The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การนำระบบบาร์โค๊ดมาใช้ในการลงทะเบียนผู้ขายยาง..มีค63 (บันทึกอัตโนมัติ)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jeeranai homket, 2020-04-03 04:09:59

การนำระบบบาร์ดค๊ดมาใช้ในการลงทะเบียนผู้ขายยาง ของ สตก.จ.นศ.

การนำระบบบาร์โค๊ดมาใช้ในการลงทะเบียนผู้ขายยาง..มีค63 (บันทึกอัตโนมัติ)

การนาระบบบาร์โค๊ดมาใชใ้ นการลงทะเบียนผู้ขายยาง
ของสานกั งานตลาดกลางยางพาราจังหวดั นครศรีธรรมราช

1.บทนา

1.1 หลักการและเหตุผล
การยางแห่งประเทศไทย มีตลาดกลางยางพาราจังหวัด ซ่ึงหมายถึง ตลาดที่การซื้อขายยางพาราท่ี
ดาเนินการโดยสานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัด (สตก.จ.) มีการซื้อขายแบบส่งมอบจริง โดยมีเจ้าหน้าที่
ปฏิบัติงานประจาเพื่อให้บริการซื้อขายยางแบบเบ็ดเสร็จทุกขั้นตอน สานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัดอยู่
ภายใตก้ ารกากับดูแลของฝา่ ยวิจยั และพฒั นาเศรษฐกจิ ยาง
สานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัดปัจจุบันมีจานวน 6 แห่ง คือ สานักงานตลาดกลางยางพารา
จังหวัดสงขลา สานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัดนครศรีธรรมราช สานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี สานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัดยะลา สานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัดบุรีรัมย์ และ
สานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัดหนองคาย ซ่ึงสานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัดทั้ง 6 แห่ง ดาเนินการ
ภายใต้ระเบียบการยางแห่งประเทศไทย ว่าด้วยตลาดยางพาราของการยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2562 ใน
ระเบยี บดงั กล่าว หมวดท่ี 3 วา่ ด้วยการเปน็ สมาชิก ขอ้ 7 การสมคั รเป็นสมาชิกและสิทธิของสมาชิก (1) ผู้ซ้ือและ
ผู้ขายต้องสมัครเป็นสมาชิกตลาดกลางยางพาราของการยางแห่งประเทศไทย โดยหลักฐานประกอบการสมัคร
เป็นไปตามเอกสารแนบท้ายระเบียบ ความในระเบียบข้อดังกล่าวบังคับให้ สตก.จ.ทุกแห่งจะต้องข้ึนทะเบียน
สมาชกิ ผขู้ ายยางอย่างเป็นระบบ
การปฏิบัติงานด้านการซื้อขายยางพาราแบบวันต่อวัน ของตลาดซื้อขายปัจจุบัน (Spot Market)
ของสานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัดทั้ง 6 แห่ง ดาเนินงานโดยใช้ระบบโปรแกรมซ้ือขายยาง ตลาดกลาง
ยางพารา ซ่ึงระบบโปรแกรมดังกลา่ วเชื่อมโยงระบบไปยงั เคร่ืองลูกข่ายระบบการให้บริการตลาดกลางยางพาราทั้ง
6 ข้นั ตอนของตลาดซอื้ ขายปจั จุบนั ประกอบดว้ ย งานลงทะเบียนยาง งานคดั คุณภาพยาง งานช่ังน้าหนักยาง งาน
ประมูลยาง งานจ่ายเงินคา่ ยาง และงานส่งมอบยาง การเช่อื มโยงเพอื่ สร้างความสัมพันธ์ในการทางานแต่ละจุดของ
ระบบโปรแกรมซื้อขายยาง ฯ เชื่อมโยงโดยใช้รหัสสมาชิกผู้ขายยาง ซ่ึงในระบบฐานข้อมูลสามารถระบุจานวน
ตวั เลขรหสั สมาชิกได้ท้ังส้นิ 10 ตัว
ระเบียบการยางแห่งประเทศไทย ว่าด้วยตลาดยางพาราของการยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2562
สมาชกิ ผู้ขายยางจะต้องมาสมัครเป็นสมาชิกผู้ขายยางสานักงานตลาดกลางยางพารา โดยเจ้าหน้าท่ีแผนกบริการ
สารสนเทศด้านการตลาด เป็นผูร้ บั ผดิ ชอบในการลงทะเบียนสมาชิกผู้ขายยางในระบบฐานข้อมูลสมาชิกผู้ขายยาง
และแจ้งหมายเลขสมาชิกให้กับผู้สมัครทราบ เพื่อนาไปจัดทารหัสตอกบนแผ่นยางของสมาชิกผู้ขายยางต่อไป
สมาชิกแต่ละรายจะมีรหัสสมาชกิ ประจาตวั ปัจจุบันระบบเลขทะเบียนสมาชิกเป็นตัวเลข 4 ตัว ท่ีเช่ือมโยงข้อมูล
ของผู้ขายยางไปยังกับระบบโปรแกรมซ้ือ-ขายยาง เม่ือสมาชิกนายางมาขายจะต้องลงทะเบียนการขายด้วยรหัส
สมาชิกทุกครั้ง การลงทะเบียนในอดีตท่ีผ่านมาใช้วิธีการให้พนักงานค้นหาบัตรประจาตัวสมาชิกแล้วป้อนข้อมูล
รหัสสมาชิกผ่านแป้นพิมพ์ลงในโปรแกรมซื้อ-ขายยาง แล้วตรวจข้อมูลบนบัตรว่าตรงกับข้อมูลในฐานข้อมูลของ
โปรแกรมซื้อ - ขายยางหรือไม่ จึงจะเข้าสู่การลงทะเบียนสมาชิกผู้ขายยาง จากการดาเนินลงทะเบียนโดยใช้
วิธีการป้อนข้อมูลรหัสสมาชิกผ่านแป้นพิมพ์ พบว่า มีความผิดพลาดเรื่องความแม่นยาในการป้อนตัวเลขรหัส

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 1

สมาชิกและมีการเช่ือมโยงข้อมูลลูกค้าท่ีผิดพลาดและส่งผลต่อกระบวนการจ่ายเงิ นค่ายางไม่ตรงกับตัวบุคคล
ตามลาดับ และพบปญั หาเร่อื งความล่าช้าในการลงทะเบียนสมาชกิ ผู้ขายยางประจาวัน

1.2 วตั ถุประสงคข์ องการนาเสนอ

1.2.1 เพื่อเป็นการเสนอแนะแนวทางการให้บริการซ้ือ-ขายยางพาราของสานักงานตลาดกลาง
ยางพาราทง้ั 6 แห่งด้านการบริการลงทะเบียนสมาชิกผ้ขู ายยางให้มมี าตรฐานเดยี วกัน

1.2.2 เพ่ือเป็นการเพิ่มความแม่นยาในการลงทะเบียนรหัสสมาชิกผู้ขายยาง ซ่ึงเป็นข้ันตอนแรกใน
การเช่ือมโยงขอ้ มูลของสมาชกิ ผขู้ ายในระบบโปรแกรมซื้อ - ขายยางพารา ไปยังข้ันตอนอื่นๆ ของงานบริการซ้ือขาย
ยางแบบส่งมอบจรงิ วนั ต่อวัน อกี 6 ข้นั ตอน

1.2.3 สร้างภาพลักษณ์ท่ีดีให้ในการยกระดับการบริการสมาชิกผู้ขายยางสานักงานตลาดกลาง
ยางพาราจังงหวดั

1.2.4 ลดระยะเวลาการใหบ้ ริการด้านการลงทะเบยี นขายยางให้สะดวกรวดเรว็ ขน้ึ
1.2.5 เพ่มิ ความแมน่ ยาในการประมวลผลการซอื้ ขายประจาวัน
1.2.6 ลดขอ้ รอ้ งเรยี นการใหบ้ ริการซอ้ื ขายยางทผี่ ดิ พลาดเนื่องจากการลงทะเบียนผิดพลาด

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 2

บทที่ 2
แนวความคดิ

2.1 ความรูเ้ กี่ยวกับบาร์โค๊ด
2.1.1 ความหมายของบารโ์ คด๊

บาร์โค๊ด (Bar Code) หมายถึง เลขหมายประจาตัวสินค้า ใช้แทนด้วยแท่งบาร์ขาว-ดา เรียงเข้าด้วยกัน
และประกอบดว้ ยตวั เลข 8-13 หลัก สามารถอ่านไดด้ ้วยเครอ่ื งอา่ นบารโ์ คด๊ โดยอาศัยหลักของการสะท้อนแสง นิ
ยมใชักับสินค้าอุปโภคบริโภคแทบทุกชนิด และสินค้าสาเร็จรูปต่าง ๆ การออกเลขหมายให้กับสินค้าแต่ละตัวจะ
ช่วยให้การติดตอ่ กนั ระหว่างผ้คู ้า (ผู้ผลิต ผู้คา้ ส่ง ผู้จัดจาหนา่ ย และผู้ค้าปลีก) สามารถทางานได้ราบรื่นขึ้น เปรียบ
ได้กบั บตั รประจาตัวประชาชนทีเ่ ป็นเคร่ืองชี้บอกถึงความแตกตา่ งกันของแต่ละคน เลขหมายประจาตัวสินค้าก็เป็น
เคร่ืองช้ีบอกถึงความแตกต่างของสินค้าชนิดน้ันกับสินค้าอื่น ๆ สินค้าทุกชนิดท่ีมีความแตกต่างกันไม่ว่าจะเป็น
ขนาด สี จานวนบรรจุ จะมีเลขหมายประจาตัวสินค้าต่างกัน ตัวอย่างเช่น ไอศครีมรสวนิลาจะมีเลขหมาย
ประจาตวั คนละเลขหมายตา่ งจากไอศครีมรสชอ็ กโกแล็ต หรือในกรณกี ล่องใหญ่ที่บรรจุถ้วย 12 ใบ จะมีเลขหมาย
ประจาตัวแตกตา่ งจากถว้ ย 1 ใบ

2.1.2 ลกั ษณะสาคัญของบาร์โคด๊
บาร์โค้ดจะต้องมีความคมชัดของเส้นแต่ละเส้น ไม่ขาดหาย ขนาดของบาร์โค้ดจะมีขนาดมาตรฐาน ของ

แตล่ ะระบบอยู่แล้ว โดยสามารถย่อลงได้มากสุด 20% พ้ืนท่ีด้านข้างของตัวบาร์โค้ด (Quiet Zone) จะต้องมีเน้ือที่
10 เทา่ ของแท่งรหัสทเ่ี ล็กทส่ี ดุ หรือมากกว่า 3.6 มลิ ลิเมตร มฉิ ะนั้นจะอ่านไมอ่ อกบาร์โค้ดจะต้องมีความคมชัดของ
เส้นแต่ละเส้น ไม่ขาดหาย ขนาดของบาร์โค๊ดจะมีขนาดมาตรฐาน ของแต่ละระบบอยู่แล้ว โดยสามารถย่อลงได้มาก
สดุ 20% พน้ื ทีด่ า้ นขา้ งของตัวบาร์โค๊ด (Quiet Zone) จะต้องมเี นือ้ ท่ี 10 เท่าของแท่งรหัสที่เล็กท่ีสุด หรือมากกว่า
3.6 มิลลเิ มตร มฉิ ะนนั้ จะอ่านไมอ่ อก

2.1.3 หลักการทางานของเครือ่ งอ่านบาร์โคด๊ (Reader Scanner)
1. ฉายแสงลงบนแทง่ บารโ์ คด๊ ฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค๊ด หรือ แหล่งกาเนิดแสง (Light Source) ภายใน
เครื่องอ่านบาร์โค้ดจะฉายแสงลงบนแทง่ บาร์โค้ด และกวาดแสงอ่านผา่ นแทง่ บาร์
2. รบั แสงท่ีสะท้อนกลบั มาจากตัวบาร์โคด้ ฉายการอา่ นบาร์โค๊ดจะใช้หลักการสะท้อนแสงกลับมาท่ีตัวรับ

แสงจากแทง่ บาร์
3.เปลี่ยนปริมาณแสงที่สะท้อนกลับมาให้เป็นสัญญานไฟฟ้า เปล่ียนปริมาณแสงท่ีสะท้อนกลับมาให้เป็น

สัญญาณไฟฟ้า ภายในเครื่องอ่านบาร์โค้ดจะมีอุปกรณ์เปลี่ยนปริมาณแสง ท่ีสะท้อนกลับมาให้เป็นสัญญาณทาง
ไฟฟ้า

4. เปลีย่ นสัญญาณไฟฟา้ ให้เป็นข้อมูลที่นาไปใช้งานได้สัญญาณไฟฟ้าจะไปเปรียบเทียบกับตารางบาร์โค๊ด
ท่ี ตัวถอดรหสั (Decoder) และเปลี่ยนให้เปน็ ขอ้ มูลทีส่ ามารถนาไปใช้งานได้

สรุปหลักการทางานของเคร่อื งอา่ นบารโ์ คด๊ เครื่องอ่านบาร์โค๊ดจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค๊ด แล้วรับแสง
ท่ีสะท้อนกลับจากแท่งบาร์โค๊ด ซ่ึง Space จะสะท้อนแสงได้ดีกว่าแท่งบาร์โค้ด จากนั้นปริมาณแสงสะท้อนจะถูก

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 3

เปล่ียนไปเป็นสัญญาณทางไฟฟ้า แล้วถูกส่งต่อไปยังตัวถอดรหัส (Decoder) และแปลงให้เป็นข้อมูลที่สามารถ
นาไปใช้งานได้

ลักษณะการทางาน บารโ์ ค๊ดจะถูกอ่านดว้ ยเคร่ืองอ่านบารโ์ คด๊ บนั ทกึ ข้อมูลเขา้ ไปเกบ็ ใน
คอมพวิ เตอรโ์ ดยตรง ไม่ต้องกดปุ่มทีแ่ ท่นพิมพ์ โดยอาศยั หลักของการสะท้อนแสง ทาให้มีความสะดวกรวดเรว็ ใน
การทางานมากขนึ้ เครื่องอ่านบาร์โคด๊ มีชนิดต่าง ๆ กัน ซ่ึงสามารถทางานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เมอื่ อา่ น
บารโ์ ค้ดท่ไี ด้รบั การพิมพ์อยา่ งถูกต้อง เครื่องอ่านบาร์โคด๊ จะถกู ตอ่ เข้ากับคอมพวิ เตอร์กลาง เพ่อื ทาหนา้ ท่ีเก็บ
ข้อมลู ทุกครั้งทีม่ ีการซ้ือขายและการขายออกไดอ้ ย่างถูกต้องแมน่ ยา

2.1.4 การนาบารโ์ ค๊ดมาใช้ในธุรกจิ การค้าจะมคี ุณประโยชน์หลายประการ คอื
1.ลดข้นั ตอนและประหยดั เวลาการทางาน การซ้อื -ขาย สินค้าจะมีความสะดวกรวดเร็วมากข้นึ

โดยเฉพาะการรับชาระเงนิ การออกใบเสรจ็ การตดั สนิ ค้าคงคลงั
2.งา่ ยต่อระบบสนิ ค้าคงคลงั คอมพิวเตอรซ์ งึ่ เชื่อมกบั เครื่องอา่ นบารโ์ คด๊ จะตดั ยอดสินค้าโดยอัตโนมตั ิ จงึ

สามารถใหข้ ้อมูลเก่ยี วกับการหมุนเวียนสินค้า สินค้ารายการใดจาหน่ายไดด้ ีหรือไม่ มสี ินคา้ เหลอื เท่าใด
3. ยกระดับมาตรฐานสนิ ค้า การระบุแหล่งผลติ ของประเทศแตล่ ะราย ทาให้ผผู้ ลติ ปรับปรุงคุณภาพเพ่ือ

รกั ษาภาพพจน์ของสินคา้ และสอดคล้องกบั มาตรฐานผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรมเรื่องสญั ลกั ษณ์ รหัสแทง่ สาหรบั แสดง
ขอ้ มูลสินค้า

4. สร้างศักยภาพเชิงแข่งขันในตลาดตา่ งประเทศ รหัสแทง่ เปน็ เครอ่ื งบ่งช้ถี งึ สนิ ค้าทีม่ คี ุณภาพดเี ช่อื ถือได้
การมีรหัสประจาตวั ของแตล่ ะประเทศทาใหผ้ ้ทู ส่ี นใจซ้ือสินค้าสามารถทราบถึงแหลง่ ผลิตและติดต่อซื้อ-ขายกนั ได้
สะดวกโดยตรง เปน็ การพฒั นาบรรจุภัณฑ์เพ่ือการส่งออก

5. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร ข้อมลู จากระบบรหัสแท่ง จะช่วยให้ผูป้ ระกอบธุรกิจสามารถตัดสนิ ใจ
วางแผน และบริหารงานด้านการผลติ การจัดซ้ือ และการตลาดได้อย่างรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพ

2.1.5 รหัสบารโ์ ค๊ดทีเ่ ปน็ มาตรฐานนยิ มใช้ รหสั บารโ์ ค๊ดท่ีเปน็ มาตรฐานนยิ มใช้กันอย่างแพรห่ ลายทว่ั โลก มี
ประมาณ 11 ระบบ ดังนี้

1. UPC [Uniform Product Code] ใช้เม่ือปี พ.ศ. 2515 ในประเทศสหรัฐอเมรกิ าและแคนาดา
แบง่ ออกเป็น 4 ประเภท

1.1 แบบยอ่ มี 8 หลกั หรือเรยี ก UPC-E ใชก้ ับสนิ ค้าท่ีมีข้อมูลน้อย
1.2 แบบมาตรฐานมี 12 หลกั หรือเรียก UPC-A ซง่ึ เปน็ แบบทีน่ ิยมใชอ้ ยู่ทั่วไป
1.3 แบบเพ่ิมตัวเลข 2 หลัก หรือเรียก UPC-A+2 ในกรณีท่ี UPC-A เกบ็ ข้อมูลไม่พอ
1.4 แบบเพ่ิมตัวเลข 5 หลัก หรอื เรยี ก UPC-A+5 เพือ่ เพม่ิ ข้อมูลให้มากข้ึน
2. EAN [European Article Number] เริ่มใช้เมอ่ื ปี พ.ศ.- 2519 แบง่ ออกเป็น 4 ประเภท
2.1 แบบย่อมี 8 หลัก หรอื เรยี ก EAN-8 ใชก้ บั ธรุ กิจเล็ก มีขอ้ มูลไม่มาก
2.2 แบบมาตรฐานมี 13 หลกั หรือเรยี ก EAN-13
2.3 แบบเพิ่มตวั เลข 2 หลกั หรอื เรียก EAN-13+12 เพือ่ เพิม่ ข้อมูล ถา้ EAN-13 บรรจขุ ้อมูล
ไม่หมด
2.4 แบบเพิ่มตวั เลข 5 หลัก หรือเรยี ก EAN-13+5 เพอ่ื เพ่มิ ข้อมลู ให้มากข้นึ

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 4

3.Code 39 เริม่ ใชใ้ นปี พ.ศ.-2517 ในธรุ กิจอตุ สาหกรรมเป็นบารโ์ คด้ ระบบแรกทใี่ ชร้ วมกบั
ตวั อักษรได้ เก็บข้อมูลไดม้ าก

4. INTERLEAVE 1 of 5 หรอื เรยี กวา่ ITF เป็นบาร์โค้ดตัวใหญ่ใช้กับหบี บรรจสุ นิ ค้าหรือเรยี ก Cass
Code

5. CODABAR ถกู พัฒนาข้นึ มาใช้กบั ธรุ กจิ เวชภัณฑ์ ในปี พ.ศ.-2515
6. CODE 128 ได้ถูกพัฒนาขึ้นและยอมรับวา่ ไดใ้ ช้เปน็ ทางการในสหรฐั อเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2524
นิยมใชใ้ นวงการดีไซเนอร์และแฟชนั่ ปัจจบุ นั กาลังเร่ิมนิยมใชใ้ นสหรัฐอเมรกิ า
7. CODE 93 ไดเ้ ร่มิ พัฒนาขนึ้ ในปี พ.ศ.- 2525 ปจั จุบันเริม่ นิยมใชใ้ นวงการอตุ สาหกรรม
8. CODE 49 ได้เริ่มพัฒนาขึ้นในปี พ.ศ. 2530 โดยพัฒนาจาก CODE 39 ให้บรรจุข้อมูลได้มาก
ขึน้ ในพน้ื ทเี่ ท่าเดมิ
9. CODE 16k เหมาะสาหรับใช้กับอุตสาหกรรมผลิตสินค้าท่ีเล็กมาก มีพื้นที่ในการใสบาร์โค้ดน้อย
เชน่ อุปกรณ์อะไหล่ เครือ่ งไฟฟา้
10. ISSN / ISBN [International Standard Book Number] ใช้กับหนงั สือ และนติ ยสาร
11. CODE 93 หรือ Shipping Container Code เป็นระบบใหม่ โดยการร่วมมือระหว่าง EAN
ของยุโรป และ UCC ของสหรัฐอเมริกา โดยเอาระบบ EAN มาใช้ร่วมกับ CODE 128 เพื่อบอกรายละเอียดของ
สินคา้ มากขน้ึ เชน่ วันเดอื นปที ่ีผลติ คร้งั ทีผ่ ลิต วนั ทส่ี ่งั ซื้อ มีกี่สี กี่ขนาด เปน็ ตน้

2.2. สภาพปัญหาการลงทะเบียนสมาชกิ ผขู้ ายยาง
2.2.1 ปัญหาเร่ืองการลงทะเบียนยางล่าช้า บัตรสมาชิกผู้ขายยางในอดีตใช้สาเนาบัตรประชาชนของ

สมาชิกผขู้ ายและเขียนเลขบัญชีธนาคารของสมาชกิ ผู้ขายยางดว้ ยปากกา และจะมีการเขียนรหัสสมาชิกไว้ท่ีมุมบน
ดา้ นขวามือ ดังรปู ที่ 2.1 บตั รสมาชกิ จะถูกจดั เกบ็ ไวท้ ่จี ุดลงทะเบยี นยาง ดังรูปท่ี 2.2

รูปท่ี 2.1 บัตรสมาชกิ ผู้ขายยางกอ่ นปรบั ปรุงระบบการลงทะเบียนสมาชกิ ผู้ขายยาง

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 5

รปู ท่ี 2.2 การจัดเกบ็ บัตรสมาชิกผู้ขายยาง รูปท่ี 2.3 การป้อนรหัสสมาชิกเข้าโปรแกรมซื้อขายยางพารา

เมื่อสมาชิกผูข้ ายยางนายางมาขายจะแจ้ง ชอ่ื -สกุล ใหก้ บั เจ้าหน้าที่ลงทะเบียนยาง เจ้าหน้าท่ีลงทะเบียน
ยางจะหาบัตรสมาชิกท่ีมีช่ือ-สกุลตรงกับที่สมาชิกแจ้ง เพื่อนาเลขท่ีบัตรสมาชิกมุมขวามือบน มาลงทะเบียนใน
ระบบโปรแกรมยาง ดงั รูปท่ี 2.3 ซ่ึง รถขายยาง 1 คนั ใช้เวลาลงทะเบยี นประมาณ 5 นาที

กรณีเป็นสมาชิกรายใหม่ท่ีมาสมัครป็นสมาชิกผู้ขายยางในวันดังกล่าวพร้อมกับนายางมาขายจะมีความ
ล่าช้าในการขายยางเพราะต้องใช้เวลาในการขึ้นทะเบียนสมาชิกและลงทะเบียนการขายเป็นเวลาประมาณ 10
นาทตี อ่ คัน ดงั รปู ท่ี 2.4

รูปท่ี 2.4 ขั้นตอนการลงทะเบียนสมาชิกผูข้ ายยาง

3.1.1 ผลกระทบจากสภาพปัญหาจากการลงทะเบียนลา่ ช้า
3.1.1.1 ผลตอ่ กระบวนการทางานในกจิ กรรมรับซื้อยางประจาวัน
• การคัดคุณภาพยางลา่ ช้า
• การช่ังน้าหนักยางลา่ ช้า
• การประมวลผลการซื้อขายประจาวนั ลา่ ชา้
• การจา่ ยเงินคา่ ยางมีความเสย่ี งต่อการจ่ายเงนิ ผดิ พลาด การจา่ ยเงินลา่ ช้า

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 6

3.1.1.1 ผลตอ่ ภาพลักษณ์ขององค์กร

• มขี อ้ ร้องเรียนเก่ยี วกบั การให้บรกิ ารรับซอ้ื ยางประจาวนั

• มีขอ้ ร้องเรียนเกี่ยวกบั การสวมสทิ ธกิ ารซอ้ื ขาย

• มขี ้อร้องเรียนเร่ืองการไมส่ ามารถตรวจสอบแหลง่ ที่มาของยาง

• มขี อ้ ร้องเรยี นเกย่ี วกับการจ่ายเงนิ ค่ายางลา่ ช้าและจา่ ยเงนิ ค่ายางผดิ พลาด

2.2.2 ปัญหาเร่ืองการลงทะเบียนสมาชิกผิดพลาด เนื่องจากข้ันตอนการลงทะเบียนยางต้องทางานด้วย
ความเร่งรีบต้ังแต่ขั้นตอนการหาบัตรสมาชิก และการป้อนขั้อมูลด้วยการคีย์ตัวเลขทางคีย์บอร์ด
คอมพิวเตอร์เพ่ือเช่ือมโยงข้อมูลรหัสสมาชิกกับข้ันตอนการใช้โปรแกรมระบบซื้อ-ขายยางพารา
ขั้นตอนอ่นื ๆ ดงั รูปท่ี 2.5

รปู ท่ี 2.5 ขั้นตอนการให้บริการ ซ้อื -ขายยางตลาดกลางยางพาราก่อนใช้ระบบบารโ์ ค๊ด

หลังจากลงทะเบียนรหัสสมาชิกผู้ขายยางเสร็จเจ้าหน้าท่ีลงทะเบียนยางจะแนบบัตรสมาชิกผู้ขายยาง
พร้อมลาดับที่การช่ังยางมาให้เจ้าหน้าที่การเงินค่ายาง ดังรูปท่ี 2.6 เม่ือเจ้าหน้าที่การเงินค่ายางได้รับมอบบัตร
สมาชิกผู้ขายยางพร้อมลาดับที่การชั่งน้าหนักยางแล้วจะดาเนินการจัดทาข้อมูลเลขท่ีบัญชีธนาคารของสมาชิกให้
สอดคล้องกับบัตรสมาชิกที่เจ้าหน้าท่ีลงทะเบียนยางส่งมา ดังรูปที่ 2.7 หากมีการลงทะเบียนสมาชิกผู้ขายยางผิด
จะทาใหก้ ารจ่ายเงนิ คา่ ขายยางความผิดพลาดทง้ั ระบบ ดงั รูปที่ 2.8

รปู ที่2.6 การจัดส่งลาดับทกี่ ารลงทะเบียนสมาชกิ พร้อมบัตรสมาชกิ ให้เจา้ หนา้ ท่ีการเงนิ ค่ายาง

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 7

รปู ที่ 2.7 การจัดทาขอ้ มูลการโอนเงนิ ค่าขายยางให้กับสมาชกิ ผ้ขู ายยางประจาวนั

รปู ท่ี 2.8 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการลงทะเบยี นรหสั สมาชิกผิดพลาดกบั ปัญหาการจา่ ยเงินคา่ ยางผดิ
2.3 ผลกระทบจากการลงทะเบยี นสมาชิกผขู้ ายยางโดยให้ผูป้ ฏิบัติงานคยี ์รหัสสมาชกิ ดว้ ยมือ

2.3.1 ผลต่อกระบวนการทางานในกจิ กรรมรับซอื้ ยางประจาวัน
 การคัดคุณภาพยางลา่ ชา้
 การชงั่ นา้ หนกั ยางลา่ ช้า
 การประมวลผลการซอ้ื ขายประจาวันลา่ ชา้
 การจา่ ยเงนิ ค่ายางมคี วามเสี่ยงตอ่ การจ่ายเงินผดิ พลาด การจ่ายเงินล่าช้า

2.3.2 ผลตอ่ ภาพลักษณข์ ององคก์ ร
 มีข้อรอ้ งเรียนเก่ียวกบั การใหบ้ ริการรับซื้อยางประจาวัน
 มขี อ้ รอ้ งเรียนเกี่ยวกบั การสวมสิทธิการซือ้ ขาย
 มีข้อรอ้ งเรยี นเรื่องการไม่สามารถตรวจสอบแหล่งทมี่ าของยาง
 มีขอ้ ร้องเรียนเก่ียวกบั การจา่ ยเงินคา่ ยางลา่ ช้าและจ่ายเงนิ ค่ายางผิดพลาด

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 8

บทที่ 3
การนาระบบบารโ์ ค๊ดมาใช้ในการลงทะเบียนผมู้ าขายยาง กับโปรแกรมซ้อื -ขายาง

การปฏิบัติงานด้านการซ้ือขายยางพาราแบบวันต่อวัน ของตลาดซ้ือขายปัจจุบัน (Spot Market)
ของสานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัดทั้ง 6 แห่ง ดาเนินงานโดยใช้ระบบโปรแกรมซ้ือขายยาง ตลาดกลาง
ยางพารา ซ่งึ ระบบโปรแกรมดังกล่าวเช่อื มโยงระบบไปยังเครื่องลูกข่ายระบบการให้บริการตลาดกลางยางพาราทั้ง
6 ข้นั ตอนของตลาดซือ้ ขายปจั จุบนั ประกอบด้วย งานลงทะเบยี นยาง งานคดั คุณภาพยาง งานช่ังน้าหนักยาง งาน
ประมูลยาง งานจ่ายเงนิ ค่ายาง และงานส่งมอบยาง การเช่ือมโยงเพือ่ สร้างความสมั พนั ธ์ในการทางานแต่ละจุดของ
ระบบโปรแกรมซ้ือขายยาง ฯ เชื่อมโยงโดยใช้รหัสสมาชิกผู้ขายยาง ซ่ึงในระบบฐานข้อมูลสามารถระบุจานวน
ตวั เลขรหสั สมาชิกไดท้ ้ังสิ้น 10 ตวั

การนาระบบบาร์โค๊ดมาใช้งานในครั้งนี้ เป็นการแปลงรหัสสมาชิกผู้ขายยางเป็นแถบบาร์โค๊ดและ
เช่ือมโยงระหวา่ งแถบบาร์โค๊ดกบั โปรแกรมซอ้ื ขายยางพารา โดยมีลาดับขั้นตอนการศึกษาดงั น้ี

1.โปรแกรมเขียนบาร์โค๊ด ซ่ึงในที่นี้ใช้โปรแกรม Free Barcode ซึ่งหาโหลดได้จากอินเตอร์เน็ตได้
ฟรี ซึง่ มวี ธิ โี หลดโปรแกรมดังนี้

1.1 ไปที่เว็บไซต์ THAIWAREค้นหา โปรแกรม Free Barcode

1.2 กดป่มุ ดาวนโ์ หลด เมือ่ ดาวน์โหลดเสร็จเลือก SAVE AS

1.2ตัง้ ชอ่ื ไฟลโ์ ปรแกรมและกดบันทึก หนา้ 9

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง”

1.4 เลือกไฟลโ์ ปรแกรมที่บนั ทกึ ไว้ คลิกขวาบนเมาส์ เลอื กเมนู Extract File จะปรากฏเมนู 3 เมนู
ให้เลือก Free Barcode Installer ระหวา่ งการ install .ให้กดปมุ่ Next ไปเรอ่ื ยๆจนสิ้นสดุ จะปรากฎหน้าตา่ ง
โปรแกรมของ Free Barcode

2 3
4

2.การแปลงรหัสสมาชิกเป็นแถบบารโ์ ค๊ด
สร้างบาร์โค๊ดในส่วนของเลขทะเบียนสมาชิก โดยใช้โปรแกรม Free Barcode แล้วนามาทดลอง

อ่านกบั เคร่ืองอ่านบารโ์ ค๊ดว่าสามารถเชือ่ มโยงบาร์โค๊ดที่ใช้แทนตัวเลขรหัสสมาชิกเข้ากับโปรแกรมซ้ือ-ขายยาง ได้
หรือไม่ ซ่ึงมีขั้นตอนการสร้างบาร์โค๊ดดังนี้ ให้สอดคล้องตามระบบฐานข้อมูลของโปรแกรมซื้อ-ขายยาง ของ
สานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัดนครศรีธรรมราช ด้วยโปรแกรม Free Barcode เพ่ือทาการทดสอบ โดยมี
ขน้ั ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี

1.เปดิ โปรแกรม Free บาร์โค้ด ดงั รปู
2.กรอกรหสั บาร์โคด้ ทช่ี ่อง รหัสบารโ์ คด้
3.เลอื กรปู แบบท่ี ช่อง รปู แบบ (Code 128-A)
4.ปรบั ขนาดความสูง ที่ชอ่ ง ความสูง (80)
5.กรอกข้อมลู ที่ให้ปรากฏบน บารโ์ คด้ (CRM-NRT-1 1774 หรือ ตามท่ตี ้องการ )
6.คลกิ ท่ีปุ่ม Do it !!
7.คลกิ ท่ปี มุ่ บนั ทึกเปน็ รปู ภาพ

8.เลอื กตาแหน่งที่ตอ้ งการบนั ทกึ ไฟล์ภาพ บารโ์ คด้ หนา้ 10
9.กรอกชอื่ ไฟล์ภาพ บาร์โคด้ ทช่ี ่อง File name

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง”

10.คลิกเลือกประเภท ไฟล์ภาพ บาร์โคด๊ ทช่ี อ่ ง Save as type (PNG)

11.นาภาพ บารโ์ ค๊ด ทบ่ี นั ทึกไว้มาแทรกในโปรแกรม Microsoft Word

12.สั่งพิมพ์ บารโ์ ค๊ด บนกระดาษสตกิ เกอร์ A4 ด้วยเครื่องพิมพ์

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 11

13.นาเคร่อื งอา่ นบารโ์ ค้ด (บาร์โค้ด Scanner) มาต่อ กับเคร่ืองคอมพิวเตอรท์ ี่มีโปรแกรมซือ้ -
ขายยาง ติดตั้งอยู่

14.ทดสอบอา่ นบาร์โค๊ด กับเครอ่ื งอ่าน บารโ์ ค๊ด เม่ือเคร่ืองอา่ นบารโ์ ค้ดอา่ นคา่ ไดส้ าเร็จจะมกี าร
เชื่อมโยงไปยังฐานข้อมลู ลกู ค้าของโปรแกรมซ้ือ-ขายยาง ระบบจะปรากฏข้อมูลตา่ ง ๆ ของลูกค้าตามรหสั ลูกค้าท่ี
ปรากฏดังรปู

3. การนาบาร์โคด๊ รหสั สมาชิกผู้ขายยางมาประยุกต์ใช้งานกับบัตรสมาชิกผขู้ ายยาง
1. นาบาร์โคด๊ ทไี่ ด้ตรวจสอบถกู ต้องแล้วมาตัดและตดิ หลงั บตั รสมาชกิ

2. นาบารโ์ คด๊ ทต่ี ัดออกมาตดิ บนหลังบตั รสมาชกิ ท่ไี ด้ดาเนินการจดั ทาไว้

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 12

3. นาบัตรที่ติดบารโ์ คด๊ บนบตั รเรยี บรอ้ ยแล้วไปเคลือบเพื่อเพ่ิมความแข็งแรงและคงทน

4. เม่อื สมาชิกผ้ขู ายยางมาขายยางจะสง่ มอบบตั รสมาชกิ ที่มี บารโ์ ค้ด ให้เจา้ หน้าทลี่ งทะเบยี น

5. เจา้ หนา้ ท่ีลงทะเบยี นจะใชเ้ คร่อื งอ่าน บารโ์ คด้ เพือ่ ทาการเชื่อมโยงรหสั บนหลังบัตรสมาชกิ ไป
ยงั ฐานขอ้ มูล ในระบบโปรแกรมซื้อ-ขายยาง และลงทะเบียนผู้มาขายยาง

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 13

6. จากการพฒั นาในครัง้ นีท้ างเจ้าหน้าท่ีได้ทาการปรบั แก้ให้มีขอ้ มลู ในส่วนของ เลขบัญชี
สาหรับโอนเงินค่ายางของสมาชิกผมู้ าขายยางให้ปรากฏบนขอ้ มลู ใบเสร็จคา่ ยางด้วย จากเดมิ ท่ีก่อนการทจี่ ะ
จ่ายเงนิ ค่ายางนั้นจะที่ต้องนาบตั รของสมาชิกท่มี าขายยางในแต่ละวันจากจดุ ลงทะเบยี นของผู้สมาชกิ แต่ละรายมา
ตรวจสอบความถูกต้องก่อนท่ีจะทารายละเอยี ดการจา่ ยเงนิ ค่ายางให้กับสมาชกิ ซ่งึ ต้องใช้เวลาในการตรวจสอบ
บตั รสมาชกิ ให้ตรงกับรายการรายละเอียดส่ังจา่ ยเงินคา่ ยางใหก้ ับธนาคาร ทาให้เสียเวลา และสามารถเกดิ ความ
ผดิ พลาดได้ แต่ในปจั จบุ นั งานในขน้ั ตอนน้ีไดถ้ ูกยกเลิกไป หลงั จากไดป้ รับปรุงรูปแบบการแสดงข้อมูลในใบเสร็จค่า
ยาง ให้ปรากฏข้อมลู หมายเลขบญั ชีดว้ ย ทาใหเ้ กิดความคล่องตวั แก่เจ้าหน้าทผ่ี ปู้ ฏบิ ัติงาน ลดเวลา ขจัดความ
ผิดพลาด มคี วามถกู ต้องแม่นยาและเพ่ิมประสิทธิภาพในการให้บริการแก่สมาชิกผูม้ าขายยาง ของสานักงานตลาด
กลางยางพาราจังหวดั นครศรีธรรมราชได้อย่างดียิ่ง

ไมป่ รากฏเลขบญั ชีสมาชกิ

ใบเสรจ็ ก่อนนำระบบบำรโ์ คด้ เขำ้ มำใช้ไม่ปรำกฏขอ้ มูลเลขบญั ชีของผู้ขำยยำงบนใบเสรจ็

ใบเสรจ็ หลังนำระบบบำรโ์ คด้ เขำ้ มำใชป้ รำกฏข้อมูลเลขบัญชขี องผูข้ ำยยำงบนใบเสร็จ

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 14

บทท่ี 4
ผลการนาบาร์โคด๊ มาใชใ้ นข้นั ตอนการลงทะเบียนสมาชิกผ้ขู ายยาง

4.1 การปรบั ขัน้ ตอนการให้บริการซ้ือ-ขายยางตลาดกลางยางพารา
4.1.1 มีการเปลี่ยนแปลงหน้าท่ีความรับผิดชอบด้านการรับสมัครสมาชิกผู้ขายยางจากเดิม

เจ้าหน้าที่ลงทะเบียนยางเป็นผู้รับสมัคร เปลี่ยนมาเป็นให้แผนกบริการสารสนเทศรับผิดชอบด้านการรับสมัคร
สมาชิกผู้ขายยางและรับผิดชอบให้การกากับดูแลและปรับเปลี่ยนข้อมูลของสมาชิกผู้ขายยางในระบบฐานข้อมูล
สมาชกิ ผู้ขายยาง

4.1.2 มกี ารยกเลกิ ข้นั ตอนการทางานจากเดิมท่ีจุดลงทะเบียนต้องลงบัตรสมาชิกและลาดับที่การช่ัง
น้าหนักสมาชกิ ให้แก่งานการเงนิ คา่ ยางเพื่อบนั ทึกข้อมูลเลขบัญชีธนาคารของสมาชิกผ้ขู ายยาง

รปู ที่ 4.1 ขั้นตอนการใหบ้ ริการซ้ือ-ขายยางตลาดกลางยางพาราหลงั ปรับใชร้ ะบบลงทะเบียนดว้ ยบารโ์ คด๊

4.2 การเพิม่ เติมการบันทกึ ข้อมูลในฐานข้อมลู สมาชิกผู้ขายยาง ให้มีขอ้ มลู เลขบญั ชีธนาคาร สาหรับโอนเงิน
คา่ ยางของสมาชิกผมู้ าขายยางให้ปรากฏบนข้อมูลใบเสร็จค่ายางด้วย

รปู ที่ 4.2 ใบเสรจ็ หลังนาระบบบารโ์ ค๊ดเขา้ มาใช้ปรากฏข้อมลู เลขบัญชีของผู้ขายยางบนใบเสร็จ

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 15

4.3 การปรบั ปรงุ บตั รสมาชิกผ้ขู ายยางเปน็ แบบใหม่ โดยให้สมาชกิ ผ้ขู ายยางท่มี เี ลขทะเบยี นอยแู่ ล้วเข้ามา
ตรวจสอบฐานขอ้ มลู สมาชิก และลงรายชอ่ื ยืนยนั ความถกู ตอ้ งของข้อมูลในฐานข้อมลู ของระบบโปรแกรม และให้
สมาชิกผูข้ ายยาง เปน็ ผู้รับผดิ ชอบถือบัตรสมาชกิ ของตนไว้ และใหน้ ามาทกุ ครัง้ ที่นายางมาขายท่สี านักงานตลาด
กลางจงั หวัด เม่อื เร่ิมปรับปรุงบัตรสมาชกิ และฐานข้อมูลลูกคา้ พบว่า มีสมาชกิ ผูข้ ายยางเขา้ มาปรับปรุงฐานข้อมูล
สมาชิกและสมัครสมาชกิ เพม่ิ เติมรวมทั้งสิน้ จานวน 371 ราย ดังตารารงท่ี 4.1

ตารางท่ี 4.1 ขอ้ มูลจานวนสมาชกิ ผู้ขายยางที่มายนื่ แสดงความจานงเปลี่ยนแปลงบัตรสมาชิกผู้ขายยางเป็นแบบ
ลงทะเบยี นดว้ ยบารโ์ ค๊ด รายงาน ณ วนั ที่ 16 มีนาคม 2563

รายงานผลการออกบาร์โค๊ดเพอ่ื ใช้ในการลงทะเบยี นซอ้ื ขายยาง

(ระบบลงทะเบยี นอจั ฉริยะ)

ผลการจดั ทาบตั รสมาชิกและการแกไ้ ขฐานข้อมูลของผขู้ ายยาง ผลการจดั ทาบตั รสมาชิกและการแกไ้ ขฐานข้อมูลของผขู้ ายยาง

ณ วนั ที่ 30 เดอื น กนั ยายน 2562 ณ วันท่ี 16 เดอื น มีนาคม 2563

จานวนสมาชิกผขู้ ายยาง จานวนสมาชิกผขู้ ายยาง

เดอื น สมาชิกยางแผน่ ดบิ สมาชิกยางแผน่ รมควนั รวม เดอื น สมาชิกยางแผน่ ดบิ สมาชิกยางแผน่ รมควนั รวม
เกษตรกร สถาบนั เกษตรกร ผปู้ ระกอบกจิ การยาง สถาบนั เกษตรกร 287
เกษตรกร ผปู้ ระกอบกจิ การยาง สถาบนั เกษตรกร 5
47
ยอดยกมา ก.ย.61 1 105 63 169 ยอดยกมา ก.ย.62 67 - 125 95 23
6
ต.ค.-61 3 - 14 ต.ค.-62 5 - -- 2
1
พ.ย.-61 6 1 18 พ.ย.-62 46 - 1-
84
ธ.ค.-61 - 2 13 ธ.ค.-62 21 1 -1 371
371
ม.ค.-62 1 - 10 11 ม.ค.-63 6 - - -

ก.พ.-62 9 1 4 14 ก.พ.-63 2 - --

ม.ี ค.-62 10 - - 10 ณ. 16-3-63 1 - --

เม.ย.-62 4 1 -5

พ.ค.-62 4 2 -6

ม.ิ ย.-62 7 2 2 11

ก.ค.-62 1 2 25

ส.ค.-62 4 7 8 19

ก.ย.-62 17 2 3 22

รวม ต.ค.61-ก.ย.62 66 20 32 118 รวม ต.ค.62 - มี.ค.63 81 1 11

รวมทงั้ หมด 67 125 95 287 รวมทงั้ หมด 148 1 126 96

รวมทงั้ หมด 287 รวมทงั้ หมด

รูปท่ี 4.3 ตัวอยา่ งบตั รสมาชกิ ผขู้ ายยางแบบใหม่ หนา้ 16

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง”

4.4 การนารหัสสมาชิกไปใช้เป็นรหัสตอกบนแผ่นยาง สานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัดนครศรีธรรมราช
กาหนดให้สมาชิกผ้ขู ายยางนารหสั สมาชกิ ทีป่ รากฎบนบัตรสมาชกิ ไปทาเปน็ รหสั ตอกบนแผ่นยาง โดยให้ติดท่ีขอน
จักรรีดยาง ให้มีขนาดตัวอักษร กว้าง 2 นิ้ว สูง 4 นิ้ว เพ่ือให้ง่ายกับตรวจติดตามแหล่งท่ีมาของแผ่นยาง ซ่ึงเดิม
รหสั ตอกบนแผน่ ยางกบั รหสั สมาชิกเป็นตัวเลขคนละชุด ดาเนนิ การสง่ เสริมสมาชิกให้แก้ไขไดจ้ านวน 371 ราย

รูปท่ี 4.4 รหสั ตอกบนแผ่นยางเป็นตวั เลขชุดเดยี วกับรหัสสมาชกิ
4.5 ระยะเวลาการลงทะเบียนขายยาง เดิมการลงทะเบียนรถบรรทุกยาง 1 คัน ใชเ้ วลาใรการรบั บตั รคิว
สบื คน้ เลขท่ีบตั รสมาชิก คียเ์ ลขบตั รสมาชกิ ใชเ้ วลา 5 นาที เม่ือนาระบบลงทะเบียนด้วยบาร์โคด๊ มาใชง้ าน ใชเ้ วลา
ในการลงทะเบียนเพยี ง 1 วินาที ถือว่าระบบลงทะเบยี นดว้ ยบารโ์ คด๊ ลดระยะเวลาได้ 299 วนิ าที

รปู ท่ี 4.5 การสแกนบาร์โค๊ดหลังบตั รสมาชิกเพือ่ ลงทะเบียนยาง
4.6 ข้อร้องเรยี นเรื่องการจา่ ยเงนิ ค่ายางผิดพลาด เม่ือนาระบบสแกนบารโ์ คด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบยี นขายยาง
พบวา่ ขอ้ ร้องเรยี นเรื่องการการโอนเงินคา่ ยางผดิ พลาด มีค่าเทา่ กบั “ศูนย์”
4.7 การลงทะเบยี นสมาชิกผ้ขู ายยางผิดพลาด เมื่อนาระบบสแกนบาร์โค๊ดมาใช้ในการลงทะเบียนขายยาง
พบวา่ การลงทะเบยี นขายยางของสมาชิกมีความผดิ พลาด มีคา่ เท่ากับ “ศนู ย์”

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 17

บทท่ี 5
ความคุม้ คา่ ดา้ นการลงทุน

5.1 การวเิ คราะห์อตั ราผลตอบแทนจากการลงทนุ (Return On Investment : ROI)

การนาระบบบาร์โค๊ดมาปรับใชใ้ นลงทะเบียนสมาชิกผู้ขายยางของสานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัด
นครศรธี รรมราช มกี ารศึกษาถงึ ความค้มุ ค่าในการลงทุน เพื่อใช้เป็นขอ้ มูลประกอบการตัดสนิ ใจแกผ่ บู้ ริหาร โดย
คานวณหาคา่ อตั ราผลตอบแทนจากการลงทุน ดังน้ี

อัตราผลตอบแทนจากการลงทนุ ROI = (กาไรสทุ ธิ/ตน้ ทุน) X 100
โดยกาไรสทุ ธิ = รายรบั – ตน้ ทุน
ซง่ึ ตน้ ทนุ ในนาระบบบาร์โค๊ดมาปรับใช้ในลงทะเบยี นสมาชิกผูข้ ายยางมีค่าเท่ากบั 4,725 บาท ต้นทนุ
ดงั กล่าวครอบคลมุ การจดั ทาบารโ์ คด๊ สาหรบั สมาชิกประมาณ 3,000 ราย หรอื 3,000 รหสั ต้นทนุ จานวน
4,725 บาท ประกอบด้วย

คา่ กระดาษสติกเกอรท์ าบาร์โคด๊ 150 บาท/รีม

ค่ากระดาษอารต์ มันสาหรับทาบัตร 180 บาท/รมี

ค่าพลาสตกิ เคลือบ 95 บาท/กลอ่ ง

คา่ เครื่องยิงบาร์โคด๊ 4,300 บาท/เครอ่ื ง

รวม 4,725 บาท

สาหรบั รายรับของ สตก.จ.นศ. คานวณมาจากมลู คา่ ยางที่สมาชิกผูข้ ายยางไดร้ บั จากการมาขายยาง

ณ สตก.จ.นศ. ในปีงบประมาณ 2562 โดยมมี ลู ค่าทั้งสิ้น 1,709,984,987 บาท

กาไรสทุ ธิ = รายรบั – ต้นทนุ

กาไรสทุ ธิ = 1,709,984,987 - 4,725

กาไรสทุ ธิ 1,709,980,262 บาท

ดังนน้ั ROI = (1,709,980,262 / 4,725) x 100 =36,190,058.46 %

คา่ ROI ท่ไี ดค้ อื 36,190,058.46 % หมายความว่า การลงทนุ 100 บาท จะไดร้ ับผลตอบแทน

36,190,058.46 บาท อกี ทง้ั คา่ ROI มคี า่ เกิน 100% ซึง่ แสดงใหเ้ หน็ วา่ การนาระบบบารโ์ ค๊ดมาปรบั ใช้ใน

ลงทะเบยี นสมาชิกผู้ขายยางของ สตก.จ.นศ. เปน็ โครงการที่ใหผ้ ลตอบแทนท่ีสูงมาก

5.2 ต้นทนุ ต่อครง้ั ในการนาระบบบารโ์ ค๊ดมาใหบ้ ริการลงทะเบียนขายยาง
จากตารางท่ี 5.1 พบวา่ ตั้งแตเ่ ดอื น ตลุ าคม 2561 ถงึ เดอื น กนั ยายน 2562 ความถใี่ นการใช้ระบบ

อ่านบาร์โคด๊ จานวน 7,539 คร้ัง คิดเปน็ ต้นทุนของการใชบ้ รกิ ารลงทะเบบี ยด้วยบารโ์ ค๊ด เท่ากบั 0.63 บาท/ครัง้
ซึ่งต้นทุนการใช้งานต่อครั้งจะลดลงเมอื่ มีความถ่ีในการใชง้ านเพิ่มข้นึ

หากกาหนดอายุการใช้งานของเคร่ืองอา่ นบารโ์ ค๊ดไวท้ ี่ 5 ปี คา่ เสื่อมราคาอยู่ที่ 945/ปี และมีคา่ เฉลย่ี
ของการใช้งานอยู่ท่ปี ลี ะ 7,539 ครงั้ ณ ปี 2566 มคี วามถ่ีของการใช้อยู่ท่ี 37,695 คร้งั ณ ปที ่ี 5 ซ่งึ ค่าความ
เสื่อมเปน็ ศูนย์ ตน้ ทนุ ตอ่ ครงั้ ในการนาระบบบาร์โคด๊ มาใหบ้ ริการลงทะเบยี นยางอย่ทู ่ี 0.12 บาท/ครั้ง

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 18

ตารางที่ 5.1 แสดงความถี่ในการใชง้ านระบบบาร์โคด๊ ลงทะเบยี นผขู้ ายยางและมูลคา่ ยางทซี่ ้อื -ขายผ่าน

ตลาดกลางยางพาราจงั หวัดนครศรธี รรมราชในการลงทะเบียนในปงี บประมาณ 2562

เดือน จำนวนครง้ั มูลค่ำยำง (ล้ำนบำท)

ต.ค. 61 662 131.621299

พ.ย. 61 852 166.676251

ธ.ค. 61 627 120.675316

ม.ค. 62 925 219.037375

ก.พ. 62 683 163.161246

มี.ค. 62 313 83.030825

เม.ย. 62 71 18.107849

พ.ค. 62 364 92.331787

ม.ิ ย. 62 688 198.86302

ก.ค. 62 1,111 253.911283

ส.ค. 62 695 149.379786

ก.ย. 62 548 113.18895

รวม 7,539 1,709,984,987

กราฟท่ี 5.1 ความถ่ีในการลงทะเบยี นด้วยระบบบาร์โคด๊ และมูลคา่ การซือ้ -ขายยางในปีงบประมาณ 2562

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 19

ตารางที่ 5.2 ขอ้ มลู จานวนสมาชิกผู้ขายยางท่ีมายืน่ แสดงความจานงเปลยี่ นแปลงบัตรสมาชกิ ผู้ขายยางเป็นแบบ
ลงทะเบยี นด้วยบาร์โคด๊ รายงาน ณ วนั ที่ 16 มนี าคม 2563

รายงานผลการออกบาร์โค๊ดเพอื่ ใช้ในการลงทะเบยี นซอ้ื ขายยาง

(ระบบลงทะเบยี นอจั ฉริยะ)

ผลการจดั ทาบตั รสมาชิกและการแกไ้ ขฐานข้อมูลของผขู้ ายยาง ผลการจดั ทาบตั รสมาชิกและการแกไ้ ขฐานข้อมูลของผขู้ ายยาง

ณ วันที่ 30 เดอื น กนั ยายน 2562 ณ วันท่ี 16 เดอื น มีนาคม 2563

จานวนสมาชิกผขู้ ายยาง จานวนสมาชิกผขู้ ายยาง

เดอื น สมาชิกยางแผน่ ดบิ สมาชิกยางแผน่ รมควนั รวม เดอื น สมาชิกยางแผน่ ดบิ สมาชิกยางแผน่ รมควัน รวม
เกษตรกร สถาบนั เกษตรกร ผปู้ ระกอบกจิ การยาง สถาบนั เกษตรกร 287
เกษตรกร ผปู้ ระกอบกจิ การยาง สถาบนั เกษตรกร 5
47
ยอดยกมา ก.ย.61 1 105 63 169 ยอดยกมา ก.ย.62 67 - 125 95 23
6
ต.ค.-61 3 - 14 ต.ค.-62 5 - -- 2
1
พ.ย.-61 6 1 18 พ.ย.-62 46 - 1-
84
ธ.ค.-61 - 2 13 ธ.ค.-62 21 1 -1 371
371
ม.ค.-62 1 - 10 11 ม.ค.-63 6 - - -

ก.พ.-62 9 1 4 14 ก.พ.-63 2 - --

ม.ี ค.-62 10 - - 10 ณ. 16-3-63 1 - --

เม.ย.-62 4 1 -5

พ.ค.-62 4 2 -6

ม.ิ ย.-62 7 2 2 11

ก.ค.-62 1 2 25

ส.ค.-62 4 7 8 19

ก.ย.-62 17 2 3 22

รวม ต.ค.61-ก.ย.62 66 20 32 118 รวม ต.ค.62 - มี.ค.63 81 1 11

รวมทง้ั หมด 67 125 95 287 รวมทง้ั หมด 148 1 126 96

รวมทง้ั หมด 287 รวมทง้ั หมด

5.3 ความคมุ้ ค่าดา้ นการปฏบิ ตั งิ านเมอ่ื นาระบบลงทะเบียนดว้ ยบารโ์ คด๊ มาปรบั ใชง้ าน

5.3.1 เจา้ หนา้ ท่ผี ู้ปฏิบัติงานดา้ นการรับการปฏบิ ัติงานมากกข้ีนเพราะระบบชว่ ยใหท้ างานไดถ้ ูกต้อง
แมน่ ยา และสะดวกรวดเร็วในการปฏบิ ตั งิ าน

5.3.2 เจ้าหนา้ ทผี่ ้ปู ฏบิ ตั งิ านดา้ นการทาบัญชกี ารเงนิ ค่ายางมีความมนั่ ใจในการจดั ทาข้อมูลเลขบัญชี
ธนาคารของสมาชิกแตล่ ะรายมากขึ้นเพราะข้อมูลมีการบนั ทึกไว้ในระบบฐานข้อมลู สมาชกิ ผขู้ ายยาง สามารถบนั ทึก
ขอ้ มลู จากใบเสร็จรับเงนิ ค่ายางได้เลยไมต่ อ้ งรอขอ้ มูลจากจุดลงทะเบียนขายยาง

5.3.3 ผู้มอี านาจด้านการสงั่ จ่ายเงนิ คา่ ยางมีความมั่นใจในความถกู ต้องของขอ้ มลู การสัง่ จ่ายเงนิ คา่
ยางมากขนึ้

5.3.4 ลดข้อรอ้ งเรียนเรื่องเจ้าหนา้ ที่สานกั งานตลาดกลางการสวมสิทธ์ิการขายยางของสมาชิกผู้ขาย
ยาง เนื่องจากบัตรสมาชกิ ในระบบบารโ์ ค๊ดเป็นบัตรสมาชิกที่เป็นสิทธ์สิ ว่ นบคุ คลที่บุคคลจัดเก็บรกั ษาดแู ลดว้ ยตนเอง
ผใู้ ดไมส่ ามารถละเมิดสิทธ์ิได้ นอกจากเจ้าของสิทธิม์ อบอานาจให้ด้วยตนเอง

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 20

บทท่ี 6
บทสรปุ

การปฏิบัติงานด้านการซื้อขายยางพาราแบบวันต่อวัน ของตลาดซ้ือขายปัจจุบัน (Spot Market) ของ
สานักงานตลาดกลางยางพาราจังหวัดทั้ง 6 แห่ง ดาเนินงานโดยใช้ระบบโปรแกรมซื้อขายยาง ตลาดกลางยางพารา
ซ่ึงระบบโปรแกรมดังกล่าวเชื่อมโยงระบบไปยังเคร่ืองลูกข่ายระบบการให้บริการตลาดกลางยางพาราทั้ง 6 ข้ันตอน
ของตลาดซื้อขายปัจจุบัน ประกอบด้วย งานลงทะเบียนยาง งานคัดคุณภาพยาง งานชั่งน้าหนักยาง งานประมูลยาง
งานจา่ ยเงินคา่ ยาง และงานส่งมอบยาง การเช่อื มโยงเพือ่ สรา้ งความสัมพันธใ์ นการทางานแตล่ ะจุดของระบบโปรแกรม
ซอ้ื ขายยาง ฯ เช่อื มโยงโดยใชร้ หสั สมาชกิ ผูข้ ายยาง

สานกั งานตลาดกลางยางพาราจงั หวดั นครศรีธรรมราชได้มีการคิดคน้ นวตั กรรม “การนาระบบบาร์โคด๊ มา
ใช้ในการลงทะเบียนผขู้ ายยาง”และทดลองนาระบบดังกลา่ วมาใช้งานใน ปงี บประมาณ 2562 พร้อมจัดเกบ็ ข้อมูล
ข้อมลู ดา้ นความถี่ของการใชง้ านเครอ่ื งอา่ นบารโ์ ค๊ด ขอ้ มูลการออกบตั รสมาชกิ ทงั้ รายเก่าและรายใหม่ ซึ่งจากการเก็บ
ข้อมลู พบว่า

1.จานวนครง้ั ท่ีลงทะเบยี นผขู้ ายยางจานวน 7,539 ครงั้ มึความผิดพลาดเทา่ กับ “ศูนย์”
2.จานวนครัง้ ทีจ่ ่ายเงินค่ายางใหส้ มาชกิ ผขู้ ายยางผิดพลาด เท่ากับ “ศูนย์”
3.การลงทนุ นาระบบลงทะเบียนสมาชกิ ขายยางดว้ ยบาร์โคด๊ มีค่า ROI ทไ่ี ด้คือ 36,190,058.46 %

หมายความว่า การลงทุน 100 บาท จะได้รบั ผลตอบแทน 36,190,058.46 บาท อกี ท้งั คา่ ROI มคี ่าเกิน 100%

ซ่ึงแสดงให้เหน็ ว่าการนาระบบบารโ์ ค๊ดมาปรับใช้ในลงทะเบียนสมาชิกผู้ขายยางของ สตก.จ.นศ. เป็นโครงการทีใ่ ห้

ผลตอบแทนทสี่ ูงมาก

4 ระยะเวลาการลงทะเบยี นขายยางของสมาชกิ ขายยางเพียง 1 วนิ าที
5.สอบทานหาท่ีมาของแผน่ ยางไดร้ วดเร็วเมือ่ ใช้รหัสสมาชิกเป็นตัวเลขชุดเดียวกบั รหสั ตอกบนแผน่ ยาง
จากข้อมลู ดังกล่าวขา้ งต้น ถือวา่ การ“การนาระบบบาร์โค๊ดมาใชใ้ นการลงทะเบยี นผู้ขายยาง” เป็น
โครงการนาร่องท่ีคุ้มคา่ แกก่ ารลงทนุ และมีผลต่อการบริการดา้ นการซ้ือขายยางของสานักงานตลาดกลางยางพารามี
ประสิทธผิ ลท่ีดีมาก และเป็นการสง่ เสริมภาพลักษณ์ของสานกั งานตลาดกลางว่ามีระบบการลงทะเบียนทีท่ นั สมัย
สะดวก รวดเร็ว
จงึ ขอเสนอแนะใหม้ ี “การนาระบบบาร์โคด๊ มาใช้ในการลงทะเบยี นผู้ขายยาง” เหมือนกันทกุ สานักงาน
ตลาดกลางยางพาราจงั หวัดทั้ง 6 แห่ง และตอ่ ยอดการใช้งานไปยังระบบลงทะเบยี นสมาชิกตลาดกลางยางพารา
จงั หวดั ตลาดยางการยางแห่งประเทศไทยจงั หวดั /สาขา และตลาดเครือข่าย ต่อไป

.............................................

“การนาระบบบาร์โคด๊ มาใชใ้ นการลงทะเบียนผขู้ ายยาง” หนา้ 21


Click to View FlipBook Version