The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่1ความหมาย ความสำคัญและหลักการจัดการฟาร์ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by แสงเทียน เปรมประชา, 2019-06-04 02:59:24

หน่วยที่1 ความหมาย ความสำคัญและหลักการจัดการฟาร์ม

หน่วยที่1ความหมาย ความสำคัญและหลักการจัดการฟาร์ม

๒๕๖๒

หน่วยที่ 1ความหมาย ความสาคญั และหลกั การจดั การฟาร์ม

แสงเทยี น เปรมประชา
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่
04/06/62

1

เอกสารประกอบการเรียน

หลกั สูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พทุ ธศกั ราช 2556

ประเภทวชิ า เกษตรกรรม สาขาวชิ า เกษตรศาสตร์

รหัสวชิ า 2501 – 2007 วชิ า หลกั การจดั การฟาร์ม (Farm Management)

จานวน 2 หน่วยกิต เวลา 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์

1. จุดประสงค์รายวชิ า
1. เขา้ ใจหลกั การและกระบวนการที่เก่ียวขอ้ งกบั การจดั การฟาร์มเบ้ืองตน้
2. สามารถวเิ คราะห์ วางแผนการจดั การฟาร์ม บนั ทึกและทาบญั ชีฟาร์ม สรุปและวดั ผล

สาเร็จของการทาฟาร์มตามหลกั การ โดยคานึงถึงการใชท้ รัพยากรธรรมชาติอยา่ งคุม้ ค่า

3. มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพเกษตร และมีกิจนิสยั ในการทางานดว้ ยความรับผิดชอบ รอบคอบ
ซ่ือสตั ย์ ประหยดั มีความคิดสร้างสรรค์ ขยนั และอดทน
2. สมรรถนะรายวชิ า

1. แสดงความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั หลกั การและกระบวนการวางแผนและจดั การฟาร์ม
2. เลือกใชป้ ัจจยั การผลิตในการทาฟาร์มตามขอ้ มูลความพร้อม สภาพพ้นื ที่และรูปแบบของ
ฟาร์ม

3. วางแผนการจดั การฟาร์มตามหลกั การและกระบวนการ

4. จดั ทาบนั ทึกบญั ชีรายรับ-รายจา่ ยของฟาร์มตามหลกั การ
5. สรุปผลการดาเนินงานและแสดงฐานะการเงินของฟาร์ม

6. วดั ผลสาเร็จของฟาร์มตามหลกั การ
3. คาอธิบายรายวชิ า

ศึกษาและปฏิบตั ิเก่ียวกบั ความสาคญั และหลกั การจดั การฟาร์ม รูปแบบการดาเนินงาน
ฟาร์ม การวเิ คราะห์ขอ้ มูลที่เกี่ยวขอ้ งกบั ฟาร์ม การเลือกปัจจยั การผลิตในการทาฟาร์ม การบนั ทึก
และทาบญั ชีฟาร์มเบ้ืองตน้ การตีราคาทรัพยส์ ินและราคาผลิตผลคงเหลือ การสรุปผลการดาเนินงาน
แสดงฐานะการเงินของกิจการฟาร์ม และการวดั ผลสาเร็จของการทาฟาร์ม

2

หน่วยที่ 1
ความหมาย ความสาคญั และหลกั การจัดการฟาร์ม

1. ความหมายของการจัดการฟาร์ม
การจดั การ (Management) หมายถึง การจดั ทรัพยากรท่ีมีอยจู่ านวนจากดั ในการผลิตสินคา้

และบริการ เพ่อื สนองความตอ้ งการของมนุษย์ หรือเพื่อใหไ้ ดต้ ามวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดไว้
การจดั การฟาร์ม (Farm Management) หมายถึง การจดั สรรทรัพยากรของหน่วยธุรกิจ

ฟาร์ม ไดแ้ ก่ ที่ดิน แรงงาน ทุน ท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั มาใชก้ ารผลิตพืช เล้ียงสตั ว์ และประมง เพือ่ ใหไ้ ด้
ตามวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดภายใตก้ ารเส่ียง และความไมแ่ น่นอน การจดั การฟาร์มน้ีจะรวมถึงการ
วางแผน และงบประมาณฟาร์มต่อการปลูกพชื เล้ียงสตั ว์ และประมง ในการพฒั นาการผลิต การเกบ็
บนั ทึกขอ้ มูลเพ่อื การวเิ คราะห์ และประเมินผลการทาฟาร์มเอาไวด้ ว้ ย อยา่ งไรกต็ ามการจดั การ
ฟาร์มที่ดีน้นั นอกจากจะใหไ้ ดก้ าไรสูงสุด และทาใหไ้ ดต้ ามวตั ถุประสงคท์ ่ีกาหนดแลว้ ยงั ตอ้ งแบง่
เวลาใหเ้ หมาะสมดว้ ย

2. ความสาคัญของการจัดการฟาร์ม
ในประเทศท่ีรายไดส้ ่วนใหญ่มาจากการเกษตร เช่น ประเทศไทย การจดั การฟาร์มจะมี

บทบาทสาคญั ยง่ิ ในการเพิ่มรายไดข้ องรัฐ ผลิตภณั ฑพ์ ืช ปศุสัตวแ์ ละการประมง รายไดจ้ าก
การเกษตรมีแนวโนม้ เพม่ิ ข้ึนน้ีเน่ืองจากการเพม่ิ ข้ึนโดยขยายเน้ือที่ และกรเพ่มิ ผลผลิตต่อไร่ การ
เพิ่มจานวนคร้ังในการผลิต

การจดั การฟาร์มเป็ นวชิ าการแขนงหน่ึงที่เกี่ยวขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์ เพอื่ มุง่ เนน้
การหาแนวทางการแกป้ ัญหาตา่ งๆ ภายในฟาร์ม เช่น ทรัพยากรท่ีดิน ทุน และแรงงานเป็นหลกั
นอกจากน้ียงั มีส่วนเก่ียวขอ้ งสมั พนั ธ์กบั ราคาและการตลาด

การพฒั นาการทาฟาร์มของประเทศไทยไดม้ ีการพฒั นาและเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด
จากการทาฟาร์มเพื่อยงั ชีพ การทาฟาร์มแบบรวม จนกระทงั่ มาสู่การทาฟาร์มแบบเชิงการคา้ ซ่ึง
ท้งั หมดสืบเน่ืองมาจากการเปล่ียนแปลงดา้ นทรัพยากร เศรษฐกิจและสังคม และดว้ ยเหตุผลที่วา่ การ
ทาฟาร์มหรือการจดั การฟาร์มเป็นการดาเนินงานภายใตส้ ถานการณ์ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน
อนั เน่ืองมาจากการเปล่ียนแปลงของปัจจยั หลายอยา่ งท่ีเกษตรกรไม่สามารถควบคุมได้ เช่น การ
เปลี่ยนแปลงสภาพดินฟ้าอากาศ การข้ึนลงของราคาสินคา้ เกษตร ตลอดจนความตอ้ งการและการ
แขง่ ขนั ในการผลิตสินคา้ เกษตร ดงั น้นั ความจาเป็นในการจดั การหรือการตดั สินใจน้นั จึงมี
ความสาคญั หากการจดั การไม่เหมาะสมหรือไม่ถูกตอ้ งอาจจะทาใหเ้ กิดการขาดทุนหรือเสียหายได้
แต่ถา้ เกษตรกรมีการจดั การที่ดีและตดั สินใจท่ีถูกตอ้ งก็จะทาใหป้ ระสบความสาเร็จได้ นนั่

3

หมายความวา่ มีความเสียหายนอ้ ยท่ีสุด หรือมีความเสี่ยงนอ้ ยแต่ไดป้ ระโยชน์มากท่ีสุด กล่าวคือ
ก่อใหเ้ กิดรายไดแ้ ละกาไรมาก ความสาคญั ของการจดั การฟาร์มเก่ียวขอ้ ง ดงั น้ี

2.1 บริหารและจดั การทรัพยากรท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั และเป็นแนวทางแกป้ ัญหากิจกรรม
ภายในฟาร์ม

2.2 การใชป้ ัจจยั การผลิตในฟาร์มใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสุด
2.3 การคดั เลือกกิจกรรมการผลิตใหส้ อดคลอ้ งกบั ทรัพยากรท่ีมีอยู่ ตลอดจนความรู้
ความสามารถและทกั ษะของเจา้ ของฟาร์ม
2.4 การจดั การดา้ นแรงงานและเงินทุนใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด เนื่องจากสภาพปัจจุบนั
แรงงานครัวเรือนและแรงงานจา้ งคอ่ นขา้ งจากดั ตลอดจนเทคโนโลยสี มยั ใหมเ่ ขา้ มาจึงจาเป็นตอ้ ง
ใชเ้ งินทุนเขา้ มาช่วยสนบั สนุน ดงั น้นั การจดั การจึงเนน้ ถึงการควบคุมดูแลและการกากบั การใช้
ปัจจยั แรงงาน และเงินทุน
2.5 พ้ืนท่ีการเกษตรเริ่มมีขนาดเลก็ ลงและทรัพยากรเร่ิมจากดั ไม่วา่ พ้นื ท่ีหรือแรงงานก็
ตาม จึงจาเป็นตอ้ งเพ่มิ ธุรกิจภายในฟาร์มที่มีขนาดเดิมใหม้ ากข้ึน โดยอาศยั การจดั การฟาร์มที่
ถูกตอ้ งและเหมาะสม
2.6 การวางแผนและการวเิ คราะห์ฟาร์ม เพอ่ื การกาหนดทิศทางการผลิตใหส้ อดคลอ้ ง
กบั ทรัพยากรและความตอ้ งการของตลาด สิ่งสาคญั ใหเ้ กิดความเสี่ยงนอ้ ยที่สุด
2.7 เนื่องจากการตลาดนาการผลิต การจดั การฟาร์มจึงตอ้ งตระหนกั ถึงระบบการตลาด
การซ้ือ การขายผลผลิต ช่วงระยะเวลา และคุณภาพของผลผลิต เป็นตน้
3. ปัญหาการเพมิ่ ผลผลติ ทางด้านการเกษตร
3.1 ปัญหาเน้ือที่ถือครองขนาดเล็ก จากจานวนประชากรในปัจจุบนั ประมาณ 65 ลา้ น
คน ร้อยละ 75 เป็นเกษตรกร หรือประมาณ 48.75 ลา้ นคน จานวนเน้ือที่ถือครองเพื่อการเกษตรมี
จานวน 151.9 ลา้ นไร่ จะพบวา่ เน้ือที่ถือครองต่อคนจะประมาณ 3 ไร่/คน เทา่ น้นั
3.2 ปัญหาการชลประทาน จากเน้ือที่ถือครองเพ่อื การเกษตร 151.9 ลา้ นไร่ก็พบวา่ มี
เพยี ง ร้อยละ 6 เท่าน้นั ที่โครงการครอบคลุมถึง
3.3 ปัญหาหน้ีสินและการขาดแคลนเงินทุนหรือเครดิตเพ่ือการเกษตร ปัญหาหน้ีสินน้ี
จะก่อใหเ้ กิดปัญหาการเพ่มิ และการขยายการผลิต
นอกจากน้นั ยงั มีปัญหาอ่ืน ๆ ตามมา เช่น ปัญหาการตลาดเกษตร ปัญหาเร่ืองระดบั
การศึกษาและสุขภาพอนามยั ของเกษตรกร ปัญหาการคมนาคม และปัญหาการนาเทคนิคที่
เหมาะสมเขา้ ไปใช้

4

4. ขอบเขตของการทางานของผู้จัดการฟาร์ม
ผจู้ ดั การฟาร์มโดยทวั่ ไปจะทาหนา้ ที่ทุกอยา่ งต้งั แต่ตดั สินใจทาการผลิต การดาเนินการ

ผลิต การตลาด การเงิน การบญั ชี การซ่อมแซม การวางแผน การผลิต การประเมินผลการทาฟาร์ม
นอกจากฟาร์มใหญ่ๆ ซ่ึงทาในรูปของหุน้ ส่วนหรือบริษทั จะสามารถจา้ งผมู้ ีความรู้มาทางานเฉพาะ
อยา่ ง เช่น นกั บญั ชี นกั กฎหมาย มาทางานประจาตาแหน่ง ดงั น้นั ขอบเขตการทางานของผจู้ ดั การจึง
กวา้ ง ซ่ึงจะรวมถึง

4. 1 ความรู้ดา้ นการเกษตร ในการปลูกพชื หรือการเล้ียงสัตวแ์ ตล่ ะชนิดน้นั ทาอยา่ งไร
มีข้นั ตอนและเทคนิคอยา่ งไรบา้ ง ตลอดจนจะตอ้ งทราบชีววทิ ยา ชีพจรของพชื หรือสัตวท์ ี่ตนทาการ
ผลิต นอกจากน้ีแลว้ ยงั จะตอ้ งทราบถึงลกั ษณะวธิ ีป้องกนั และรักษาโรคแมลงที่เกิดกบั พชื และสตั ว์
น้นั ดว้ ย ซ่ึงเป็นเรื่องที่กวา้ งมาก การปรับปรุงและพฒั นาการผลิตใหท้ นั สมยั โดยคานึงถึงการ
ประหยดั กาไร และการทนั ต่อเหตุการณ์

4.2 การจดั การดา้ นการเงิน มีการวางแผนเกี่ยวกบั แหล่งที่มาของเงินลงทุน โดย
พจิ ารณาเก่ียวกบั อตั ราดอกเบ้ียวา่ แพงหรือไม่ เงินท่ีไดจ้ ากการผลิตแต่ละปี จะแบง่ ไปใชใ้ นการขยาย
กิจการผลิตดา้ นใดเท่าใด ซ้ือเคร่ืองจกั รเคร่ืองมือเทา่ ใด ค่าแรงงานเทา่ ใด คา่ ใชจ้ า่ ยของครอบครัว
เท่าใด การศึกษาของบุตร การกุศล และดา้ นการพกั ผอ่ นหยอ่ นใจเทา่ ใด ดงั น้นั ผูจ้ ดั การจะตอ้ งมี
ความรู้ทางดา้ นบญั ชีดว้ ย

4.3 กิจการดา้ นบญั ชี การจดั สรรรายไดจ้ ากการผลิตไปในดา้ นตา่ งๆ ควรจะมีการ
วางแผนและงบประมาณฟาร์มท่ีถูกตอ้ ง มีการเก็บบนั ทึกที่ถูกตอ้ ง รู้จกั การจดั ทาบญั ชีรายรับรายจา่ ย
แบบง่ายๆ รู้วธิ ีการจดั รายงานทางบญั ชี เช่น งบกาไรขาดทุน หรือ งบดุลของกิจการ เพราะหากทา
ฟาร์มเป็นธุรกิจแลว้ บญั ชีฟาร์มจะเป็นเรื่องที่หลีกเล่ียงไมไ่ ด้ บญั ชีจะเป็ นเครื่องวดั ความสาเร็จของ
การทาฟาร์ม

4.4 กิจการดา้ นการคา้ การทาฟาร์มจะเกี่ยวขอ้ งกบั การซ้ือขายอยเู่ สมอ ในกิจกรรมดา้ น
น้ีจะรวมถึงการรวบรวมปัจจยั การผลิต การเกบ็ ผลผลิตเพ่อื รอราคาท่ีสูงข้ึน การขนส่ง การ
ประกนั ภยั การคาดคะเนแนวโนม้ ของราคาสินคา้ และผลผลิต การทาสัญญาซ้ือขายและการตลาด
ตลอดจนการวางแผนการผลิตใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาด

5. การจัดรูปแบบและส่วนประกอบของฟาร์ม
หมายถึง การเลือกฟาร์ม การวางแผน การวางระบบการเพาะปลูกและการเล้ียงสตั ว์

การเลือกวธิ ีปฏิบตั ิเพื่อป้องกนั การสูญเสียและการถูกชะลา้ งของดิน การเลือกกิจการของพชื และ
สัตว์ การวางแผนการสร้างและกาหนดขนาดของอาคารโรงเก็บผลผลิต การจดั การดา้ นแรงงาน
ดา้ นเครื่องจกั รเคร่ืองมือ ซ่ึงในการน้ีจะมีคา่ ใชจ้ ่ายเขา้ มาเก่ียวขอ้ งดว้ ย

5

6. การดาเนินงานฟาร์ม
หมายถึง การทาฟาร์มหลงั จากที่ไดต้ ดั สินใจวา่ จะผลิตอะไร จะใชป้ ัจจยั ชนิดใด ซ่ึงมี

ข้นั ตอนต่อจากการจดั รูปแบบและส่วนประกอบของฟาร์ม ในการดาเนินงานในข้นั น้ีจะพิจารณาวา่
จะทาอยา่ งไรจึงจะทาใหก้ ารทางานมีประสิทธิภาพมากที่สุด

7. กระบวนการจัดการในการดาเนินงานฟาร์ม
เม่ือการทาฟาร์มเป็ นรูปแบบหน่ึงของการดาเนินธุรกิจ จะเก่ียวขอ้ งกบั กระบวนการจดั การ

ในสิ่งต่อไปน้ี
7.1 การจดั การเกี่ยวกบั งาน การจดั การเก่ียวกบั งานน้ีจะรวมถึงการวางแผนการผลิตวา่ จะทา

ในรูปแบบใด จะผลิตอะไร ซ่ึงเม่ือวางแผนการผลิตแลว้ กค็ วบคุมการผลิตใหเ้ ป็ นไปตามเป้าหมาย
น้นั ก็จะตอ้ งจดั การเก่ียวกบั คนงาน พนกั งาน คนงาน วา่ ใครควรจะทาหนา้ ท่ีใด ควรจะมีคนงานกี่คน
ในธุรกิจของตน

7.2 การจดั การเก่ียวกบั ปัจจยั การผลิต ฟาร์มที่มีขนาดเดียวกนั อยใู่ นทอ้ งถิ่นเดียวกนั การ
ผลิตพชื และสัตวก์ เ็ ป็นชนิดเดียวกนั แต่การจดั การใชป้ ัจจยั การผลิตอนั หมายถึงท่ีดิน แรงงานและทุน
น้นั แตกต่างกนั ก็จะทาใหเ้ กิดผลกาไรท่ีแตกต่างกนั

7.3 การจดั การเกี่ยวกบั ข้นั ตอนหรือวธิ ีดาเนินการผลิต ในการทาฟาร์มมกั จะมีข้นั ตอนของ
การตดั สินใจ ดงั น้ี

1) ข้นั ตอนแรกเป็ นการต้งั วตั ถุประสงคห์ รือเป้าหมายในการทาฟาร์มกเ็ พ่ือขีด เส้น
หรือกาหนดทิศทางของตนเองวา่ จะเดินไปทางใด การต้งั เป้าหมายในการผลิตน้นั จะตอ้ งไม่ขดั กบั
นิสัยและความสามารถของตนเอง และควรจะไดร้ ับความเห็นชอบจากสมาชิกในครอบครัว

2) การศึกษาและทาความเขา้ ใจปัญหา สมมุติวา่ เกษตรกรคนหน่ึงมีท่ีดิน 25 ไร่ มี
คนในครอบครัว 5 คนทานาอยา่ งเดียว ไมสามารถจะทาการผลิตใหม้ ีรายไดเ้ พียงพอกบั ความ
ตอ้ งการหรือเป้าหมายของครอบครัวได้ ดงั น้นั เขาจะตอ้ งศึกษาวา่ มีปัญหาอะไร เป็นปัญหาดา้ น
การผลิต ดา้ นการตลาด ดา้ นการลงทุน หรือดา้ นการใชแ้ รงงาน หรือการใชป้ ัจจยั การผลิตอยา่ งอ่ืน

3) การรวบรวมขอ้ มูลและแนวความคิด จากการศึกษาปัญหาดงั กล่าว ใน
ขณะเดียวกนั ก็ศึกษาดูจากบญั ชีฟาร์มของตนเองและการทาฟาร์มของคนอื่น เปรียบเทียบดูในฟาร์ม
ขนาดเดียวกนั ทาไมเขามีรายไดแ้ ตกต่างจากตน จากแนวความคิดและขอ้ มูลท่ีไดน้ ้ีก็นามาปรับปรุง
ใหเ้ ขา้ กบั การทาฟาร์มของตนเอง

4) วเิ คราะห์แนวทางการผลิตหรือเลือกกิจกรรมและวธิ ีการผลิตท่ีเหมาะสม โดย
การศึกษาจากเจา้ หนา้ ที่ส่งเสริมการเกษตร ข้นั น้ีเกษตรกรจะพจิ ารณาวา่ จะเปล่ียนการปลูกขา้ วเป็น
พืชอ่ืน หรือเล้ียงสตั วร์ ่วมดว้ ยหรือขยายเน้ือที่การผลิตเพิ่มข้ึน หรือจะเปลี่ยนเป็ นเล้ียงสตั วอ์ ยา่ งเดียว

6

5) การตดั สินใจ จากหลกั การต่างๆท่ีไดศ้ ึกษามาตลอดจนการศึกษาทางเลือกการ
ผลิต มาถึงข้นั น้ีกต็ ดั สินใจวา่ จะเลือกผลิตอะไร ซ่ึงการตดั สินใจน้ีจะพจิ ารณาถึงเป้าหมายหรือ
วตั ถุประสงคท์ ่ีต้งั ไวร้ วมถึงทรัพยากรท่ีมีอยวู่ า่ กิจการใหม่ที่นาเขา้ มาน้นั พอจะเหมาะสมกบั
ทรัพยากรที่มีอยหู่ รือไม่ การเสี่ยง ท้งั ในการผลิต การตลาด การนาเอาธุรกิจใหม่เขา้ มาใช้ เห็นวา่ การ
ตดั สินใจเป็ นช่วงของการคิดสร้างสรรค์ หรือคิดริเริ่มนาเอาปัจจยั ตา่ ง ๆ เขา้ มาใชท้ ้งั ในกิจการใหม่
และกิจการเก่าซ่ึงมกั จะมีความมาแน่นอนของอนาคตเก่ียวขอ้ งดว้ ยเสมอ

6) การนาเอาสิ่งที่ไดต้ ดั สินใจเลือกแลว้ ไปดาเนินการปฏิบตั ิ หรือดาเนินการผลิต
อยา่ งจริงจงั จากที่นา 25 ไร่ กสิกรจะเลือกทานาเป็ นกิจการหลกั 20 ไร่ เล้ียงปลาดุก 2 ไร่ ปลูกผกั 2
ไร่ และเป็นที่อาศยั 1 ไร่

7) การดูแลรับผดิ ชอบต่อกิจการหรือแนวการผลิตใหม่ เกษตรกรจะตอ้ งมีความ
เชื่อมน่ั ในตนเอง เพราะในระยะแรก ๆ ของการทากิจการใหม่หรือการปรับปรุงการผลิตใหม่
ผลตอบแทนท่ีไดม้ กั จะไมเ่ ป็ นไปตามเป้าหมายท่ีต้งั ไว้ การมีกาไรสูงในระยะน้ีจึงมกั จะไม่คอ่ ย
ปรากฏเพราะขาดประสบการณ์ และการผลิตยงั ข้ึนอยกู่ บั สภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ซ่ึงเกษตรกรจะตอ้ ง
ทาการปรับปรุงอยเู่ สมอในช่วงน้ีเม่ือเกษตรกรลงมือปลูกพชื และเล้ียงสตั วไ์ ปแลว้ กต็ อ้ งดูแล
รับผดิ ชอบต่อการเจริญเติบโตของพชื และสัตวน์ ้นั

8) ข้นั สุดทา้ ยเป็นการประเมินผลงานที่ไดท้ ดลองทามาวา่ ไดต้ ดั สินใจในช่วงเวลา
ท่ีถูกตอ้ งหรือเปล่า ถา้ ไม่พอใจควรปรับปรุงแลว้ ทดลองทาตอ่ หรือเลือกกิจการใหมม่ าแทน

8. ลกั ษณะการทาฟาร์มเม่ือเทยี บกบั ธุรกจิ ด้านอื่น
8.1 การทาฟาร์มข้ึนอยกู่ บั สภาพทางชีววทิ ยา ซ่ึงทาใหก้ ารผลิตมีช่วงเวลาจากดั วา่ พืชหรือ

สัตวแ์ ตล่ ะชนิดจะผลิตออกสู่ตลาดไดต้ อ้ งใชเ้ วลา เช่น ผกั อยา่ งนอ้ ยก็ 45 วนั ผดิ กบั อุตสาหกรรมเม่ือ
ใส่ปัจจยั การผลิตเขา้ ไปแลว้ ก็ไดอ้ อกมาภายในระยะเวลาอนั ส้นั บางคร้ังนอ้ ยกวา่ หา้ นาทีสิบนาที

8.2 การทาฟาร์มเป็ นการเส่ียง โดยเหตุที่การผลิตข้ึนอยกู่ บั ฤดูกาลหรือดินฟ้าอากาศ และ
สภาพทางชีววทิ ยาของพืชและสัตวด์ ว้ ย ฝนแลง้ น้าทว่ มเป็ นส่ิงที่อาจหลีกเล่ียงไดแ้ ต่ตอ้ งใชท้ ุนมาก
นอกจากการเส่ียงในเร่ืองความไมแ่ น่นอนของดินฟ้าอากาศแลว้ ยงั ตอ้ งเส่ียงต่อโรคและแมลง หรือ
ความเปลี่ยนแปลงของราคาผลิตผลดว้ ย

8.3 ปัจจยั การผลิตดา้ นการเกษตรอยา่ งหน่ึงมกั จะถูกใชใ้ นการผลิตหลายอยา่ ง โดยเฉพาะ
แรงงานในการจดั การจะตอ้ งทาหนา้ ท้งั การวางแผน ท้งั การผลิต การซ้ือขาย การบญั ชีดว้ ยตนเอง

8.4 การผลิตทางการเกษตรมกั มีคา่ ใชจ้ ่ายดา้ นตน้ ทุนคงท่ีสูง เช่น คา่ เช่าที่ดิน ค่าดอกเบ้ีย คา่
เส่ือมราคาของเคร่ืองจกั รเคร่ืองมือและโรงเรือน ค่าประกนั ภยั ของทรัพยส์ ิน เพราะส่ิงเหล่าน้ีจะใช้
ในการผลิตหรือไมก่ ็ตามเกษตรกรก็ตอ้ งนามาคิดเป็ นค่าใชจ้ า่ ยดว้ ย

7

8.5 ธุรกิจการทาฟาร์มกบั ครอบครัวจะมีความสัมพนั ธ์อยา่ งใกลช้ ิด เป็นการยากที่จะแยก
ธุรกิจของฟาร์มออกจากเรื่องของครอบครัวโดยเด็ดขาด เนื่องจากการวางเป้าหมายการทาฟาร์ม
จะตอ้ งไดร้ ับการสนบั สนุนจากคนในครอบครัว การผลิตกอ็ าศยั แรงงานจากครอบครัวดว้ ย

8.6 การทาฟาร์มตอ้ งการแรงงานท่ีมีความชานาญเฉพาะอยา่ งนอ้ ยกวา่ ธุรกิจดา้ นอื่น งาน
ธุรกิจดา้ นอุตสาหกรรมสามารถแยกแรงงานใหท้ างานตามที่แรงงานถนดั ได้ เช่น ช่างซ่อมไดนาโม
กท็ าเฉพาะไดนาโม แต่การทาฟาร์มถา้ มีความชานาญในการรีดนมววั ก็จะรีดแต่นมววั อยา่ งเดียว
ไมไ่ ด้ จะตอ้ งทาความสะอาดคอยใหอ้ าหาร หรือทางานอยา่ งอื่นในขณะท่ีไมต่ อ้ งรีด อนั น้ีก็เพอ่ื ใหม้ ี
การใชแ้ รงงานอยา่ งมีประสิทธิภาพน้นั เอง

8.7 เกษตรกรแตล่ ะคนไมม่ ีอิทธิพลเหนือการผลิตท้งั ประเทศ เน่ืองจากการเขา้ หรือออกจาก
ธุรกิจเกษตรเป็นไปอยา่ งอิสรเสรี การผลิตสินคา้ เกษตรไม่มีการจดทะเบียนผกู ขาดหรือสงวน
ลิขสิทธ์ิ การแขง่ ขนั จึงมีมาก

9. ลกั ษณะการทาฟาร์มของประเทศไทย
ประเทศไทยเป็นแหล่งกาเนิดของอารยะธรรม และการเกษตรท่ีสาคญั แหล่งหน่ึงของ

โลก ซ่ึงมีแบบแผนการดารงชีพทางการเกษตรของมนุษยใ์ นการปลูกพชื เล้ียงสัตวเ์ ป็นหลกั เพือ่ การ
ยงั ชีวติ อยา่ งไรก็ตามการทาการเพาะปลูกและเล้ียงสัตวบ์ นพ้ืนที่การเกษตรหรือฟาร์มน้นั
ประกอบดว้ ยสิ่งมีชีวติ พืช สัตว์ ประมง ทรัพยากรดินและน้า แสงสวา่ ง ความช้ืน สิ่งมีชีวติ ในดิน
เคร่ืองมือ อุปกรณ์การเกษตร การจดั การ และมนุษยเ์ ป็นผกู้ ระทาตลอดจนปัจจยั ตา่ ง ๆ ที่ส่งกระทบ
ต่อฟาร์ม เพ่อื ตอบสนองวตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมายของมนุษย์ ชุมชน และสงั คมเท่าน้นั สาหรับ
ลกั ษณะการทาฟาร์มของประเทศไทยหรือสากลน้นั แยกได้ 3 ลกั ษณะ คือ

9.1 การทาฟาร์มแบบยงั ชีพ (Subsistence Farms) เป็นการทาฟาร์มหรือทาการเกษตรแบบ
ยงั ชีพ มิไดม้ ุ่งหวงั การทาการผลิตเพอ่ื ผลิตผลออกมาจาหน่าย หรือคา้ ขาย เนื่องจากเจา้ ของฟาร์ม
ชุมชน และสังคมแต่ละพ้นื ท่ีตา่ งกม็ ีพ้ืนท่ี ต่างก็มีทรัพยากรภายในฟาร์มท่ียงั สมบูรณ์ ระบบ
การตลาดหรือการคา้ ขายยงั ไมม่ ีการพฒั นา เพยี งแต่มีการแลกเปล่ียนสินคา้ เกษตรกนั บา้ ง ตลอดจน
ระบบการปกครองและการล่าอาณานิคมยงั ไมแ่ พร่หลาย การคมนาคมและการสื่อสารยงั ไมส่ ะดวก
การทาฟาร์มประเภทน้ีจึงมุง่ เนน้ ถึงฟาร์ม คือ แหล่งอาหาร และใชส้ อยในครัวเรือนเท่าน้นั

9.2 การทาฟาร์มแบบรวม (State and Collective Farms) เป็นการรวบรวมทรัพยากรที่ดิน
ทุน และแรงงานเขา้ ดว้ ยกนั ภายใตก้ ารจดั การของคนใดคนหน่ึง หรือกลุ่มคนใดกลุ่มคนหน่ึง เพือ่
ตอ้ งการผลผลิตปริมาณมากและทนั ตอ่ เวลา ฟาร์มลกั ษณะเช่นน้ีเกิดข้ึนเมื่อมีการเจริญเติบโตดา้ น
สังคม เศรษฐกิจและอานาจทางการเมือง โดยผทู้ ่ีมีอานาจหรือมีอิทธิพลพยายามท่ีจะรวบรวม

8

ทรัพยากรการผลิตท้งั หมดเอาไว้ เพ่อื เป็ นอานาจในการตอ่ รอง การทาฟาร์มจึงเกิดข้ึนในลกั ษณะการ
ผลิตแบบรวม และจดั สรรเป็ นหมวดหมู่เพอ่ื สะดวกในการจดั การดา้ นการผลิต

9.3 การทาฟาร์มแบบการค้า (Commercial Farm) การทาฟาร์มเร่ิมไดร้ ับการพฒั นาข้ึน
เน่ืองจากการขยายตวั ทางเศรษฐกิจและสังคม ระบบนายทุนนิยมและวชิ าการสมยั ใหมใ่ นการผลิต
ทางการเกษตรเกิดข้ึน เช่น วิธีการเพาะปลูก การเล้ียงสัตว์ การใชพ้ นั ธุ์ การใชป้ ๋ ุย สารเคมีและ
เคร่ืองจกั รกลการเกษตร ตลอดจนวทิ ยาการหลงั การเกบ็ เก่ียว เป็นตน้ นอกจากน้ีความจาเป็นอยา่ ง
หน่ึงคือประชากรเพม่ิ มากข้ึน ตอ้ งการอาหารมากข้ึน ชุมชนแต่ละชุมชนหรือสังคมมีความสัมพนั ธ์
และติดตอ่ กนั มากข้ึน ความจาเป็นดา้ นการตลาดทางการคา้ มีมากข้ึน การเปล่ียนแปลงและขีดจากดั
ของทรัพยากรที่มีอยเู่ ริ่มลดนอ้ ยลง ดงั น้นั จึงเกิดการทาฟาร์มแบบคา้ ขายเพ่ือแลกเปลี่ยนเงินตราเขา้
มาสู่แตล่ ะชุมชนหรือแตล่ ะประเทศเพ่ือตอบสนองการลงทุนส่วนหน่ึง เพอื่ จะเอาชนะ
ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั อีกส่วนหน่ึงเพ่ือตอบสนองดา้ นเศรษฐกิจและสังคมของ
ชุมชนน้นั หรือประเทศน้นั

ฟาร์มเป็นแหล่งทรัพยากรอนั ยง่ิ ใหญ่ของครัวเรีอนเกษตรกรในการผลิตทางการเกษตรหรือ
อาจจะกล่าวไดว้ า่ ฟาร์มเป็นหน่วยการผลิตหน่วยหน่ึง ดงั คาวา่ “Farm as a Unit” เมื่อเรามีความ
เขา้ ใจคาวา่ ฟาร์มและการพฒั นาระบบการทาฟาร์มที่ผา่ นมาแลว้ สิ่งที่จาเป็นมากมี่สุดในปัจจุบนั น่ี
คือการใชท้ รัพยากรการผลิตอยา่ งไรจึงจะคุม้ ค่ากบั ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และส่ิงแวดลอ้ ม
ดงั น้นั เกษตรกรเป็นผทู้ ี่มีส่วนในกระบวนการผลิตจะตอ้ งเป็นผทู้ ี่มีความรู้ความสามารถและทกั ษะ
ท่ีจะผลิตสินคา้ การเกษตร ภายใตเ้ งื่อนไขทรัพยากรการผลิตท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั ซ่ึงไดแ้ ก่ ที่ดิน ทุน
และแรงงาน การจดั การดา้ นทรัพยากรดงั กล่าว จะตอ้ งมีแบบแผนทางวชิ าการและความเหมาะสม
กบั สภาพพ้ืนที่เป็นหลกั เพื่อใหผ้ ลตอบแทนสูงสุด ตน้ ทุนการผลิตต่าสุด

อยา่ งไรกต็ าม การผลิตของเกษตรกรไทยส่วนใหญย่ งั คงไวซ้ ่ึงเพ่ือการบริโภคและจาหน่าย
แต่รูปแบบวธิ ีการเร่มมีการแข่งขนั เชิงการคา้ มากข้ึน กล่าวคือ เนน้ ท้งั ปริมาณและคุณภาพของ
ผลผลิตเพือ่ ตอบสนองควมตอ้ งการของตลาด หากจะเปรียบเทียบการทาฟาร์มในลกั ษณะบริษทั แลว้
ซ่ึงปัจจุบนั ในประเทศไทยกม็ ีอยหู่ ลายบริษทั มีรูปแบบการทาฟาร์มมุ่งเนน้ ธุรกิจเกษตรเป็นหลกั มี
การใชเ้ ทคโนโลยชี ้นั สูง การใชป้ ัจจยั การผลิตค่อนขา้ งสูง มีระบบเครือขา่ ยการตลาดที่ชดั เจน และ
การจดั การท่ีมีประสิทธิภาพสูง

10. ส่วนประกอบของฟาร์ม
โดยทวั่ ไปในฟาร์มจะประกอบดว้ ยส่ิงตอ่ ไปน้ี

10.1 ท่ีดิน
10.2 แรงงาน แรงงานครอบครัว แรงงานจา้ ง แรงงานสัตว์

9

10.3 สิ่งก่อสร้างในฟาร์ม เช่น อาคาร ร้ัว ระบบการให้น้า ระบบชลประทาน ถนน
ยงุ้ ฉาง ไซโล คอกสตั ว์ โรงเก็บป๋ ุยและอาหารสตั ว์ โรงเกบ็ เคร่ืองจกั รเครื่องมือ

10.4 เครื่องจกั ร เครื่องมือ อุปกรณ์การผลิตตา่ ง ๆ
10.5 อาหารสัตว์ ป๋ ุย เมลด็ พนั ธุ์พชื ปูนขาว ยาป้องกนั และปราบศตั รูพืช ยาฆา่ แมลง
10.6 พชื หรือสัตวช์ นิดตา่ ง ๆ
10.7 เงินสาหรับใชใ้ นการดาเนินงานฟาร์ม
10.8 ผจู้ ดั การและครอบครัว


Click to View FlipBook Version