษร A,E,H,I,O,U,W,Yไมใ่ ช่ตัวอกั ษรตัวแรกใหต้ ัดออกไป
3) จากข้อที่ 1 เปลยี่ นอักษรทเี หลือเป็นรหัส Soundex
4) ผลลพั ธข์ องรหัส Soundex ตอ้ งอยใู่ นรูปของตัวอักษร1ตวั และตามดว้ ยตัวเลข 3 ตวั
5)จากข้อ 4 ถ้าผลลัพธ์ของรหัส Soundex น้อยกวา่ 4 ตวั รหัส Soundex ให้ใส่ศนู ย์แทนจน
ครบรหสั แต่ถ้ารหสั Soundexมากกวา่ 4 รหัสใหต้ ดั ออก
2. Soundex 2 ได้ปรับปรุงมาจากอัลกอริทึมSoundex ซ่ึงจะมีข้ันตอนเหมือนกับSoundex
Algorithm แต่จะมกี ารเปลี่ยนเพียงขั้นตอนท่ี 3
3. Metaphone ส่วนใหญ่จะใช้แก้ปญั หากับช่ืออังกฤษโดยอัลกอริทึมมีขนั ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี
1) ถา้ มีตัวเลขใหต้ ัดตัวเลขออกแล้วเปล่ียนอักษรทกุ ตวั ให้เปน็ ตวั ใหญ่
2) ถ้า KN หรอื GN หรือ PM หรอื AE หรือ WR เปน็ ตัวแรกใหว้ างไวต้ ่ำแหนง่ แรก
3) ถา้ X เป็นตวั อกั ษรแรกให้เปล่ียนเป็น S
4) ถา้ WH เปน็ ตัวอกั ษรแรกให้เปล่ียนเปน็ W
5) ถา้ มอี กั ษรทเี หมอื นกันไมต่ ้องพมิ พร์ หสั
6) ถา้ ตวั อกั ษร A,E,I,O,U และYไมใ่ ชต่ ัวอักษรตวั แรกใหต้ ัดออกไป
7) เปลย่ี นตัวอักษรให้เปน็ รหัสของMetaphone
ดังน้ัน ปัจจุบันจึงได้มีการเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานให้ดีย่ิงขึ้น การนำระบบแมทช่ิง
(Matching) โดยการนําเอาเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต มาช่วยในการบริหารจัดการ
ข้อมูล และเพ่ือใช้เป็นระบบสำหรับทำหน้าทีในการประสานงาน และเป็นช่องทางในการรับสมัครนักศึกษา
การเสนอต่ำแหน่งงาน รวมถึง การพิจารณาคัดเลือกระหว่างนักศึกษากับสถานประกอบการ นอกจากนั้น
ยังเป็น ก าร เพิ่ มช่องท างใน ก าร สร้างคว ามร่ว มมือทางด้าน การด ำเนิน งาน ระ หว่างสถาน ปร ะก อบก าร กั บ
สถานศึกษาให้มีความหลากหลายกว้างขวาง และช่วยอำนวยความสะดวกแก่ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องให้สามารถ
ดําเนนิ งานในส่วนน้ีได้รวดเร็วย่ิงขน้ึ
บทท่ี 3
ระเบียบวธิ ีวิจัย
ในการศึกษาวิจัย เรื่อง การจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการเรียนรู้กับการทำงาน
โดยมีแนวทางในการวจิ ัยดังน้ี
3.1 ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง
3.2 พื้นที่ศึกษา
3.3 วธิ ดี ำเนินการวจิ ยั
3.4 ข้นั ตอนดำเนินการวจิ ยั
3.5 เคร่ืองมอื วจิ ยั
3.6 การตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมอื
3.1 ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง
ประชากร ได้แก่ อาจารย์ และผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามที่มีความเกี่ยวข้องกับการ
พัฒนาหลกั สตู รในรปู แบบการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการระหว่างการทำงานกบั การเรียนการสอนผู้เช่ียวชาญ
ด้านการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการระหว่างการทำงานกับการเรียนการสอนจากมหาวิทยาลัยอื่น
สถานประกอบการที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาแบบบูรณาการระหว่างการทำงานกับการเรียนการสอน
บคุ ลากรจากหนว่ ยงานภาครัฐท่ีมสี ว่ นเก่ียวข้องในการผลกั ดนั พัฒนาหลักสูตรในรูปแบบการจัดการศึกษาแบบ
บรู ณาการระหว่างการทำงาน และนักศึกษาในหลกั สูตรธุรกิจดิจทิ ัลในรูปแบบการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ
ระหวา่ งการทำงานกับการเรยี นการสอน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ให้ข้อมูลสำหรับงานวิจัยนี้ โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
แบบเจาะจง ( Purposive sampling ) แบง่ ออกเป็น 2 กล่มุ ได้แก่
1. สถานประกอบการ จำนวน 3 แห่ง เกณฑ์ที่ใช้ในการคัดเลือกคือ เป็นสถานประกอบการที่
มหาวิทยาลัยได้ได้ดำเนินการจัดทำบันทึกตกลงความรว่ มมือการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการ
ทำงานเรียบรอ้ ยแลว้ และอยใู่ นระหว่างการดำเนนิ การ
- บคุ ลากรจากสถานประกอบการ A จำนวน 1 ท่าน
- บุคลากรจากสถานประกอบการ B จำนวน 1 ท่าน
- บคุ ลากรจากสถานประกอบการ C จำนวน 1 ท่าน
2. นักศกึ ษา เกณฑ์ทีใ่ ชใ้ นการคดั เลือก คอื เป็นนกั ศึกษาชั้นปี 2 ของหลักสตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิตอัตโนมัติซึ่งเป็นหลักสูตรใหม่ เริ่มเปิดรับนักศึกษาในปีการศึกษา 2564
โดยมีนกั ศกึ ษาในหลักสูตรจำนวน 7 ทา่ น
3.2 พนื้ ทีศ่ กึ ษา
งานวิจัยนี้ได้ดำเนินโครงการตั้งแต่ปี 2563 จนถึงปี 2564 โดยพื้นที่ศึกษาในการเก็บข้อมูล คือ
ภายในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั มหาสารคาม และเขตพนื้ ท่ที ีส่ ถานประกอบการต้ังอยู่
3.3 วธิ ดี ำเนนิ การวิจยั
งานวิจยั นใ้ี ชว้ ธิ กี ารศึกษาเชงิ คุณภาพในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยมีวิธดี ำเนนิ การวจิ ยั 4 วธิ ี
ดังต่อไปน้ี
1. การศึกษาจากข้อมูลเอกสาร (Document study) เป็นการศึกษาจากเอกสาร ตำรา บทความ
วจิ ัย บทความวิชาการ รายงานการวิจยั เอกสารจากหนว่ ยงานราชการ กระทรวงศึกษาธกิ ารทมี่ ีความเก่ยี วข้อง
กบั การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกบั การทำงาน ทัง้ ในและต่างประเทศ
2. การศึกษาโดยการจัดสนทนากลุ่ม (Focus group discussion) โดยทำการเก็บข้อมูลจาก
บุคลากรมหาวิทยาลัย ประกอบไปด้วย ผบู้ ริหารมหาวิทยาลัย อาจารย์ประจำหลกั สตู ร และผู้ทรงคุณวุฒิหรือ
ผู้เชย่ี วชาญดา้ นการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน เพื่อให้ที่ประชุมได้มี
การแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ใหข้ อ้ มูลและร่วมอภิปรายในประเด็นทค่ี ณะนกั วิจัยป้อนเขา้ สทู่ ีป่ ระชมุ
3. การศึกษาโดยใชว้ ิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลจากสถาน
ประกอบการ 3 แห่ง และนักศึกษาในหลักสูตรธุรกิจดิจิทัล เพื่อเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลที่ส ำคัญ
(Key informant) โดยมแี นวคำถามทีก่ ำหนดไว้ล่วงหน้า
4. การศึกษาโดยวิธีการสังเกตการณ์ (Observation) เป็นการสังเกตแบบมีส่วนร่วม โดยการที่
คณะผู้วิจัยเข้ารว่ มการจัดโครงการ กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการกบั
การทำงานทีม่ หาวทิ ยาลัยจัดข้ึน เพือ่ ศึกษาและเก็บข้อมลู เก่ยี วกบั การพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน
แบบบรู ณาการกบั การทำงาน และสถานการณต์ า่ งๆ ทม่ี ีผลกระทบต่อการพฒั นาหลักสูตร
3.4 ขั้นตอนดำเนินการวิจัย
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของงานวิจัย คณะผู้วิจัยได้กำหนด ขั้นตอนในการวิจัยออกเป็น 7 ขั้นตอน
ได้แก่
ขั้นตอนท่ี 1 การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การศึกษา เอกสาร ตำรา ทฤษฎี และงานวิจัยที่
เกี่ยวข้องเกี่ยวกบั หลักสูตร WIL แนวทางการพัฒนาหลักสูตร WIL ผู้มีส่วนได้เสียในหลักสูตร WIL เพื่อใช้ใน
การกำหนดแนวคดิ ในการวิจัย
ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย การศึกษาและรวบรวมข้อมูลด้านเอกสารทาง
วิชาการ บทความ งานวิจัยที่เกี่ยวขอ้ งกับ หลักสูตร WIL แนวทางการพัฒนาหลักสูตร WIL ผู้มีส่วนไดเ้ สียใน
หลักสูตร WIL โดยเป็นการสังเคราะห์ข้อมูลในเบื้องต้น ที่ประกอบไปด้วย ทิศทางการพัฒนาหลักสูตร
สภาพปัญหา แนวทางการแก้ไขและพัฒนา และองค์ประกอบของผู้มสี ่วนไดเ้ สยี ในหลักสูตร WIL
ขน้ั ตอนท่ี 3 การสร้างเคร่ืองมือในการวจิ ัย มีวิธีการดังต่อไปนี้
- การสนทนากล่มุ ไดก้ ำหนดประเดน็ สนทนา ขอ้ คำถามทใี่ นการการสนทนากลุ่มยอ่ ย
- การสัมภาษณ์เชงิ ลึก กำหนดประเดน็ จากการทบทวนวรรณกรรมในข้นั ตอนท่ี 2 เพือ่ ตงั้ แนวคำถามท่ี
ใช้ในการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกบั ผูม้ สี ว่ นได้เสยี ของหลกั สตู ร
- การสงั เกตแบบมสี ่วนรว่ ม มีการเกบ็ ข้อมลู จากการเข้าร่วมประชมุ โครงการท่เี กย่ี วขอ้ งกับการจัดทำ
หลักสตู รของ WIL
ขั้นตอนท่ี 4 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือในการวิจัย โดยขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิท่ี
เช่ยี วชาญดา้ นการจดั ทำหลักสูตร WIL และใช้เทคนิคการตรวจสอบแบบสามเสา้
ขั้นตอนที่ 5 การเก็บรวบรวมข้อมูล มีการดำเนินการโดยการติดต่อประสานงาน นัดหมายกับกลุ่ม
ตัวอย่างทีม่ สี ่วนเกีย่ วข้องในการพฒั นาหลักสูตรที่เปน็ กลุ่มเปา้ หมาย และเข้าร่วมกจิ กรรมต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องใน
การพัฒนาหลกั สตู ร พรอ้ มทงั้ มีการบันทึกข้อมลู ภาคสนาม
ขั้นตอนท่ี 6 การวเิ คราะห์ข้อมูล ใช้วิธกี ารวิเคราะห์เชงิ เน้อื หา (Content analysis) โดยมีการศึกษา
ข้อมูลที่ได้มาเพื่อหาความหมาย แยกแยะ และจัดกลุ่มความหมายว่ามีปัจจัยใดบ้างที่มีความเกี่ยวข้องกับ
แนวทางการพัฒนาหลักสูตร WIL และมีการเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ นั้นเข้าด้วยกัน เพื่อนำไปสู่กลยุทธ์หรือ
แนวทางในการพัฒนาหลักสตู รตามวัตถุประสงคข์ องงานวจิ ยั
ขั้นตอนท่ี 7 การสรุปผลและการอภิปรายผลการศกึ ษา โดยข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากการศึกษาจะมีการ
สรุปและอภิรายผลการวิจัยจากขั้นตอนของดำเนนิ การวิจัยตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น สามารถนำมาแสดงเป็น
แผนภาพไดด้ งั ต่อไปน้ี
ข้นั ตอนที่ 1 การทบทวนวรรณกรรมทีเ่ ก่ียวข้อง
การศกึ ษา เอกสาร ตารา ทฤษฎี และงานวจิ ัยที่เกีย่ วข้องเกีย่ วกบั การพฒั นาหลักสูตร WIL
ขั้นตอนท่ี 2 การกาหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
ทบทวนวรรณกรรมแลว้ นามากาหนดกรอบแนวคิดในงานวิจัย
ข้นั ตอนที่ 3 การสร้างเครอ่ื งมอื ในการวจิ ัย
เครื่องมอื วิจยั ประกอบไปด้วยการสนทนากลมุ่ การสัมภาษณแ์ ละการสงั เกตแบบมีสว่ นรว่ ม
ขน้ั ตอนที่ 4 การตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่อื งมือในการวจิ ัย
จากผู้ทรงคณุ วุฒทิ ่ีเชย่ี วชาญดา้ นการจดั ทาหลักสตู ร WIL
ขนั้ ตอนที่ 5 การเก็บรวบรวมข้อมูล
มีการบนั ทึกขอ้ มลู ภาคสนามจากเครือ่ งมือวิจัยทไ่ี ด้กาหนดไว้
ขนั้ ตอนท่ี 6 การวเิ คราะห์ข้อมลู
โดยวธิ กี ารวเิ คราะห์เชงิ เนอื้ หา (Content analysis)
ข้นั ตอนท่ี 7 การสรปุ ผลและการอภิปรายผลการศึกษา
นาข้อมูลที่ไดจ้ ากการวิเคราะหม์ าสรปุ ผลและอภปิ รายผล
แผนภาพท่ี 1 ขนั้ ตอนดำเนนิ การวิจัย
3.5 เครอ่ื งมอื วิจยั
เครื่องมือที่ใช้สำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ
ระหว่างการท างานกับการเรียนการสอน สำหรับสาขาวิชาธุรกิจดิจิทัล ประกอบด้วยแนวคำถามที่ใช้ในการ
สนทนากลุ่มย่อย (Focus group) และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) สำหรับผู้มีส่วนได้เสียใน
หลกั สตู ร และการสังเกตแบบมสี ว่ นร่วม
แนวคำถามท่ใี ช้ในการสนทนากลุ่มยอ่ ย บคุ ลากรจากมหาวทิ ยาลยั ผูบ้ รหิ ารมหาวทิ ยาลัย
1. มหาวิทยาลยั มกี ารกำหนดบทบาทและการขับเคลือ่ นการจดั การเรียนการสอนแบบ WIL อยา่ งไร
2. มหาวทิ ยาลัยมีนโยบายการสนบั สนนุ หลกั สตู รทจี่ ะพฒั นารูปแบบ WIL อย่างไรบา้ ง
3. มหาวิทยาลัยมีแนวร่วมหรือจุดยืนทั่วทั้งมหาวิทยาลัยในการผลักดันหลักสูตร WIL ที่ชัดเจนเป็น
นโยบาย แผนยทุ ธศาสตร์ อย่างไร
4. ความท้าทายที่สำคัญของหลักสูตร WIL ที่มหาวิทยาลัยกำลังพัฒนาคืออะไร อาจารย์ประจำ
หลักสูตร
1. ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาหลักสูตร ขั้นตอนในการดำเนินงานเพื่อให้นักศึกษาใน
หลักสูตรได้รับการพัฒนาตามแผนการเรียนรู้ที่ระบุไว้ใน มคอ.2 มีแนวทางในการแก้ไข
พัฒนาอยา่ งไรบา้ ง
2. หลักสูตรมีกลยุทธ์ในการจัดการเรียนการสอนกับการบูรณาการกับการทำงานหรือไม่
อย่างไร
แนวคำถามทีใ่ ชใ้ นการสมั ภาษณ์ ผ้ปู ระกอบการ
1. ทำไมองค์กรของทา่ นจงึ สนใจทเ่ี ข้ารว่ มการเปน็ องคก์ รร่วมผลิตในหลักสตู รการจดั การเรียนการสอน
แบบบูรณาการกบั การทำงาน
- เพ่ือชว่ ยในการจัดหางานของนักศกึ ษา
- เพอื่ มสี ว่ นรว่ มในการส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องนกั ศกึ ษา
- เพื่อตอบสนองนโยบายขององค์กร
- เพอื่ ใหไ้ ด้ทรัพยากรทคี่ มุ้ ค่าสำหรับองค์กร
- เพอ่ื แลกเปล่ียนองคค์ วามรูร้ ะหว่างองค์กรและมหาวิทยาลัย
- ผลประโยชน์ดา้ นภาษี และการเป็นองค์กรทดี่ ีของสงั คม
2. ท่านคิดวา่ การจดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทำงานมีความสำคัญหรือมีผลกระทบต่อ
การจา้ งงานกบั องคก์ รของท่านหรอื ไม่ อย่างไร
3. ทา่ นคดิ ว่าการรว่ มเป็นองค์กรผลิตนักศกึ ษาจะสามารถสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นมีสมรรถนะ ทักษะเพิ่มขึ้น
อย่างไรไดบ้ ้าง
4. คุณลักษณะบณั ฑติ ท่สี อดคล้องกบั ความตอ้ งการแรงงานขององคก์ รของทา่ นเปน็ อย่างไร
5. อะไรทอ่ี าจทำให้องคก์ รของท่านไมส่ ามารถมีส่วนรว่ มในการผลกั ดันหลักสตู ร WIL
- ตำ่ แหนง่ งานวา่ ง
- การจดั สรรผ้เู ช่ียวชาญในสถานปรกอบการเพอ่ื ดูแล
- โครงสร้างของหลักสตู ร
- ไม่มกี ิจกรรมท่เี หมาะสมสำหรับนักศึกษา
- คา่ ใชจ้ ่ายท่อี าจเกิดขน้ึ
6. ในความคิดเห็นของท่าน ท่านคิดว่าแนวทางในการพัฒนาความร่วมมือร่วมกับมหาวิทยาลัย
ด้านใดท่ีจะทำให้การจัดการเรียนการสอนแบบ WIL เปน็ ไปไดร้ ่วมกับองค์การของทา่ น
- การเพ่มิ รายวิชาท่ีเกย่ี วข้องกับองค์กร หากมี เช่นอะไรบ้าง
- มกี ารสว่ นร่วมและหลกั เกณฑใ์ นการเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องนักศกึ ษาในหลกั สตู ร
- ปฏสิ ัมพนั ธ์ร่วมกับมหาวทิ ยาลัยเพิม่ เตมิ
- การสนบั สนุนเพิ่มเติมจากมหาวิทยาลยั
- การฝึกอบรม / ชอ้ มูลเก่ยี วกบั การนิเทศ
- จุดเดน่ หรือความเข้มแข็งของหลักสูตรตอ่ การจ้างงานขององคก์ ร
แนวคำถามทใ่ี ชใ้ นการสัมภาษณ์ นกั ศกึ ษา
1. นักศึกษามีความพร้อมและความเข้าใจต่อการจัดการเรียนการสอนแบบ WIL
มากน้อยเพียงไร
2. ปัญหาและอุปสรรคในการจดั การเรียนการสอนแบบ WIL สำหรับการแรกเขา้ มีหรอื ไม่
อยา่ งไร
ประเดน็ การสังเกตแบบมสี ่วนรว่ ม สำหรับการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เกยี่ วกับแนวทางการพฒั นาหลักสตู ร
ธรุ กิจดจิ ิทัลในรปู แบบการจดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการกับการทำงาน ประกอบด้วยประเด็นสำคัญ เชน่
1. กระบวนการ/ วธิ ีการพฒั นาหลักสูตร
2. ปัญหาท่เี กดิ ข้ึนในการพัฒนาหลกั สตู ร
3. ความร่วมมอื ในการปรบั ปรุงปญั หา แนวทางในการขบั เคลอื่ นหลกั สูตร
3.6 การตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมอื
วิจัยน้ีมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือและความสมบูรณ์ครบถ้วนของข้อมูลโดยใช้วิธตี รวจสอบแบบ
สามเสา้ (Triangulation) โดยมกี ารตรวจสอบขอ้ มลู ดังนี้
1. การตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้าด้านข้อมูล (Data triangulation) โดยนำข้อมูลจากหลายแหล่ง
มาพิจารณาร่วมกนั ท้ังจากการทบทวนวรรณกรรม และจากผทู้ รงคณุ วฒุ ิที่มีความเชี่ยวชาญด้านหลกั สูตร WIL
ด้านผู้วิจัยในการเก็บข้อมูลโดยให้คณะผู้วิจัยเก็บข้อมูลร่วมกันแล้วน ำมาพิจารณาว่าข้อมูลที่ได้มีความ
สอดคล้องกนั หรอื ไม่
2. การตรวจสอบแบบสามเส้าด้านวิธีการเกบ็ ข้อมลู (Methodological triangulation) คณะผู้วิจัยใช้
เครื่องมือหลายวธิ ีในการเก็บขอ้ มูล ได้แก่ การสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์ควบคู่กับการสังเกตแบบมีส่วนร่วม
พร้อมท้งั ศกึ ษาขอ้ มูลจากเอกสารประกอบที่ได้มีกาค้นควา้
บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาการจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการเรียนรู้กับการทำงาน
มีหวั ข้อ ดังต่อไปน้ี
4.1 ผลการศกึ ษาค่มู อื สง่ เสริมการจดั การเรียนรู้ WIL ในสถานศกึ ษา
4.2 ผลการทดลองและทดสอบทักษะการใชเ้ ครื่องมือในสถานประกอบการ
4.3 ผลการเขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการ WIL
4.4 การคดั เลอื กนักเรยี นเขา้ ร่วมโครงการ WIL
4.1 ผลการศกึ ษาคู่มอื ส่งเสริมการจดั การเรียนรู้ WIL ในสถานศึกษา
จากการศึกษาเอกสาร หลักการและแนวคิดต่างๆที่เกี่ยวข้อง และการใช้เครื่องมือโดยการสัมภาษณ์
และการสนทนากลุ่ม ผู้วจิ ยั ไดแ้ บ่งการนำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลได้ดังนี้
ผลการศึกษาสภาพปัญหาและการดำเนินการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้จากการทำงานเป็นฐานของ
สถานประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวนั ออกภาพรวมของการศึกษาสภาพปญั หาและการดำเนินการ
ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้จากการทำงานเป็นฐานของสถานประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออก
จากการศึกษาเอกสาร หลักการและแนวคิดต่างๆท่ีเกี่ยวข้อง โดยมีการสัมภาษณ์ผู้ที่เก่ียวข้องทั้งหมด 3 กลุ่ม
ได้แก่
กลุ่มที่ 1 บริหารและผู้แทนสถานประกอบการ ได้แก่ บริษัท สยามอุตสาหกรรมและการผลิต จำกัด,
บรษิ ัท ทบี เี ค เทคโนโลยี จำกัด, และ บริษัท ควิ เอม็ เอส ซบี ี (ประเทศไทย) จำกัด จำนวน 3 ท่าน
กลุ่มที่ 2 กลุ่มนักศึกษาชั้นปี 2 ของหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต
อัตโนมัติซึ่งเป็นหลักสูตรใหม่ เริ่มเปิดรับนักศึกษาในปีการศึกษา 2564 โดยมีนักศึกษาในหลักสูตร
จำนวน 7 ท่าน
ซึ่งสามารถจำแนกสภาพปญั หาของการจัดการเรียนรู้จากการทำงานเป็นฐานของสถานประกอบการ
ได้ ดงั น้ี
3.5 ข้อมูลสถานประกอบการ
3
3 คน
2.5 2 คน
2 2 คน
1.5
บรษิ ัท ทีบเี ค เทคโนโลยี จากดั บรษิ ทั คิวเอ็มเอส ซบี ี (ประเทศไทย) จากดั
1
0.5
0
บรษิ ัท สยามอุตสาหกรรมและการผลติ จากดั
บรษิ ัท สยามอุตสาหกรรมและการผลิต จากัด บริษัท ทบี ีเค เทคโนโลยี จากัด บรษิ ทั คิวเอ็มเอส ซีบี (ประเทศไทย) จากดั
1. ดา้ นจุดเดน่ ของการจัดการเรยี นรจู้ ากการทำงานเปน็ ฐาน WIL
กลุ่มที่ 1 ตัวแทนของสถานประกอบการที่รับผิดชอบงานด้านบริหารหรือปฏิบัติงานในต่ำแหน่ง
ผ้บู ริหารสถานประกอบการนโยบายการสง่ เสรมิ การจัดการเรยี นรจู้ ากการทำงานเป็นฐาน
“การมีคู่มอื ศกึ ษานโยบายภาคอตุ สาหกรรมตะวันออก โดยท่ัวไปจังหวดั ระยองน่าจะรเู้ ร่ืองน้ีดีทสี่ ุดใน
ประเทศไทยทงั้ ภาครัฐและเอกชนเรือ่ ง EEC มกี ารผลกั ดันเรื่องน้ีสูงมาก ทางอาชวี ะ นโยบายเข้าเรียน 60/40
ผมเห็นดว้ ยเมือ่ ย้อนดูที่ผ่านมา การสรา้ งแรงงาน เป็นอาชวี ะทงั้ นน้ั จบ ปวส. จากภาค อีสาน เด็กอาชีวะจะสู้
ทุกรูปแบบแตห่ ลังจากนัน้ เด็กอาชีวะจะเติบโตในสายงานส่วนใหญ่ไปไมถ่ ึงในระดับบริหาร ซึ่งต้องเก่งคน เก่ง
งาน เกง่ งานบรหิ าร จึงทำใหเ้ ขาไปเรียนสายบรหิ าร ทำใหผ้ มเสียช่างฝีมอื ดี เสยี เวลาเรียน2ปี กลบั มาเป็นช่างก็
ไม่ได้เป็นผ้บู ริหารกไ็ มไ่ ด้ จงึ ท าให้เกิดแนวคิดเรื่องน้ี โดยจดั กับสถานประกอบการในเครอื ”
ผู้ให้ข้อมลู คนที่ 2
“การมีคู่มือการดำเนินงานการเรียนรู้กับการทำงานให้เด็กศึกษาเรื่องลักษณะการทำงานประจำ
มีที่พัก มีรายได้ จะช่วยเป็นแนวทางเมื่อจบแล้วเข้าทำงาน โดยมีการสอนมีครูฝึกทุกแผนก ซึ่งมีประเมินผล
ทุกวันจัดโดยหัวหน้าแผนกแต่ละแผนก มีประชุมปรึกษาหารือร่วมกับวิทยาลัยทุกต้นเทอมและปลายเทอม
กรณีเด็กมีปัญหาก็ประชุมเร่งด่วน เพื่อแก้ปัญหาเป็นครัง้ คราว สมุดประเมินผล ผมจะตรวจสอบทุกวันการมี
คมู่ ือชว่ ยให้พวกเขาเตรียมตัวการทำงานไดด้ ี”
ผูใ้ ห้ข้อมลู คนที่ 1
“คู่มือการดำเนินงานการเรียนรู้กับการทำงานช่วยพัฒนานักศึกษาอาชีวศึกษาทั้งสายช่างและงาน
บริการการโรงแรมให้สถานประกอบการให้โอกาสเด็กได้เอาเฉพาะวิชาการที่นำมาใช้ในแต่ละงาน และเปิด
โอกาสใหเ้ ด็กไดฝ้ กึ ปฏิบัตจิ ริง ซง่ึ จากทถ่ี ามเด็กเขาชอบ บอกดมี ากไดฝ้ ึกงานเพือ่ ใหม้ ปี ระสบการณจ์ รงิ ”
ผู้ใหข้ ้อมลู คนท่ี 3
กลุ่มที่ 2 กลุ่มนักศึกษาชั้นปี 2 ของหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต
อัตโนมัติซ่งึ เปน็ หลักสูตรใหม่ ท่ีได้เข้ารว่ มโครงการ WIL
“การประเมินผลการฝึกประสบการณ์โครงการ WIL จะมีครูที่ปรึกษาร่วมพิจารณาตรวจสอบ บริษัท
จะส่งผลประเมินการขาดเรียนเด็กให้วิทยาลัยเดือนละ 1 ครั้ง กรณีมีปัญหาขาดบ่อยๆ ขาดหลายวัน
ติดต่อกันจะประสานวิทยาลัยทันที ถือว่าช่วยให้เราได้ฝึกประสบการณ์เหมือนทำงานจริงทำให้เรา
มีระเบียบวนิ ยั มากขึน้ ”
ผู้ใหข้ ้อมูลคนที่ 5
“การเข้าร่วมโครงการ WIL บริษัทจะมีการจัดประชุมทุกคนให้ทราบกฎระเบียบ สวัสดิการ อธิบาย
สัญญาการฝึกแต่ละข้อ ทำให้เรามีความมั่นใจและเช่ือมัน่ ในการเข้ารว่ มกิจกรรมว่าจะได้ฝึกประสบการณ์กับ
บริษทั ชั้นนำและนา่ เช่ือถอื ”
ผใู้ ห้ขอ้ มลู คนที่ 3
“จากประสบการณ์เข้าร่วมโครงการ WIL มีการประชุมระเบียบการจัดฝึกให้ครบตามแผนการ
มีการจัดแผนการเรียนร่วมกันบริษัทกับวิทยาลัย ครูฝึก 1 คน นักเรียน 2 คน จัดให้มีการมีการ
จัดกิจกรรมทัวร์โรงงาน จัดปฐมนิเทศ เชิญผู้ปกครอง นักศึกษามาคุยและรับทราบกฎระเบียบก่อน ทำให้เรา
มัน่ ใจในโครงการน้ี”
ผู้ใหข้ ้อมูลคนที่ 1
สามารถสรุปได้วา่ ผลการวิเคราะห์สภาพปัญหาและการดำเนินการจัดการเรียนรู้จากการทำงานเปน็
ฐานในผลการวิเคราะห์นโยบาย ปจั จยั เงือ่ นไข และแนวทางของการสง่ เสริมการจัดการเรยี นรู้จากการทำงาน
เป็นฐานของสถานประกอบการในนิคมอตุ สาหกรรมภาคตะวันออกสามารถนำไปใช้ในการพัฒนายทุ ธศาสตร์
การสง่ เสริมการจัดการเรียนรู้ด้านหลกั สูตร คือ ผูพ้ ฒั นาหลักสูตรควรมาจากหลายภาคส่วน ไดแ้ ก่ สถานศึกษา
สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนการออกแบบหลักสูตรควรเน้น
สมรรถนะด้านวิชาการ ดา้ นการปฏบิ ัตงิ าน ด้านวชิ าชีพ ควบคูก่ บั การเน้นผลการเรยี นรู้ (learning outcome)
ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบมีวินัยและมีนิสัยอุตสาหกรรม
เนื้อหาในหลักสูตรควรมีความเข้มข้น แต่ก็มีความยืดหยุ่น โดยก าหนดให้มีวิชาแกนกลางเน้นทฤษฎเี รียนใน
สถานศึกษา และวิชาเสริมทักษะอาชีพที่เน้นการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการรายวิชาในหลักสูตรควรมี
ลักษณะบูรณาการกับสหวิทยาการ สามารถปรบั ปรงุ ให้ทนั สมัยอยเู่ สมอตามแนวโน้มของการเปลย่ี นแปลงของ
เทคโนโลยแี ละเนน้ ทกั ษะการส่ือสารภาษาตา่ งประเทศ หลกั สตู รเสรมิ ทักษะการคดิ เชิงระบบและปรับหลักสูตร
ใหม้ ีความเชอ่ื มโยงกนั
4.2 การทดลองและทดสอบทกั ษะการใช้เครอื่ งมือในสถานประกอบการ
ในส่วนของการทดลอง ผู้วิจัยได้เลือกทำการทดสอบควบคุมให้แขนกลของโรงงานทั้ง 3 แห่ง
ในการหยิบวัตถุขนาด 30x30x40 mm จากต่ำแหน่งหนึ่งไปวางยังอีกต่ำแหน่งหนึ่งบนสนามทดสอบที่ได้ทำ
การสร้างข้ึน โดยเป็นการควบคุมส่วนปลายของ แขนกลให้เคลื่อนทีไ่ ปยังต่ำแหน่งเปา้ หมาย ตามที่กำหนดให้
อยู่ในพิกัดคาร์ทีเซียนด้วยโปรแกรม LabVIEW และทำการวัดหาความคลาดเคลื่อนในการเข้าสู่ต่ำแหน่ง
เพอ่ื หาระยะการทำงานมากทส่ี ดุ และนอ้ ยทีส่ ุดของ แขนกลในสนามทดสอบ
4.2.1 การทดสอบแขนกลเพอ่ื หยบิ สง่ิ ของ ณ จดุ ในระดบั เดยี วกัน ในการทดสอบ เมื่อทำการป้อน
ต่ำแหน่งพิกัดที่ต้องการผ่านโปรแกรม LabVIEW โปรแกรมจะทำการคำนวณหาต่ำแหน่งของทั้ง 6 แกน
เพอื่ ให้สว่ นปลายของแขนกลเคลอ่ื นทีไ่ ปยังพิกัดทีต่ ้องการอย่างเหมาะสมบน สนามทดสอบ
โดยความคลาดเคลื่อนหาได้จากสมการ
เปอร์เซ็นตค์ วามคลาดเคลือ่ น E − S
X 100
100
โดย E คอื คา่ ต่ำแหน่งวางทไ่ี ด้
S คือ คา่ ต่ำแหนง่ วางที่กำหนด
ซึ่งการทดสอบการทำงานของแขนกล จะทำการควบคุมแบบอัตโนมัติที่ใช้หลักการของจล
ศาสตร์แบบผกผันมาทำการวิเคราะห์เพื่อหาต่ำแหน่งส่วนปลายของแขนกลบนสนามทดสอบ
ดังแสดงในรูป
รปู ท่ี 4.1 แขนกลและสนามทดสอบทีใ่ ช้ในโครงงาน
ในการทดสอบ เมอ่ื ทำการปอ้ นต่ำแหนง่ พกิ ดั ที่ตอ้ งการผ่านโปรแกรม LabVIEW โปรแกรมจะทำการ
คำนวณหาต่ำแหนง่ ของทัง้ 6 แกน เพ่ือใหส้ ่วนปลายของแขนกลเคลื่อนทไ่ี ปยังพิกัดท่ตี ้องการอยา่ งเหมาะสม
บนสนามทดสอบ
1. การทดลองหยบิ สิง่ ของทจี่ ุด (130,160,0) ไปยังจุด (-130,160,0) จำนวน 10 คร้ัง
จากรูปที่ 4.2 เป็นการแสดงท่าทางของแขนกลในการหยิบสิ่งของที่จุด (130,160,0) ไปยังจุด
(-130,160,0) โดยมีผลการทดลองดงั ตารางท่ี 4.1
รูปที่ 4.2 การทดสอบหยิบวตั ถทุ ี่จุด (130,160,0) ไปยงั จุด (-130,160,0)
ตารางที่ 4.1 การทดลองหยบิ ส่ิงของท่ีจุด (130,160,0) ไปยงั จุด (-130,160,0) จำนวน 10 ครั้ง
จำนวน ต่ำแหนง่ วางท่ีกำหนด ต่ำแหน่งวางท่ไี ด้ ความคลาดเคล่ือน
ครง้ั (%)
(mm) (mm)
1 XY
2 X Y XY 0.8 0.0
3 2.3 1.3
4 -130 160 -129 160 7.7 5.0
5 7.7 4.4
6 -130 160 -127 162 3.8 3.1
7 7.7 5.0
8 -130 160 -120 168 5.4 2.5
9 0.0 0.0
10 -130 160 -120 167 0.0 3.1
0.8 0.6
-130 160 -125 165 3.6 2.5
-130 160 -120 168
-130 160 -123 164
-130 160 -130 160
-130 160 -130 165
-130 160 -129 161
ความคลาดเคลอื่ นเฉล่ีย
จากการทดลองในตารางที่ 4.1 จะเห็นได้ว่า เมื่อแขนกลหยิบวัตถุจากต่ำแหน่งเริ่มต้น
ที่จุด (130,160,0) และให้เคลื่อนที่ไปวางยังต่ำแหน่งเป้าหมาย ที่จุด (-130,160,0) ค่าความคลาดเคลื่อน
โดยเฉลี่ยในแกน X เท่ากับ 3.6 % แกน Y เท่ากับ 2.5 % โดยที่ในแกน X มีค่าความคลาดเคลื่อนสูงสุดท่ี
7.7 % แกน Y สูงสดุ ที่ 5 %
4.2.2 การทดลองหยิบสิ่งของที่จุด (130,160,0) ไปยังจุด (-110,230,0) จำนวน 10 คร้ัง
จากรูปที่ 4.3 เป็นการแสดงท่าทางของแขนกลในการหยิบสิ่งของที่จุด (130,160,0) ไปยังจุด (-110,230,0)
โดยมผี ลการทดลองดงั ตารางที่ 4.2
รูปที่ 4.3 การทดสอบหยิบวตั ถทุ ี่จุด (130,160,0) ไปยังจดุ (-110,230,0)
ตารางท่ี 4.2 การทดลองหยบิ สิ่งของทีจ่ ดุ (130,160,0) ไปยังจดุ (-110,230,0) จำนวน 10 ครั้ง
จำนวน ตำ่ แหน่งวางที่กำหนด ตำ่ แหน่งวางทไี่ ด้ ความคลาดเคลอ่ื น
(%)
ครง้ั (mm) (mm)
XY
X Y XY 5.4 2.5
7.7 5.0
1 -110 230 -107 233 3.8 3.1
7.7 4.4
2 -110 230 -118 230 9.1 0.4
7.7 5.0
3 -110 230 -117 228 2.3 1.3
0.0 0.0
4 -110 230 -106 234 4.5 1.3
0.9 0.4
5 -110 230 -105 232 4.0 0.8
6 -110 230 -109 231
7 -110 230 -100 231
8 -110 230 -115 233
9 -110 230 -111 231
10 -110 230 -110 231
ความคลาดเคลื่อนเฉลยี่
จากการทดลองในตารางที่ 4.2 จะเห็นได้ว่า เมื่อแขนกลหยิบวัตถุจากต่ำแหน่งเริ่มต้นที่จุด
(130,160,0) และให้เคลื่อนท่ไี ปวางยงั ต่ำแหนง่ เปา้ หมาย ทีจ่ ุด (-110,230,0) ค่าความคลาดเคลอื่ นโดยเฉลี่ยใน
แกน X เท่ากับ 4 % แกน Y เท่ากับ 0.8 % โดยที่ในแกน X มีค่าความคลาดเคล่ือนสูงสุดที่ 9.1 %
แกน Y สูงสดุ ท่ี 1.7 %
ผู้วิจัยทดลองระบบของแขนหุน่ ยนต์ทั้ง 2 ตัว โดยการทดลองหยิบช้ินงาน 10 ครั้ง ครั้งละ 10 กล่อง
ผลการทดลองเปน็ ดงั แผนที่ 4.2
การทดลองเครือ่ งมอื
10 โรงงาน B โรงงาน C
8 จานวนชนิ้ ทจ่ี บั ได้ จานวนชนิ้ ทจ่ี บั ไมไ่ ด้
6
4
2
0
โรงงาน A
แผนภาพท่ี 4.2 การทดลองเครอื่ งมือหยิบส่งิ ของ ณ จุดในระดบั เดียวกนั
4.2.2 การทดสอบทกั ษะการใช้เครอื่ งมือ
จากการทดสอบ ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาทักษะในการใช้เครื่องมือของนักเรียน จำนวน 7 คน
โดยเครื่องมือท่ีใช้ในการทดสอบ คอื เครื่องมือแขนกล โดยใชก้ จิ กรรมจับคฝู่ กึ ปฏิบตั ิซ่งึ มีผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ดังนี้
1. นำผลคะแนนที่ได้จากการประเมินการปฏิบตั งิ านเปรียบเทยี บผ่านเกณฑ์ 60% ทก่ี ำหนดไว้
2. บรรยายขอ้ มูลด้วยการแจงแจกความถี่คา่ รอ้ ยละ (%)
ตารางที่ 1 ตารางวเิ คราะหข์ ้อมูล
ระดบั คะแนน การ ขัน้ ตอน การ การใช้ การเก็บ คะแนน ร้อย
การ เลอื กใช้ เครือ่ งมอื เคร่ืองมือ รวม ละ
เตรยี ม ปฏบิ ัตงิ าน เครอ่ื งมือ แขนกล หลังใช้ )%(
นกั เรียน เคร่ืองมอื งาน 100
5 5 6 2 20 70
เกณฑค์ ะแนน 2 3 4 3 2 14 80
นักเรียนคนที่ 1 2 4 4 4 2 16 50
นักเรยี นคนท่ี 2 2 3 1 2 2 10 70
นกั เรยี นคนที่ 3 2 3 4 3 2 14 80
นกั เรยี นคนท่ี 4 2 4 4 4 2 16 50
นักเรียนคนท่ี 5 2 3 1 2 2 10 70
นักเรียนคนที่ 6 2 3 4 3 2 14
นักเรียนคนที่ 7 2
จากตาราง พบว่าคะแนนที่ไ ด้จากแบบประเมินผลการปฏิบัติง านนัก เรียน สามารถ ผ่าน เ ก ณ ฑ์
การประเมินได้ จำนวน 6 คนคิดเป็นร้อยละ 93.75 ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมิน 1 คนคิดเป็นร้อยละ 6.25 ของ
นักศึกษาทีเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรมจบั คู่ฝกึ ปฏบิ ัติ
4.3 ผลการเขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการ WIL
ผลการเก็บข้อมูลผ่านการวิเคราะหระบบแมทชิ่ง (Matching) เพื่อเก็บข้อมูลการเข้าร่วมโครงการ
การดำเนินงานการเรียนรู้กับการทำงาน (WIL) ของนักศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวศิ วกรรมการผลติ อตั โนมัติ
โดยวิเคราะห์เอกสารการเกบ็ ขอ้ มูลจากผูเ้ ข้ารว่ มการวจิ ัย ประกอบด้วย 7 ด้านตา่ งๆ ดงั น้ี
4.3.1. นักศึกษาเข้าฝึกปฏบิ ัตงิ านและส่งตัว
4.3.2. นกั ศึกษาแจง้ โครงรา่ งรายงานการปฏบิ ัติงาน
4.3.3. ส่งผลความก้าวหนา้ แกส่ าขาวิชา
4.3.4. สถานประกอบการประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน
4.3.5. สถานประกอบการออกใบรับรองแก่นกั ศึกษา
4.3.6. ส่งเอกสารให้สาขาวชิ าประเมินผล
4.3.7. โครงการ WIL สำเร็จเรยี บร้อย
การเรยี นรูก้ ับการทางาน (WIL)
100
90
80
70
60
50
40
30
20
10
0
โรงงาน A โรงงาน B โรงงาน C
แผนภาพ 4.3 การเข้ารว่ มกิจกรรมการเรยี นรกู้ บั การทำงาน (WIL)
จากแผนภาพที่ 4.3 แสดงถึงความพึงพอใจด้านการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้กับ
การทำงาน (WIL) โดยภาพรวมพบวา่ ทั้งหมด 7 ด้าน และเมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายข้อพบว่า ดา้ นที่ 1 นกั ศึกษาเข้า
ฝึกปฏิบัติงานและส่งตัว มากที่สุด โรงงาน C (93.33) ด้านที่ 2 นักศึกษาแจ้งโครงร่างรายงาน
การปฏิบัติงานมากที่สุด โรงงาน B (90.67) ด้านที่ 3 สาขาวิชาแสดงผลความก้าวหน้า มากที่สุดเท่ากัน
โรงงาน B และ โรงงาน C (80.67) ด้านที่ 4 สถานประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงาน มากที่สุด
โรงงาน B (79.33) ด้านที่ 5 สถานประกอบการออกใบรับรองแก่นักศึกษา มากที่สุด โรงงาน C (93.33)
ด้านที่ 6 ส่งเอกสารให้สาขาวิชาประเมินผล มากที่สุด โรงงาน B (90.00) และ ด้านที่ 7 โครงการ WIL
สำเร็จเรยี บร้อย มากท่สี ดุ เท่ากัน โรงงาน B และ โรงงาน C (80.60)
4.4 การคดั เลือกนักเรียนเขา้ รว่ มโครงการ WIL
ผู้วิจัยได้ทำการทดสอบศึกษาทักษะในการใช้เครื่องมือของนักเรียน จำนวน 7 คน
โดยเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ คือ เครอื่ งมือแขนกล โดยใช้กจิ กรรมจับคู่ฝกึ ปฏิบัติ นักเรียนท่ีมีการประเมิน
ผ่านเกณฑ์ 60% ขึ้นไป มีโอกาสคัดเลือกให้เข้าฝกึ ประสบการณก์ ับโครงการ WIL ตามเกณฑ์บริษัททีม่ ีเกณฑ์
แตล่ ะดา้ นมากนอ้ ยแตกตา่ งกันไป ท้งั หมด 7 ด้าน สอดคลอ้ งกบั คุณสมบัตโิ ครงการเร่ืองความพร้อมเรื่องทักษะ
เครื่องมือ อุปกรณใ์ นสถานประกอบการ สามารถสรปุ ได้ดงั น้ี
ตารางท่ี 2 ตารางสรุปการเข้ารว่ มกจิ กรรมการเรียนรูก้ บั การทำงาน (WIL)
กจิ กรรม เกณฑ์คะแนนโรงงาน
มากทีส่ ุด ปานกลาง น้อย
นักศึกษาเข้าฝึกปฏบิ ัตงิ านและสง่ ตัว CBA
นกั ศึกษาแจง้ โครงรา่ งรายงานการปฏบิ ตั งิ าน B C A
ส่งผลความกา้ วหน้าแกส่ าขาวชิ า B กับ C A -
สถานประกอบการประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน B C A
สถานประกอบการออกใบรบั รองแก่นักศึกษา C B A
สง่ เอกสารให้สาขาวิชาประเมนิ ผล BCA
โครงการ WIL สำเร็จเรยี บร้อย B กบั C A -
โดยเรากำหนดเกณฑก์ ารคัดเลอื กนกั เรียนเข้ารว่ มโครงการ WIL จากการกำหนดสถานประกอบการดงั น้ี
- สถานประกอบการ B ระดับคะแนนฝึกทกั ษะ 18-20 คะแนน
- สถานประกอบการ C ระดบั คะแนนฝกึ ทักษะ 15-17 คะแนน
- สถานประกอบการ A ระดบั คะแนนฝกึ ทกั ษะ 10-14 คะแนน
ตารางที่ 3 ตารางคัดเลอื กนักเรียนกบั สถานประกอบการ
ระดับคะแนน
คะแนนรวม คัดเลือกสถานประกอบการ
นกั เรยี น
เกณฑ์คะแนน 20 สถานประกอบการ B
นกั เรยี นคนท่ี 1 14 สถานประกอบการ A
นักเรียนคนท่ี 2 16 สถานประกอบการ C
นักเรียนคนที่ 3 10 สถานประกอบการ A
นกั เรยี นคนที่ 4 14 สถานประกอบการ A
นักเรยี นคนท่ี 5 16 สถานประกอบการ C
นักเรยี นคนท่ี 6 10 สถานประกอบการ A
นกั เรยี นคนที่ 7 14 สถานประกอบการ A
จากตาราง พบว่าคะแนนที่ไ ด้จากแบบประเมินผลการปฏิบัติง านนัก เรียน สามารถเข้าร่วม ฝึ ก
ประสบการณ์สถานประกอบการแต่ละแห่งแ ตกต่างกันไป สามารถอธิบายรายย่อย พบว่า
สถานประกอบการ B จำนวน 1 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.25 รองลงมาสถานประกอบการ C จำนวน 2 คดิ เป็นรอ้ ยละ
3.50 และสถานประกอบการ A จำนวน 5 คิดเป็นร้อยละ 90.50 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม
จับคฝู่ ึกปฏบิ ตั ิ
บทท่ี 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การวิจัย เรื่องการศึกษาการจัดการเรียนการสอนเชิงบูรณาการเรียนรู้กับการท ำง าน
แนวทางการพัฒนาการจัดการศกึ ษาแบบบรู ณาการระหวา่ งการทางานกับการเรยี น โดยกลมุ่ ตัวอยา่ งท่ใี ช้ใน
การศึกษา คือ ผบู้ รหิ ารและผู้แทนสถานประกอบการ จำนวน 3 คน และกล่มุ นักศกึ ษาชัน้ ปี 2 ของหลักสตู ร
วศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการผลติ อัตโนมัติ จำนวน 7 คน เครอื่ งมือที่ใช้สาหรับการเก็บ
รวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยแนวค ำถามที่ใชใ้ นการทดลอง และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview)
การสังเกตแบบมีสว่ นรว่ ม และมีการวเิ คราะห์ผา่ นระบบแมทช่งิ (Matching) คณะผูว้ ิจัยได้ สรปุ ผลการวิจัย
อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ดังตอ่ ไปนี้
5.1 สรุปผลและอภิปรายผล
ผลการศึกษาการสง่ เสริมการจดั การเรียนรู้ WIL ในสถานศึกษา
การศกึ ษาสภาพปญั หาและการดำเนนิ การสง่ เสริมการจดั การเรียนรู้จากการทำงานเปน็ ฐานของสถาน
ประกอบการในนคิ มอุตสาหกรรมภาคตะวนั ออก ก็เพ่อื จะได้ทราบทม่ี าทไ่ี ปในการดำเนนิ การจดั การเรยี นรู้จาก
การทำงานเป็นฐาน สภาพปญั หาของการดำเนนิ การทีผ่ า่ นมาวา่ เป็นอยา่ งไร มวี ธิ ีการอยา่ งไรบา้ ง การวเิ คราะห์
ปัจจยั และเงอ่ื นไขของการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้จากการท ำงานเปน็ ฐานก็เพ่อื ที่จะไดส้ ังเค ราะห์ข้อมูล
เก่ยี วกบั นโยบาย รปู แบบ แนวทาง จุดเดน่ ของการจัดการเรยี นรจู้ ากการทำงานเป็นฐาน เป้าหมายและทิศทาง
ของการส่งเสริมการจัดเรียนรู้จากการท ำงานเป็นฐานของสถานประกอบการในนิคมอุตสาห กรรม
ภาคตะวนั ออก จากนน้ั จงึ พัฒนายุทธศาสตร์เพ่ือสง่ เสรมิ การจัดการเรยี นรู้จากการทำงานเปน็ ฐานของสถาน
ประกอบการในนคิ มอตุ สาหกรรมภาคตะวันออก เพ่ือท่ีให้ผู้สนใจในเร่อื งการจดั การเรยี นรจู้ ากการทำง านเป็น
ฐานได้รับข้อมลู ปัจจัย และวิธีการอันจะเป็นแนวทางในการสง่ เสรมิ การจดั การเรยี นรู้จากการทำงานเป็นฐ าน
ให้สำเร็จตอ่ ไปในอนาคต
การทดลองและทดสอบทักษะการใช้เครอ่ื งมอื ในสถานประกอบการ
จากทีไ่ ดท้ ำการทดสอบการใช้เครื่องมือสถานประกอบการควบคุมการทำงานของแขนกล 6 แกน
โดยการส่งั งานผ่านโปรแกรม LabVIEW ซึ่งเลือกการควบคมุ แบบอตั โนมัติ เพ่ือทำการทดสอบการหยบิ และ
วางช้ินงานขนาด 30x30x40 mm 3 เพ่อื หาค่าความคลาดเคลือ่ นในการเข้าสู่ต่ำแหน่งวตั ถุ สำหรับรูปแบบการ
ทดสอบ ได้ทดสอบการหยบิ และวางสิ่งของบนพนื้ ที่ระดบั เดยี วกัน ในความสามารถการใช้งานเคร่ือง มือตาม
โครงการ WIL
ตารางที่ 5.1 ความคลาดเคล่อื นการทดลองหยิบและวางสง่ิ ของบนพ้ืนทีร่ ะดบั เดียวกนั
จำนวน ตำ่ แหน่งวางสง่ิ ของ ตำ่ แหนง่ วางทไ่ี ด้
(mm)
ครั้ง (mm)
XY
XY -129 160
-127 162
4.1 -130 160 3.6 2.5
4.2 -130 160
ความคลาดเคลื่อนเฉล่ีย
จากผลการทดลองทไ่ี ด้ พบวา่ สามารถควบคุมให้สว่ นปลายของแขนกลให้เคลอ่ื นท่ไี ปยังต่ ำแหน่งท่ี
ตอ้ งการได้ นั่นแสดงวา่ หลักการของจลศาสตรแ์ บบผกผันสามารถคำนวณหามมุ ที่เหมาะสมทีจ่ ะใหแ้ ต่ละแกน
ของแขนกลเคลอ่ื นท่ไี ปได้ ซงึ่ ในสว่ นของการทดสอบการหยิบและวางชิน้ งานบนพน้ื ท่ีระดบั เดยี วกัน จะมีค่า
ความคลาดเคลือ่ นสูงมาก โดยจะมคี วามคลาดเคลือ่ นเฉลี่ยในแนวแกน X เทา่ กับ 3.6 % และแกน Y เท่ากับ
2.5 % โดยในแนวแกน X มคี ่าความคลาดเคล่ือนสูงสุดเท่ากับ 7.4 % และแกน Y สูงสดุ เทา่ กับ 4.6 %
สรปุ ผล การทดลองการทดลองหยบิ ช้นิ งาน 10 ครง้ั ครัง้ ละ 10 กลอ่ ง ของโรงงาน A B C พบว่า
สามารถควบคุมให้สว่ นปลายของแขนกลใหเ้ คลอ่ื นท่ไี ปยังตำ่ แหนง่ ท่ีต้องการได้ดี และหยบี สง่ิ ของได้ตามที่
กำหนด โดยโรงงานที่หยิบวัตถุได้มากที่สุด ได้แก่ โรงงาน C , โรงงาน A และ โรงงาน B ตามลำดับ
น่ันแสดงใหเ้ หน็ วา่ โรงงานมีเครอ่ื งมอื อุปกรณ์การใชง้ านทม่ี คี ุณภาพดี มกี ารดแู ลรักษา ส่งผลให้การทำงานแต่
ละมีประสทิ ธภิ าพสงู
เกณฑ์คะแนน การทดสอบ ร้อยละ
เคร่ืองมอื )%(
ผา่ นเกณฑ์ 93.75
ไม่ผ่านเกณฑ์ 6 6.25
1
รวม
7 คน
จากการทดลอง ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาทักษะในการใชเ้ ครื่องมือของนักเรียน จำนวน 7 คน
โดยเครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในการทดสอบ คอื เคร่อื งมือแขนกล โดยใช้กิจกรรมจับคู่ฝึกปฏบิ ตั ซิ ึง่ มผี ลการวิเคราะห์ขอ้ มลู
นกั เรยี นสามารถผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ได้ จำนวน 6 คนคิดเปน็ รอ้ ยละ 93.75 ไมผ่ า่ นเกณฑ์ประเมนิ 1 คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.25 ของนักศกึ ษาทเี่ ข้าร่วมกจิ กรรมจบั คู่ฝกึ ปฏบิ ตั ิ
ผลการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ WIL
จากการวเิ คราะห์ข้อมลู ทีไ่ ดจ้ ากการสมั ภาษณ์นกั เรียนแบบสนทนากลุ่มและแบบสนทนาเดยี่ วกับ คือ
ผู้บริหารและผแู้ ทนสถานประกอบการ โดยการศึกษาการจดั การเรียนการสอนเชิงบูรณาการเรียนรู้กับการ
ทำงาน พบว่า 1. ปัจจัยการทดสอบทักษะการใช้เครื่องมือ โดยผ่านเกณฑ์การประเมิน 60%
นักเรียนมีทกั ษะในการใช้เคร่ืองมือท่ีกำหนดในสถานประกอบการ จำนวน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 93.75
2 ปจั จยั ผลการเข้าร่วมกจิ กรรมโครงการ WIL พบวา่ มรี ะดับมากสุดคือ ดา้ นนกั ศกึ ษาสนใจเข้าฝึกปฏบิ ตั งิ าน
และส่งตวั ดา้ นสถานประกอบการออกใบรบั รองแกน่ ักศกึ ษา ดา้ นนักศกึ ษาแจ้งโครงร่างรายงานการปฏบิ ัติงาน
ดา้ นส่งเอกสารใหส้ าขาวชิ าประเมินผล ด้านนักศกึ ษาส่งผลความกา้ วหน้าแก่สาขาวิชา และ ด้านโครงการ WIL
สำเร็จเรียบรอ้ ย
จากตารางพบว่าคะแนนทีไ่ ดจ้ ากแบบประเมินผลการปฏิบัติงานนัก เรียนสามารถเข้าร่วมฝกึ
ป ระส บ การณ์สถ านประกอบ การแต่ล ะแ ห่งแ ตกต่างกันไป ส ามารถ อธิบายรายย ่อย พบว่า
สถานประกอบการ B จำนวน 1 คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.25 รองลงมาสถานประกอบการ C จำนวน 2 คิดเปน็ ร้อยละ
3.50 และสถานประกอบการ A จำนวน 5 คิดเป็นร้อยละ 90.50 ของนักศึกษาที่เขา้ ร่วมกิจกรรม
จับคฝู่ ึกปฏบิ ัติ
5.3 ข้อเสนอแนะ
1. สำหรับโครงการ WIL เพ่ือตอบสนองต่อความตอ้ งการของผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม ควรมกี ารวิจัย
พฒั นาระบบการจัดกิจกรรมกลุ่มนกั เรยี นและสถานประกอบการใหห้ ลากหลายมากขึ้น เพือ่ ศึกษาข้ันตอน
ระหว่างออกปฏิบตั ิงานและขนั ตอนหลังออกปฏิบตั งิ านได้หลากหลายมากขน้ึ
2. การวิจัยทดลองเครื่องมือควรใช้ชุดจำลองแขนกลอุตสาหกรรมที่ขนาดแตกต่างไป
จากการนำเครื่องมอื มาทดสอบมขี นาดเล็ก จงึ ทำให้มพี ้ืนท่ีการทำงานอย่างจำกัดและไมส่ ามารถท่ยี กของท่ีมี
น้ำหนักมากไดจ้ ึงควรปรับขนาดของแขนกลให้มขี นาดที่ใหญ่ขึน้ เพอ่ื ทีจ่ ะทำงานไดห้ ลายหน้าทีม่ ากย่งิ ขึ้นในการ
วจิ ยั ครง้ั ต่อไป
บรรณานกุ รม
สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2560). แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบบั ที่ ๑๒
(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔). กระทรวงศึกษาธกิ าร.
สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับทสี่ บิ สอง พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔. สำนกั งานนายกรฐั มนตรี.
อลงกต ยะไวทย์ และณฐั วัฒม์ วงษ์ชวลติ กุล. (2562). การพฒั นาผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ของผเู้ รียนโดยการสร้าง
สภาวะแวดล้อมการเรียนดว้ ยการทำงานในสภาพจรงิ . วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย,
47(2), 407-427.
คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม. (2564). รายละเอยี ดของหลกั สูตร (มคอ.2). มหาวทิ ยาราชภัฏราชนครนิ ทร์.
จกั รกฤษณ์ เสน่หน์ มะหตุ . (2559). การวเิ คราะห์ประสิทธิภาพของอลั กอริทึมเนมแมทช่ิงสำหรับระบบสบื คน้
ข้อมูลทอ่ งเทยี วโดยใชF้ -Measure.วารสารบรหิ ารธรุ กิจเทคโนโลยมี หานคร,12(1 ), 63-64.
วริ ัช กาฬภกั ดี (2560). การพฒั นาระบบ Matching งานสหกิจศึกษาออนไลน์ กรณศี กึ ษามหาวิทยาลยั
เจ้าพระยา. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบรู ณ์