รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผู้สอน
(Teacher’s Self Assessment Report : T-SAR)
ของ
นางเพ็ญนภา อุปภา
กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
โรงเรียนพทุ ไธสง อาเภอพุทไธสง จงั หวัดบุรรี มั ย์
สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 32
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
คานา
รายงานการประเมินตนเองของครูผู้สอน (Teacher’s Self Assessment Report : T-SAR)
เป็นการประเมินตนเองเก่ียวกับการปฏิบัติหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542
และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 ตลอดจนฉบับที่ 3 พุทธศักราช 2553 รวมทั้งมาตรฐาน
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ที่โรงเรียนพุทไธสง อาเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ นามาประยุกต์ใช้โดยอนุโลม เพ่ือ
การพฒั นาตนเองและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของข้าพเจ้า โดยได้จัดทาข้ึนเพ่ือรายงานผลการจัดการเรียน
การสอนและการปฏิบัติหน้าท่ีตาม กลุ่มงาน / กลุ่มสาระการเรียนรู้ / งาน ตลอดจนกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีได้
ส่งเสริมให้นกั เรยี นมีคุณภาพและคุณลักษณะตามระดับมาตรฐานคณุ ภาพการศึกษา
ทั้งน้ี เพื่อเป็นการรายงานพร้อมประเมินผลการทางานของข้าพเจ้า ว่าได้ปฏิบัติหน้าท่ีบรรลุ
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานคุณภาพการศึกษาโรงเรียนพุทไธสง ตัวบ่งชี้ท่ีเก่ียวข้อง
รายงานดังกล่าวได้จัดทาข้ึนเพ่ือรายงานการประเมินตนเองเก่ียวกับการปฏิบัติหน้าที่ต่อผู้บังคับบัญชา
ตามลาดับสายงาน ตลอดจนเผยแพร่ให้กับผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนในสังคมไดท้ ราบผลการปฏิบัติงานของ
ข้าพเจ้า และคณุ ลักษณะของผเู้ รยี นตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นพทุ ไธสง
ข้อมูลท่ีได้จากการประเมินในการประเมินตนเอง (T-SAR) ในครั้งน้ีข้าพเจ้าจะได้นาไปใช้เป็น
แนวทางในการปรับปรุงเพ่ือพัฒนาการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของ
ผเู้ รียนใหส้ ูงข้นึ ในทุก ๆ ด้านตอ่ ไป
ลงชือ่
( นางเพ็ญนภา อปุ ภา )
ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการพเิ ศษ
15/มนี าคม/2562
สารบญั หน้า
หวั ขอ้ 1
6
สว่ นท่ี 1 ข้อมลู พ้นื ฐาน 11
15
สว่ นที่ 2 ผลท่ีเกดิ จากการปฎิบัตงิ าน
ส่วนท่ี 3 ผลการดาเนนิ ตามมาตรฐานการศึกษา
ระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
ส่วนที่ 4 การปฎบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลิศ
ภาคผนวก
รายงานการประเมนิ ตนเองของครผู ู้สอน
(Teacher’s Self Assessment Report : T-SAR)
สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพืน้ ฐาน
1.1 ข้อมลู ท่ัวไป
ชอ่ื .........นางเพญ็ นภา.........สกลุ ....อุปภา…….
วฒุ ิการศกึ ษา
ปรญิ ญาตรี วชิ าเอก คณิตศาสตร์ จาก....สถาบนั ราชภัฏนครรราชสีมา........................
ปรญิ ญาโท................ วชิ าเอก จาก....................................
อ่ืน ๆ ระบุ................. วิชาเอก จาก...................................
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ อายุ..47........ปี ปฏิบัตริ าชการ..22...ปี
เลขทีต่ าแหน่ง......77510........เงนิ เดอื น.......40,100.......บาท เงินวทิ ยฐานะ.....11,200...........บาท
วนั / เดอื น / ปี เกิด ......29 ธนั วาคม 2514.................................
วัน / เดือน / ปี บรรจเุ ข้ารบั ราชการ......11 กันยายน 2539.....................
ปฏิบตั ิการสอนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ...คณิตศาสตร์.. ปฏบิ ตั ิงานพเิ ศษ....หวั หนา้ สานักงานฝา่ ยพัฒนา
นกั เรียน.................
สงั กดั ฝ่ายพฒั นานักเรียน.... โรงเรียนพทุ ไธสง สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 32
สรปุ จานวนวันลา ประจาปีการศกึ ษา 2561 (1 เมษายน 2561 – 31 มีนาคม 2562)
วนั เดอื น ปี ลาปว่ ย ลากิจ ลาอุปสมบท ลาคลอด มาสาย
ทล่ี า ครง้ั วัน ครัง้ วนั ครั้ง วัน คร้งั วนั ครัง้ วนั
12
12-13 พ.ย.61 11 13
15 ก.พ. 62
18 ก.พ.62,
20-21 ก.พ.62
รวม 2313
รวมท้งั ส้นิ จานวน........3..........ครง้ั จานวน.........6........วัน
1.2 ข้อมูลการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี
1) ปฏบิ ตั ิการสอนตลอดปกี ารศกึ ษา 2561
ภาคเรียนท่.ี ......1................ ปกี ารศกึ ษา......2561......................................
ปฏบิ ัติการสอน รวมจานวน.......3....รายวิชา รวมจานวน.....5.....หอ้ ง รวมจานวน.....15......คาบ
ท่ี รายวิชา (รหสั /ช่ือวิชา) ชน้ั /ห้อง จานวน จานวน
นักเรยี น คาบ
1. คณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน ( ค 21101 ) ม.1/1 3
2. คณติ ศาสตร์พื้นฐาน ( ค 21101 ) ม.1/2 44 3
3. คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน ( ค 21101 ) ม.1/12 43 3
4. วิชาเสรมิ ทักษะคณิตศาสตร์ (ค 21201) ม.1/12 30 2
5. คณติ ศาสตร์สาหรบั สะเตม็ ศึกษา ( ค 21203 ) ม.1/1 20 1
44
2) กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ท่ีปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาผู้เรยี นตลอดปกี ารศึกษา 2561
ที่ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน และชุมนุม ชั้น /ห้อง จานวน จานวน
นักเรยี น คาบ
1 ลูกเสอื ม.2 1
2 เนตรนารี/บาเพญ็ ประโยชน์ - 43 -
3 โฮมรูม - 1
4 ชุมนุม.....อัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ ม.ต้น. ม.5/9 22 1
ม.1,ม.2 9
3) ปฏบิ ัติหนา้ ท่คี รทู ป่ี รกึ ษา ช้นั มัธยมศึกษาปที ี 5/9
ภาคเรยี นท่.ี ........1.............. ปกี ารศกึ ษา........2561....................................
ชน้ั / หอ้ ง (ครทู ป่ี รึกษา) จานวนนักเรียน รวมท้ังส้นิ (คน)
ชาย (คน) หญงิ (คน) 22
ม.5/9 ครูทป่ี รึกษา 1.นางเพ็ญนภา อุปภา
2. นางราไพ โมกศรี 3 19
ภาคเรยี นท.่ี ........2.............. ปกี ารศกึ ษา........2561....................................
ชนั้ / ห้อง (ครูที่ปรกึ ษา) จานวนนักเรยี น รวมทั้งสน้ิ (คน)
ชาย (คน) หญิง (คน) 22
ม.5/9 ครูทป่ี รึกษา 1.นางเพ็ญนภา อุปภา
2. นางราไพ โมกศรี 3 19
4) งานพเิ ศษทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ฝ่าย หนา้ ท่ี
ฝ่ายพฒั นานกั เรยี น
ท่ี กจิ กรรม/ชือ่ งาน ดแู ลงานธรุ การของ
1. หัวหนา้ งานสานกั งานฝ่าย งานระดับชน้ั ม.5 สานักงานฝา่ ยพัฒนาให้
( ฝา่ ยพฒั นานกั เรียน) เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย
พฒั นานักเรียน
ตรวจเครอ่ื งแต่งกายของ
2. งานคณะกรรมการตรวจเครื่อง นักเรยี น ในระดบั ชนั้ ม.5
แต่งกายนักเรยี นระดับช้ัน ม.5 ก่อนสอบกลางภาคและก่อน
ปลายภาค และในช่วงเวลา
ที่ระดับช้ันกาหนดในการ
ตรวจเคร่ืองแตง่ กาย
1.3 การพัฒนาตนเอง
1) การจัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้ ดงั นี้
ท่ี รหสั วชิ า สาระการเรียนรู้/รายวิชา ระดบั ชนั้ จานวน/แผน
ม.1 15 แผน
1. ค 21101 ทศนยิ มและเศษส่วน ม.1 12 แผน
ม.1 13 แผน
2. ค 21101 ระบบจานวนเต็ม ม.1 11 แผน
ม.1 5 แผน
3. ค 21101 เลขยกกาลงั ม.1 5 แผน
4. ค 21101 พื้นฐานทางเรขาคณิต
5. ค 21101 ความสัมพนั ธข์ องรปู เรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
6. ค 21102 ค่อู ันดบั และกราฟ
2) การผลติ สอื่ /นวัตกรรม จานวน ชน้ิ
ท่ี ช่ือส่ือ/นวตั กรรม จานวน (ชนิ้ )
1. แบบฝกึ เสรมิ ทักษะการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ เร่ือง เศษสว่ น (ภาคเรียนที่ 1 ) 1
2. แบบฝึกเสริมทักษะการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เร่ือง การแก้โจทย์สมการเชิงเส้นตวั 1
แปรเดยี ว ( ภาคเรยี นที่ 2 )
3. แบบฝกึ ทักษะ เร่ือง ตาแหน่งและค่าประจาหลกั ของทศนยิ ม 1
4. แบบฝกึ ทักษะ เรื่อง การบวกทศนยิ ม 1
5. แบบฝกึ ทกั ษะ เร่ือง การหารทศนิยม 1
6. แบบฝึกทกั ษะ เร่ือง โจทยป์ ญั หา การบวก การลบ การคูณและการหารทศนิยม 1
3) การจดั ทาวิจยั ในชน้ั เรียน จานวน 2 เร่อื ง ระดับช้นั
ม.1
ท่ี เร่ือง
1. เทอม 1 : การเปรียบเทยี บคะแนนก่อนเรยี นและหลงั เรยี น เรอ่ื ง เศษสว่ น ม.1
กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ท่เี รียนโดยใช้แบบฝึก
เสรมิ ทักษะการเรียนรู้คณิตศาสตร์
2. เทอม 2 : การเปรียบเทยี บคะแนนก่อนเรยี นและหลังเรยี น เรื่อง การแกโ้ จทย์
ปัญหาสมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดียว กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ทเ่ี รยี นโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
4) การนานักเรียนไปศกึ ษาคน้ คว้า/การใชแ้ หลง่ เรียนร้ภู ายในและภายนอกโรงเรียน
ที่ ช่อื แหล่งเรยี นรู้ ชั้น จานวนนักเรยี น
5/9 22
1. วัดบ้านไร่ อ.ดา่ นขนุ ทด จ. นครราชสีมา
และหา้ งสรรพสินค้า TERMINAL อ. เมอื ง
จ.นครราชสมี า
5) รูปแบบ / วธิ ีการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนที่ครูใช้ คอื ข้อใดบ้าง (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ )
การอธบิ าย การสืบสวนสอบสวน
กลมุ่ สบื คน้ ความรู้
การสาธิต / ทดลอง กล่มุ สัมพันธ์
การใช้เกมประกอบ การเรียนรูแ้ บบรว่ มมือ
ความคดิ รวบยอด
สถานการณ์จาลอง อริยสจั 4
การศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง
กรณีตวั อย่าง การทัศนะศึกษานอกสถานที่
การเรยี นรูจ้ ากห้องสมุด
บทบาทสมมุติ การพัฒนากระบวนการคิด
การใชภ้ ูมปิ ัญญาท้องถิ่น
การแก้ไขสถานการณ์ การอภิปรายกลุ่มยอ่ ย
การแกป้ ญั หา
โปรแกรมสาเร็จรปู อ่ืน ๆ ระบุ…………………………
ศนู ย์การเรยี น
ชุดการสอน
คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน
โครงงาน
การถามตอบ
อืน่ ๆ ระบุ............
สรปุ จานวนรปู แบบ / วธิ กี ารจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทีค่ รูใช้ วธิ ี
6) การเขา้ ร่วมกิจกรรมทางวิชาการ / การเขา้ รว่ มอบรม / ประชุมสัมมนา / ศึกษาดงู าน ฯลฯ)
ที่ วนั /เดอื น/ ปี เร่อื ง สถานท่ี หนว่ ยงานที่จัด หลักฐาน
โรงเรยี นพุทไธสง เกียรติบตั ร
การพฒั นาเทคนคิ การจดั การ
โรงเรยี นพุทไธสง เกียรติบตั ร
1. 28 ม.ค.2561 เรียนการสอนด้วยกระบวนการ โรงเรียนพทุ ไธสง เกยี รตบิ ัตร
โรงเรียนจฬุ าภรณ เกียรตบิ ตั ร
Active Learning ราชวิทยาลัย เกียรตบิ ตั ร
การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนบุ าลพทุ ไธสง เกียรตบิ ัตร
(โอภาสประชานกุ ลู )
2. 17-18 ก.พ. ตามเปา้ หมายหลักสตู รแกนกลาง โรงเรียนพุทไธสง
2561 การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ.2551 โรงเรยี นพทุ ไธสง
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) มหาวิทยาลยั
ราชภฏั บรุ รี มั ย์
3. 7–9 เม.ย. การสรา้ งและพัฒนาข้อสอบ โรงเรยี นจฬุ าภรณ
2561 ตามแนว OECD ราชวิทยาลัย
การอบรมครูดว้ ยระบบทางไกล โรงเรยี นอนุบาลพุทไธสง
(โอภาสประชานุกลู )
4. 7 พ.ค.2561 สะเตม็ ศึกษา สาหรบั ครผู ูส้ อน
มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-3)
5. 23 ม.ิ ย.2561 แนวทางการประเมินวิทยฐานะ โรงเรียนพทุ ไธสง
เกณฑ์ใหม่ (ว21/2560)
หลักสูตร การพฒั นาทักษะ
6. 28 ก.ค.2561 กระบวนการวิจยั แบบโครงงาน มหาวทิ ยาลยั ราช
ฐานวจิ ัยเพ่อื บูรณาการกบั การ ภัฏบุรรี ัมย์
จัดการเรียนการสอนใน
สถานศึกษา
สรปุ การพฒั นาตนเอง จานวน 6 ครั้ง จานวน 8 วัน คิดเป็น ชั่วโมง นามาขยายผล....-.....ครัง้
7) การได้รบั รางวัล/ประกาศเกยี รตคิ ณุ /ผลงานดเี ดน่ /เกยี รตปิ ระวตั ิทป่ี รากฏต่อสาธารณชน
ดา้ นสถานศึกษา/ ครู /นกั เรยี น
ท่ี วัน/เดอื น/ปี รางวลั /เกียรติคุณ หนว่ ยงานทม่ี อบ หลักฐาน
เกียรตบิ ัตร
ครผู ูส้ อนนักเรียนไดร้ บั รางวัลระดับ โรงเรยี นสตกึ และโรงเรยี น
เหรยี ญทอง รองชนะเลศิ อันดบั ท่ี 2 วิทยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราช
“กจิ กรรม การแข่งขันอัจฉรยิ ภาพทาง วทิ ยาลัย
คณิตศาสตร์ ระดบั ชั้น ม. 1-ม.3”
1. 8-9 ต.ค.61 งานมหกรรมความสามารถทางศิลปะหตั
กรรม วชิ าการ และเทคโนโลยขี อง
นักเรียน ระดบั เขตพืน้ ที่การศึกษา ครัง้ ท่ี
68 ประจาปีการศึกษา 2561
ท่ี วนั /เดอื น/ปี รางวัล/เกียรติคุณ หน่วยงานที่มอบ หลักฐาน
เกยี รติบัตร
เด็กหญิงธญั จริ า นาคะวงศ์ โรงเรียนสตกึ และโรงเรียน
ไดร้ บั รางวลั เหรียญทอง วทิ ยาศาสตร์จุฬาภรณราช
รองชนะเลิศอันดับท่ี 2 วิทยาลัย
“กิจกรรม การแข่งขันอัจฉริยภาพทาง
2. 8-9 ต.ค.61 คณติ ศาสตร์ ระดับชั้น ม. 1-ม.3”
งานมหกรรมความสามารถทางศิลปะหัต
กรรม วชิ าการ และเทคโนโลยขี อง
นกั เรียน ระดบั เขตพืน้ ท่กี ารศึกษา คร้งั ที่
68 ประจาปีการศึกษา 2561
8) การได้รับเชญิ เปน็ วิทยากร/กรรมการตดั สนิ ภายในและภายนอกสถานศึกษา
ท่ี วนั / เดือน / ปี รายการ / เรือ่ ง หนว่ ยงานทเ่ี ชิญ
เป็นวทิ ยากรแกนนาการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร โรงเรียนพุทไธสง
สพม. เขต 32
1. 9 พ.ค.2561 การปลูกฝงั คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ อง
ผ้เู รยี น ตามรัฐธรรมแหง่ ราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2560
ส่วนที่ 2 ผลท่เี กิดจากการปฏบิ ัติงาน
1)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561
ที่ รายวิชา ชน้ั จานวน 0 ร ผลการเรยี น (คน)
ผเู้ รียน มผ มส 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4
1. ค 21101 1/1 44 0 0 0 0 0 0 8 12 14 6 4
2. ค 21101 1/2 43 0 0 0 0 0 10 9 13 5 5 1
3. ค 21101 1/12 30 0 0 0 0 0 0 3 11 3 8 5
4. ค 21201 1/12 30 0 0 0 0 0 0 13 5 1 8 3
5. ค 21203 1/1 44 0 0 0 0 0 0 0 0 0 16 28
รวม 191 0 0 0 0 0 10 33 41 23 43 41
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2561
ท่ี รายวิชา ชนั้ จานวน 0 ร ผลการเรียน (คน)
ผู้เรียน มผ มส 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1
1. ค 21102 1/1 44 0 0 0 0 10 7 12 13 2 0 0
2. ค 21102 1/2 43 0 0 0 0 3 2 8 15 15 0 0
3. ค 21102 1/12 30 0 0 0 0 12 2 5 9 2 0 0
4. ค 21202 1/12 30 0 0 0 0 9 1 7 8 5 0 0
5. ค 21204 1/1 44 0 0 0 0 44 0 0 0 0 0 0
6. หน้าท่ีพลเมือง 5/9 22 0 0 0 0 15 0 1 3 1 2 0
รวม 213 0 0 0 0 93 12 33 48 25 2 0
2) ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น
ชน้ั กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน/ชมุ นมุ จานวน จานวน/ร้อยละ
นกั เรยี น ของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
ทงั้ หมด
ผา่ น ไม่ผ่าน
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
ภาคเรียนที่ 1
ม. 1 ชุมนมุ อัจริยภาพทางคณิตศาสตร์ ม.ตน้ (ม.1,ม.2) 9 9 100
ม. 2 ภาคเรียนที่ 1
ลกู เสือ กอง 1 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2
43 43 100
ม.1 ภาคเรียนที่ 2
ชุมนุมอจั ริยภาพทางคณิตศาสตร์ ม.ต้น(ม.1,ม.2) 17 17 100
ม. 2 ภาคเรียนที่ 2
ลกู เสอื กอง 1 ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 43 43 100
รวม 112 112 100
3. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
จานวน จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดบั คุณภาพ
นักเรียน
ระดับช้ัน ท้ังหมด ดีเยย่ี ม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น
ชั้น ม. 1 22 จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
ชั้น ม. 2 22
ชน้ั ม. 3 16 72.73 4 18.18 2 9.09 0 0
ชน้ั ม. 4 16 72.73 4 18.18 2 9.09 0 0
ชนั้ ม. 5/9
ชน้ั ม. 6
รวม
3) ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 5 ดา้ น ของผู้เรียน
1. ด้านความสามารถในการส่อื สาร
จานวน จานวน/รอ้ ยละของนกั เรยี นตามระดับคณุ ภาพ
ระดับชัน้ นกั เรยี น ดเี ยย่ี ม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน
ท้งั หมด จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
ชนั้ ม. 1 382 229 59.95 71 37.43 10 2.62
ช้ัน ม. 2
ช้นั ม. 3
ชัน้ ม. 4
ชนั้ ม. 5
ชน้ั ม. 6
รวม 382 229 59.95 71 37.43 10 2.62 0 0
2. ด้านความสามารถในการคิด
จานวน จานวน/ร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
ระดับช้นั นกั เรยี น ดีเยยี่ ม ดี ผ่าน ไม่ผา่ น
ท้งั หมด จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
ชน้ั ม. 1 382 229 59.95 143 37.43 10 2.62
ชั้น ม. 2
ชั้น ม. 3
ชั้น ม. 4
ชั้น ม. 5
ชั้น ม. 6
รวม 382 229 59.95 143 37.43 10 2.62 0 0
3. ดา้ นความสามารถในการแก้ปัญหา
จานวน จานวน/รอ้ ยละของนักเรยี นตามระดบั คณุ ภาพ
ระดบั ช้ัน นักเรยี น ดเี ยี่ยม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน
ทง้ั หมด จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
ชน้ั ม. 1 382 229 59.95 143 37.43 10 2.62 0 0
ชน้ั ม. 2
ช้ัน ม. 3
ชั้น ม. 4
ช้นั ม. 5
ชั้น ม. 6
รวม 382 229 59.95 143 37.43 10 2.62 0 0
4. ด้านความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
จานวน จานวน/ร้อยละของนักเรยี นตามระดับคณุ ภาพ
ระดบั ชั้น นักเรยี น ดีเยี่ยม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น
ท้ังหมด จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
ชั้น ม. 1 382 229 59.95 146 37.43 10 2.62 0 0
ชั้น ม. 2
ชั้น ม. 3
ชน้ั ม. 4
ชน้ั ม. 5
ชน้ั ม. 6
รวม 382 229 59.95 146 37.43 10 2.62 0 0
5. ดา้ นความสามรถในการใชเ้ ทคโนโลยี
จานวน จานวน/รอ้ ยละของนักเรยี นตามระดับคุณภาพ
ระดับช้ัน นักเรยี น ดเี ยยี่ ม ดี ผา่ น ไม่ผ่าน
ชน้ั ม. 1 ทง้ั หมด จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
ชน้ั ม. 2
ชน้ั ม. 3 382 229 59.95 146 37.43 10 2.62 0 0
ชน้ั ม. 4
ชั้น ม. 5 382 229 59.95 146 37.43 10 2.62 0 0
ชั้น ม. 6
รวม
4) ผลการประเมินการสอนของครู (นกั เรียนเป็นผปู้ ระเมนิ )
ระดบั การประเมนิ
กจิ กรรม มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย
กลาง ท่สี ุด
ที่สดุ
1. ครูแจง้ ผลการเรียนรู้ให้นักเรยี นทราบอย่างชดั เจน
2. ครจู ดั กิจกรรมการเรยี นรู้สนกุ และนา่ สนใจ
3. เนอื้ หาที่สอนทันสมัยเสมอ
4. ครใู ชส้ ่ือประกอบการเรยี นการสอนที่เหมาะสมและหลากหลาย
5. ครูใช้คาถามซักถามนกั เรยี นบอ่ ย ๆ
6. ครปู ระยุกตส์ าระท่ีสอนเข้ากับเหตกุ ารณป์ จั จบุ นั /สภาพแวดลอ้ ม
7. ครูส่งเสริมนักเรียนได้ฝกึ ปฏบิ ัติจรงิ มกี ารจัดการ และ
การแก้ปัญหา
8. ครูให้นกั เรียนฝึกกระบวนการคดิ คดิ วิเคราะห์ คิดสรา้ งสรรค์
9. ครูส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นทางานร่วมกันทัง้ เปน็ กลุ่มและรายบคุ คล
10. ครูใหน้ ักเรียนแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
11. ครูมกี ารเสรมิ แรงใหน้ กั เรียนทร่ี ่วมกจิ กรรมการเรยี นการสอน
12. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรยี นซกั ถามปัญหา
13. ครคู อยกระตุ้นใหน้ กั เรียนตนื่ ตวั ในการเรยี นเสมอ
14. ครูสอดแทรกคุณธรรมและค่านยิ ม 12 ประการในวิชาท่ีสอน
15. ครยู อมรบั ความคดิ เห็นของนกั เรียนท่ีตา่ งไปจากครู
16. นกั เรียนมีสว่ นรว่ มในการวัดและประเมินผลการเรียน
17. ครมู ีการประเมินผลการเรียนด้วยวธิ ีการท่ีหลากหมายและ
ยุติธรรม
18. ครูมีความตั้งใจในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
19. บคุ ลิกภาพ การแตง่ กายและการพดู จาของครูเหมาะสม
20. ครเู ข้าสอนและออกช้ันเรียนตรงตามเวลา
จากผลการประเมินการสอนของครโู ดยนักเรียน พบวา่ อยใู่ นระดบั
มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่สี ดุ
สว่ นที่ 3 ผลการดาเนนิ งานตามมาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผเู้ รยี น
1. ระดบั คุณภาพ ดี
2. วิธกี ารพฒั นา/กระบวนการ ข้อมูลหลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ท่ีสนับสนนุ ผลการประเมนิ
ตนเอง
2.1 วธิ กี ารพฒั นา/กระบวนการ
2.1.1 กระบวนการศกึ ษาผเู้ รียนเป็นรายบคุ คล ยดึ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ
2.1.2 กระบวนการพฒั นาคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์แบบบูรณาการ
2.1.2.1 ในกล่มุ สาระการเรยี นร้ทู งั้ 8 กลุ่ม
2.1.2.2 จัดในกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
2.1.2.3 จัดโครงการ/กิจกรรม
2.1.3 กระบวนจดั กจิ กรรมการเรยี นแบบเชื่อมโยงตามหลัก OLE
(Objective/Learning/Evaluation)
2.1.4 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้โครงงานเพ่ือส่งเสรมิ การคิดวิเคราะห์
นกั เรียนและจดั กิจกรรม Active Learning เพื่อสง่ เสรมิ การคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง
2.1.5 กระบวนการสอนซ่อมเสริมกับผเู้ รียนที่ผลการสอบไม่ผ่านเกณฑ์
2.2 เอกสารเชิงประจักษ์
2.2.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นผา่ นเกณฑต์ ามท่สี ถานศึกษาไดก้ าหนด
2.2.2 นกั เรยี นอา่ นออกเขียนได้ทกุ คนและมีความสามารถในการสื่อสารรู้
2.2.3 นกั เรียนทาโครงงานในรายวิชาเพมิ่ เตมิ SMT
2.2.4 นกั เรยี นทกุ คนจดั ทาโครงงานคณุ ธรรม และรว่ มกิจกรรมจิตอาสา
2.2.5 มนี ักเรยี นสามารถสอบเข้าเรยี นในโรงเรยี นแข่งขนั สูงจานวนมาก
2.2.6 มโี ครงงาน/ ผลงานใหม่ๆ ของนักเรียน
2.2.7 มีโครงการระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นอยา่ งเขม้ แขง็
2.2.8 มีระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศทีพ่ ร้อมใช้งาน และมรี ะบบอนิ เทอร์เน็ต
ความเร็วสูงเพอ่ื ใช้
จุดเดน่ จดุ ท่คี วรพัฒนา
จดุ เดน่ จดุ ทค่ี วรพฒั นา
1. ผ้เู รียนใฝ่เรยี นรู้ มคี ณุ ธรรม จิตอาสา 1.การพฒั นาความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ของ
2. ครผู ู้สอนได้จดั ทา Test blueprint ก่อนจัด นกั เรยี นอยา่ งต่อเนื่อง
กิจกรรมการสอน 2.คลงั ข้อสอบท่เี ปน็ ระบบสามารถนาไปใช้ไดอ้ ย่าง
3. ครูผสู้ อนมีระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนเข้มแข็ง รวดเร็ว
เปน็ ระบบ
แผนการจัดการพฒั นาคุณภาพเพือ่ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานใหส้ งู ขึน้
1. แผนงาน/โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์กิ ล่มุ สาระคณติ ศาสตร์ ประจาปีการศึกษา 2561
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
1. ระดับคุณภาพ ดี
2. วธิ กี ารพฒั นา/กระบวนการ ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมนิ ตนเอง
2.1 วธิ กี ารพฒั นา/กระบวนการ
2.1.1 กระบวนการบริหารเชิงกลยทุ ธ์
2.1.2 กระบวนการบรหิ ารเชิงระบบ
2.1.3 กระบวนการบรหิ ารแบบม่งุ ผลสัมฤทธิ์
2.1.4 การเขยี นแผนพัฒนาตนเอง (ID – Plan)
2.1.5 การจัดการ เรือ่ ง การบริการท่ีดี
2.1.6 การจดั การระบบฐานข้อมูลภายในองค์กร
2.2 เอกสารเชิงประจักษ์
2.2.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นผา่ นเกณฑต์ ามทีส่ ถานศึกษาไดก้ าหนด
2.2.2 นักเรยี นอ่านออกเขยี นได้ทกุ คนและมีความสามารถในการส่อื สารรู้
2.2.3 แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนพุทธสง
2.2.4 แผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ 2561 และ 2562
2.2.5 การทางานเปน็ ทีม
2.2.6 ผ้รู บั บรกิ ารมคี วามประทับใจต่อองค์กร
2.2.7 ครไู ดร้ บั การพฒั นาตามโครงการคปู องครูทกุ คน และนาความรมู้ าจดั ทาแผนการเรียนรู้
สอ่ื การเรียนการสอน และเครื่องมือวัดและประเมนิ ผลผเู้ รียน
2.2.8 ระบบบรหิ ารจดั การฐานข้อมลู ด้วยอนิ เทอรเ์ นต็ ความเร็วสูง
3. จดุ เด่น จุดท่คี วรพัฒนาแผนการพฒั นาคุณภาพเพ่อื ยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานให้สูงขึ้น
จดุ เด่น จดุ ท่คี วรพัฒนา
1. การบรหิ ารตามหลกั ธรรมาภบิ าล 1.ควรมกี ารบรหิ ารงานตามสถานการณ์ เพื่อ
2. การบริหารองค์กรตามแผนปฏิบัติการประจาปี ตอบสนองต่อการเปลย่ี นแปลง
งบประมาณ และ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
แผนการจดั การพฒั นาคณุ ภาพเพอื่ ยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานใหส้ ูงข้นึ
1. แผนงาน/โครงการ พฒั นาการศึกษาของโรงเรยี นพทุ ไธสง
2. แผนงาน/โครงการ ปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ 2561 และ 2562
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั
1.ระดับคณุ ภาพ ดี
2. วิธกี ารพฒั นา/กระบวนการ ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
2.1 วิธีการพัฒนา/กระบวนการ
2.1.1 กระบวนการวิเคราะห์หลักสตู ร ตัวชี้วดั และมาตรฐานการเรยี นรู้ (Test blueprint)
2.1.2 กระบวนออกแบบหนว่ ยการเรียนแบบ Backward Design
2.1.3 กระบวนการจดั กจิ กรรมการสอนแบบเชอื่ มโยงตามหลกั OLE
(Objective/Learning/Evaluation)
2.1.4 กระบวนการจดั การสอนโดยใชโ้ ครงงานเพอื่ ส่งเสรมิ การคิดวิเคราะห์นักเรยี นและจัด
กจิ กรรม Active Learning เพ่ือสง่ เสริมการคิดและปฏิบัติจรงิ
2.1.5 กระบวนการสอนซ่อมเสริมกบั ผู้เรยี นท่ีผลการสอบไม่ผา่ นเกณฑ์ตามตัวชว้ี ัด
2.1.6 กระบวนการพัฒนาสือ่ การเรยี นการสอน และการศึกษาจากแหล่งเรียนรู้
2.1.7 กระบวนการตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผเู้ รยี น
2.1.8 มีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้และใหข้ ้อมลู สะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรงุ การจดั
การเรียน
2.1.9 มีการบริหารจดั การช้ันเรียนเชิงบวก
2.2 เอกสารเชิงประจกั ษ์
2.2.1 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนผ่านเกณฑ์ตามท่ีสถานศึกษาได้กาหนด
2.2.2 นักเรยี นอ่านออกเขียนไดท้ ุกคนและมีความสามารถในการส่ือสารรู้
2.2.3 นักเรียนทาโครงงานในรายวิชาเพิม่ เติม SMT
2.2.4 นักเรยี นทุกคนจัดทาโครงงานคุณธรรม และร่วมกจิ กรรมจิตอาสา
2.2.5 มนี กั เรยี นสามารถสอบเข้าเรยี นในโรงเรยี นแข่งขนั สงู จานวนมาก
2.2.6 มีโครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนอย่างเขม้ แข็ง
2.2.7 มีระบบเทคโนโลยแี ละสารสนเทศท่พี ร้อมใชง้ าน และมรี ะบบอนิ เทอร์เน็ตความเร็วสงู
2.2.8 ครูได้รบั การพัฒนาตามโครงการคปู องครูทกุ คน และนาความรู้มาจดั ทาแผนการเรียนรู้
สือ่ การเรยี นการสอน และเคร่ืองมือวัดและประเมินผลผู้เรยี น
3. จุดเดน่ จุดท่ีควรพฒั นาแผนการพฒั นาคุณภาพเพื่อยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานให้สูงขนึ้
จุดเดน่ จุดทีค่ วรพัฒนา
ลดงานตา่ งๆ ท่ไี ม่ใชส่ าหรบั การสอนใหห้ มดไป
1. ครมู ีสมรรถนะในการบรหิ ารหลกั สูตรและการ
จดั การเรียนรู้
2. ครูมสี มรรถนะในการพัฒนาผู้เรียน
3. ครมู สี มรรถนะการบริหารจัดการชนั้ เรยี น
4. ครมู สี มรรถนะการวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และ
การวจิ ัยเพือ่ พัฒนาผูเ้ รียน
5. ครูมีสมรรถนะภาวะผู้นา
6. ครมู ีสมรรถนะการสรา้ งความสัมพนั ธแ์ ละ
ความรว่ มมือกบั ชุมชนเพ่ือการจดั การเรียนรู้
แผนการจัดการพัฒนาคณุ ภาพเพื่อยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานใหส้ งู ขึ้น
1. แผนงาน/โครงการ พัฒนาครสู ่มู ืออาชีพ
2. แผนงาน/โครงการ พัฒนาครดู ้วยความร่วมมือกบั ชุมชน
3. แผนงาน/โครงการ การใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ เพื่อการศึกษาอยา่ งย่ังยนื
สว่ นที่ 4 การปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practices)
การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนในรายวิชา SMT ( ค 21204 ) ซ่ึงเปน็ วชิ าทบ่ี ูรณาการในรายวิชา
วทิ ยาศาสตรใ์ นหวั ขอ้ การถ่ายโอนความรอ้ น โดยการแผ่รังสคี วามรอ้ น วิชาคณติ ศาสตร์บรู ณาการในเร่ือง
อตั ราส่วน สดั สว่ นและร้อยละ วชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยโี ดยการสืบคน้ ข้อมูลจากอินเตอรเ์ นต็ การ
นาเสนอข้อมูลโดยใช้โปรแกรม power point โดยใหน้ ักเรียนบรู ณาการทั้งสามรายวิชา ในเร่อื งการถนอม
อาหารโดยการแผร่ ังสคี วามร้อน จากผลการเรยี นในวิชาน้ีส่งผลใหน้ กั เรียนเกิดความสามารถดังนี้
1. รจู้ ักทางานรว่ มกบั ผู้อน่ื ได้อย่างมคี วามสุข
2. รจู้ กั วางแผนในการทางานอย่างเป็นระบบ
3. กลา้ แสดงความคิดเห็น และยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นของผ้อู ื่น
4. ร้จู ักการสัมภาษณ์ โดยการมสี ว่ นร่วมในการสัมภาษณ์นนั้
5. สามารถนาเสนอหนา้ ชัน้ เรยี นได้อยา่ งมีขัน้ ตอนและน่าสนใจ
ดงั ภาพประกอบต่อไปนี้
ภาคผนวก
สรุปประเด็นแนวทางการเขียนรายงานและนาเสนอผลการประเมนิ
คุณภาพภายในท่มี ปี ระสิทธภิ าพ
การนาเสนอผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบด้วย 1) การนาเสนอผลการประเมิน
คณุ ภาพภายในสถานศึกษาเป็นรายมาตรฐานและ2) การสรปุ ผลการประเมินของสถานศกึ ษา ในภาพรวม มี
รายละเอยี ดแตล่ ะประเดน็ ดังน้ี
1. การนาเสนอผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษาเปน็ รายมาตรฐาน
การเขียนผลการประเมินคุณภาพภายในให้นาเสนอเป็นรายมาตรฐาน อาจเขียนเป็นรายข้อ
หรือความเรียงให้ครอบคลุมทุกประเด็นพิจารณาของแต่ละมาตรฐาน ประกอบด้วย5หัวข้อ คือ 1) ระดับ
คุณภาพ 2) กระบวนการพฒั นา 3) ผลการดาเนินงาน 4) จดุ เดน่ และ5) จุดควรพฒั นา
1. ระดับคุณภาพ การตัดสินระดับคุณภาพตามมาตรฐานให้สรุปผลการประเมินโดยใช้
การ
พิจารณาผลการดาเนินงานจากความสาเร็จตามประเด็นพิจารณาของแต่ละมาตรฐานแบบองค์รวม
(holistic) โดยอาศัยผู้ประเมนิ ท่ีมคี วามเชยี่ วชาญ (expertjudgement)และมีการตรวจทานผลการประเมิน
โดยคณะกรรมการประเมินในระดับเดียวกัน (peer review)มีเกณฑ์การตัดสินคุณภาพมาตรฐาน 5 ระดับ
คือ ระดบั 5 ยอดเยยี่ มระดบั 4ดเี ลิศ ระดับ 3 ดี ระดบั 2พอใชแ้ ละระดบั 1กาลังพฒั นา
ทัง้ น้ี ผลการสรุประดบั คุณภาพตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ความสาเรจ็ ทเี่ กิดขนึ้
2. กระบวนการพัฒนาให้นาเสนอวิธีการดาเนินงานของสถานศึกษาตามประเด็น
พจิ ารณา
ของแต่ละมาตรฐาน ทั้งด้านการจัดการเรียนการสอน การบริหารและการจัดการศึกษา ผลที่เกิดขึ้นกับ
ผ้เู รียนท้ังด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทั้งโครงการ และกิจกรรมต่างๆที่
โรงเรยี นจัดทาข้นึ ตามสภาพท่ปี รากฏจรงิ และส่งผลใหก้ ารดาเนนิ งานตามมาตรฐานนนั้ ๆ มคี ณุ ภาพ ดงั นี้
มาตรฐานที่ 1 ดา้ นคณุ ภาพผู้เรียน นาเสนอวิธกี ารและผลการเรียนรู้ทเี่ ป็นคุณภาพของผู้เรียนประกอบดว้ ย
ความสามารถในการอ่านการเขียน การสื่อสาร การคิดคานวณ การคิดประเภทต่างๆ การสร้างนวัตกรรม
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร พัฒนาการจากการสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) การมีความรู้ทักษะพ้ืนฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ด้าน
คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ทเี่ ป็นค่านิยมท่ีดตี ามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด ความภมู ใิ จในทอ้ งถิ่นและความเป็นไทย
ก า ร ย อ ม รั บ ที่ จ ะ อ ยู่ ร่ ว ม กั น บ น ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ร ว ม ท้ั ง ก า ร มี สุ ข ภ า ว ะ ท า ง ร่ า ง ก า ย แ ล ะ จิ ต สั ง ค ม
มาตรฐานท่ี 2 กาหนดเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ พันธกิจอยา่ งชัดเจน นาเสนอวิธีการจัดระบบบรหิ ารและการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาท่ีครอบคลุมด้านการพัฒนาวิชาการ ท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ดาเนินการ
พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือสนับสนุน
การบรหิ ารจดั การและการเรยี นรู้พัฒนาด้านขอ้ มูลสารสนเทศ และด้านสภาพแวดลอ้ มท่ีสอดคล้องกับความ
ต้องการของชุมชนและท้องถิ่น โดยเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาชอง
สถานศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพและได้มาตรฐาน
มาตรฐานท่ี 3 นาเสนอกระบวนการ/วิธีการจัดการเรียนรู้ตามศักยภาพของผู้เรียนหลักสูตรสถานศึกษาท่ี
สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ตามความถนัด และความสนใจด้วยวิธกี ารที่หลากหลาย
ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีการบริหารจัดการเรียนรู้เชิงบวก สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีร่วมกัน
แลกเปล่ียนเรียนรู้ ท่ีสอดคล้องกับบริบทของชุมชนและท้องถ่ิน เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพ
รวมทั้งมีการประเมินผลการเรียนรู้และนาข้อมูลท่ีได้จากการประเมินผลมาใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง
ต่อเนอื่ ง
3. ผลการดาเนินงาน ให้นาผลท่ีเกิดจากการดาเนินงานของสถานศึกษาตามท่ีได้กล่าวไว้ใน
กระบวนการพัฒนามาเขียนเป็นผลการดาเนินงานของแต่ละมาตรฐาน ให้ชัดเจนครอบคลุมตามประเด็น
พิจารณาแตล่ ะประเดน็ เพือ่ สนับสนุนผลการตดั สินคณุ ภาพของมาตรฐาน
4. จุดเด่น ให้นาเสนอความสาเร็จของการดาเนินงานที่ส่งผลให้แต่ละมาตรฐานของโรงเรียน
ประสบความสาเร็จ เช่น ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียนทุกระดับชั้นสูงกว่าเกณฑ์ทโ่ี รงเรียนกาหนดไว้
ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านการเขียนการส่ือสารและการคิดคานวณเป็นไปตาม เกณฑ์ของแต่ละ
ระดบั ช้นั ตามที่โรงเรียนกาหนด เป็นตน้
5. จุดควรพัฒนา ให้นาเสนอผลการดาเนินงานที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
หรือประเด็นที่คาดว่าหากนามาดาเนินงานแล้วจะส่งผลให้การจัดการศึกษาของโรงเรียนแต่ละมาตรฐาน มี
คุณภาพเพิ่มข้ึน เช่น ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารไม่เป็นไปตามเกณฑ์ของ
ระดับชั้นท่ีสถานศึกษากาหนด สถานศึกษายังไม่มีการจัดกิจกรรมท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรแู้ ละ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นสถานศึกษายังไม่ดาเนินงานให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นหรือร่วมจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้ เป็นต้น
2. สรปุ ผลการประเมินของสถานศกึ ษาในภาพรวม
ประกอบด้วย 1) การตัดสินผลระดับคุณภาพในภาพรวมของสถานศึกษา2) การนาเสนอผลการดาเนินงาน
ของสถานศึกษาในภาพรวมและ3) การปฏิบตั ิทเี่ ป็นเลศิ (Best Practices) ดงั น้ี
1. การตัดสินผลระดับคุณภาพในภาพรวมของสถานศึกษา ให้พิจารณาจากผลการประเมิน
ท้งั 4
มาตรฐาน มีเกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพของสถานศกึ ษา 5 ระดับ คือ ระดับ 5ยอดเย่ียม ระดับ 4 ดีเลิศ ระดับ
3 ดี ระดบั 2 พอใช้ และระดบั 1 กาลงั พัฒนา
ทั้งน้ี การตัดสินผลการประเมินในภาพรวมไม่ใช้วิธีการตัดสินโดยการนาผลการประเมินทั้ง
3 มาตรฐานมาหาค่าเฉลี่ย ใช้การตัดสินจากผลการประเมินของมาตรฐานท่ีมีระดับคุณภาพต่าสุด เช่น
มาตรฐานที่ 1 อยู่ในระดับดี มาตรฐานท่ี 2 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี 3 อยู่ในระดับยอดเย่ียม
การตัดสินสรุปผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับดีหรือมองเห็นแนวโน้มการพัฒนาที่ย่ังยืนอาจอยู่
ในระดบั ยอดเยี่ยม ขึ้นอยกู่ ับคณะกรรมการจะตกลงร่วมกัน
2. การนาเสนอผลการดาเนินงานของสถานศึกษาในภาพรวมให้นาเสนอผลการดาเนินงานที่สนับสนุนผล
การประเมินตามระดับคุณภาพท่ีสถานศึกษาได้รับ โดยนาผลการดาเนินงานท้ัง 3 มาตรฐาน มาสังเคราะห์
และนาเสนอผลงานท่ีแสดงให้เห็นว่าสถานศึกษาได้รับผลการประเมินในระดับยอดเย่ียม ดีเลิศดี หรอื กาลัง
พฒั นา เปน็ เพราะเหตุใดอาจนาเสนอเป็นความเรียง ตาราง แผนภูมิ หรือกราฟ ฯลฯ ตามความเหมาะสมมี
ข้อมลู สนับสนุนใหช้ ดั เจน
3. การปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice) ใหน้ าเสนอผลการดาเนินงานท่ีเป็นเลิศที่สถานศกึ ษา
เหน็ วา่ ประสบผลสาเร็จเป็นท่ียอมรบั ของผูป้ กครองชุมชนผู้ทีเ่ กีย่ วข้อง และสงั คม
3. สรปุ ผล แนวทางการพฒั นาและความตอ้ งการชว่ ยเหลอื
1. สรุปผล การสรุปผลให้นาเสนอจุดเด่นท่ีเป็นความสาเร็จของการดาเนินงานและจุดควร
พัฒนาให้สถานศึกษามีคุณภาพย่ิงข้ึน โดยนาจุดเด่นและจุดควรพัฒนาในแต่ละมาตรฐานมาสังเคราะห์และ
ประมวลผลแล้วนาเสนอเป็นรายประเด็นประกอบดว้ ย จดุ เด่น และจุดควรพฒั นา
2.แนวทางการพัฒนา ให้นาจุดเด่น และจดุ ควรพัฒนา มานาเสนอวิธีการดาเนินงานในปีต่อไป
ดังนี้
2.1 นาจุดเด่นที่ต้องการต่อยอดให้มีความสาเร็จสูงย่ิงข้ึน มานาเสนอแนวทางการพัฒนาในปี
ต่อไป โดยคาดหวังว่าแนวทางดงั กลา่ วจะสง่ ผลให้การดาเนนิ งานในเร่อื งน้ันในปีถัดไปมคี วามสาเร็จสูงย่ิงขึ้น
จนพัฒนาเป็นการปฏิบัติที่ดี (Good Practices) และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ (Best Practices) ของ
สถานศกึ ษา
2.2 นาจุดท่ีต้องการพัฒนา มานาเสนอวิธกี าร/แนวทางการแกไ้ ขปัญหาท่ีสอดคลอ้ งตามบริบท
สถานศึกษาโดยคาดหวังว่าแนวทางดังกล่าวจะส่งผลให้การดาเนินงานในปีถัดไปมีผลเป็นไปตามเกณฑ์ที่
สถานศกึ ษากาหนด
2.3 ความต้องการช่วยเหลือ ให้นาเสนอส่ิงที่โรงเรียนต้องการความช่วยเหลือจากผู้ท่ี
เกยี่ วข้อง ได้แก่ หน่วยงานต้นสังกัด องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ผู้ปกครอง ชมุ ชน ฯลฯ โดยระบุให้ชัดเจน
วา่ ในแต่ละเรอ่ื งต้องการความช่วยเหลอื จากภาครฐั หรอื หนว่ ยงานใด
4. ภาคผนวก
ให้นาเสนอหลักฐานข้อมูลสาคัญ หรือเอกสารอ้างอิงต่างๆ โดยสังเขปเช่น ผลการประเมิน
ภายนอกรอบสาม มาตรฐานและค่าเปา้ หมายของสถานศึกษา คาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทารายงานการ
ประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา หนังสือให้ความเห็นชอบรายงานการประเมินคุณภาพภายใน เปน็ ตน้
(ตวั อยา่ ง)
1. มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา โดยรวม ระดับคุณภาพ ยอดเยย่ี ม
2. วธิ กี ารพฒั นา/กระบวนการ ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทสี่ นบั สนุนผล
การประเมินตนเอง
2.1 นักเรยี นอา่ นออกเขียนได้ทุกคนและมีความสามารถในการสอื่ สารรู้
2.2 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนผ่านเกณฑ์ตามที่สถานศึกษาได้กาหนด
2.3 ผลการทดสอบระดบั ชาติ 3 ปยี ้อนหลงั เป็นไปตามเกณฑส์ ถานศึกษา (O-NETสูงกวา่ คา่ เฉล่ีย
ระดบั ชาติทุกวชิ าและระดับชั้นทสี่ อบ)
2.4 นกั เรยี นทกุ คนจัดทาโครงงานคณุ ธรรม และรว่ มกิจกรรมจติ อาสา
2.5 มีนักเรยี นสามารถสอบเข้าเรียนในโรงเรียนแขง่ ขันสงู จานวนมาก
2.6 มโี ครงงาน/ ผลงานประดิษฐใ์ หม่ๆของนักเรยี น
2.7 มกี ารสอนงานอาชีพใหน้ ักเรยี น ทาใหม้ โี ครงการผลงานหนง่ึ ผลติ ภณั ฑข์ องนกั เรียน
2.8 ไมม่ ีอตั ราความเสย่ี งการติดสารเสพติด มโี ครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นอย่างเขม้ แข็ง
2.9 ไม่มีการทะเลาะวิวาทในโรงเรียน
2.10 มีระบบเทคโนโลยแี ละสารสนเทศท่ีพรอ้ มใช้งาน และมรี ะบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสงู เพือ่ ใช้
ในการจัดการเรยี นการสอนทุกหอ้ งเรยี น
2.11 มีครูครบข้นั และครสู อนตรงวชิ าเอก
2.12 ครจู ัดการเรยี นการสอนโดยใชโ้ ครงงานเพือ่ ส่งเสรมิ การคิดวิเคราะห์นักเรยี น
และจดั กิจกรรม Active Learning เพือ่ สง่ เสริมการคิดและปฏิบัติจรงิ ทกุ ชั้นเรียน
2.13 ครูได้รบั การพัฒนาตามโครงการคูปองครูทุกคน และนาความรมู้ าจดั ทาแผนการเรียนรู้ ส่ือ
การเรียนการสอน และเครื่องมือวดั และประเมินผลผ้เู รยี น
2.14 ผู้บรหิ ารมีสัมพันธภ์ าพท่ีดีกบั ชมุ ชน และมีการแสวงหาความร่วมมือในการใชท้ รัพยากรจาก
ชมุ ชนเปน็ อย่างไร มีกองทุนศิษยเ์ ก่า มงี บประมาณหมนุ เวยี นอย่างต่อเนอื่ ง
2.15 โรงเรียนได้รับรางวลั OBEC Award ดา้ นการบริหารจัดการดี และได้รับรางวัลโรงเรยี น
พระราชทาน ประเภทสถานศึกษาขนาดกลาง ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
3.จดุ เด่น จุดทีต่ ้องพฒั นา และแผนการพัฒนาคุณภาพเพ่ือยกระดับให้สูง
จุดเดน่ จุดทคี่ วรพัฒนา
1. ผูเ้ รยี นมีคุณธรรม จติ อาสา 1.การพฒั นาความสามารถในการคดิ วเิ คราะหข์ อง
2.ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนเข้มแข็งเป็นระบบ นักเรยี น
3.ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สูตรและผล 2.การพฒั นาความสามารถด้านการสอื่ สารภาษาอังกฤษ
การสอบ O-NET ชน้ั ม.3 สงู กวา่ ระดบั ชาตใิ นทุก ของนักเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนอื่ ง 3. ความสามารถในการจดั การเรยี นรู้ภาษาองั กฤษของ
4. การบรหิ ารจัดการศึกษาและการมีส่วนร่วมของ ครูผูส้ อน
ผูเ้ ก่ียวขอ้ ง 4. คลังข้อสอบท่ีเปน็ ระบบสามารถนาไปใช้ได้อย่าง
รวดเรว็
แผนการพฒั นาคุณภาพเพอ่ื ยกระดบั คุณภาพมาตรฐานให้สงู ขน้ึ
1.สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาในท้องถิ่น พัฒนาการสอน STEM
2.จัดจ้างพนกั งานธุรการประจาโรงเรียน
3.จดั ระบบแนะแนวนักเรยี น และสรา้ งความเขา้ ใจกบั ผู้ปกครองของนักเรียน
4.จดั หาครูภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาความสามารถภาษาอังกฤษของนักเรยี นอยา่ งเข้มขน้
5.จดั ทาแผนการพัฒนาครูใหเ้ ป็นครมู อื อาชพี