The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 2 ระบบการทำฟาร์ม (Farming Systems)ล่าสุด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by แสงเทียน เปรมประชา, 2019-06-06 02:42:01

หน่วยที่ 2 ระบบการทำฟาร์ม (Farming Systems)ล่าสุด

หน่วยที่ 2 ระบบการทำฟาร์ม (Farming Systems)ล่าสุด

[]

หน่วยท่ี 2 ระบบการทาฟาร์ม

แสงเทียน เปรมประชา
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่

9

หน่วยท่ี 2
ระบบการทาฟาร์ม (Farming Systems)
1. ความหมายของระบบการทาฟาร์ม
ระบบการทาฟาร์ม (Farming Systems) เป็นการทากิจกรรมการเกษตรท่ีเป็นระบบของเกษตรกร
ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบหรือกิจกรรมตา่ งๆ หลายอยา่ ง และมีความสมั พนั ธ์ซ่ึงกนั และกนั โดยการใช้
ประโยชน์จากทรัพยากรและปัจจยั การผลิตท่ีมีอยใู่ นครัวเรือน ซ่ึงมิใช่รวมพชื สัตว์ ประมงและกิจกรรมอื่นๆ
เทา่ น้นั แตร่ วมการทากิจกรรมอ่ืนๆดว้ ย ไมว่ า่ จะเป็ นทางตรงหรือทางออ้ ม และอาจใชร้ ะยะเวลาส้นั หรือ
ระยะเวลานาน ซ่ึงเป็นผลมาจากความรู้ความเขา้ ใจและความสามารถ ตลอดจนพฤติกรรมของเกษตรกรท่ีมี
ตอ่ สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติที่อยรู่ อบตวั เกษตรกร และการทาฟาร์มมีปัจจยั ตา่ งๆมาเกี่ยวขอ้ ง ท้งั ดา้ น
เทคโนโลยกี ารผลิต สภาพชีวภาพ เศรษฐกิจและสงั คม และสภาพสิ่งแวดลอ้ มตามธรรมชาติ
ระบบการทาฟาร์ม (Farming Systems) หมายถึง ระบบการเกษตรของเกษตรกรโดยการใช้
ประโยชนจ์ ากทรัพยากรท่ีมีอยใู่ นครัวเรือน มีองคป์ ระกอบหรือกิจกรรมหลายๆอยา่ ง แต่ละกิจกรรมมี
ความสัมพนั ธ์ซ่ึงกนั และกนั แต่ละกิจกรรมตา่ งก็มีปัจจยั หลายอยา่ งมาเก่ียวขอ้ ง เช่น ปัจจยั ทางกายภาพ
ชีวภาพ เศรษฐกิจสังคม และส่ิงแวดลอ้ มตามธรรมชาติ การเปล่ียนแปลงกิจกกรมหน่ึงจะมีผลกระทบไปถึง
กิจกรรมอ่ืนๆ ดว้ ย
ระบบการทาฟาร์ม มิไดห้ มายถึงเพียงพืชต่างๆ มีสัตวต์ า่ งๆ ท่ีเล้ียง หรือกิจกรรมอื่นๆในฟาร์ม
เทา่ น้นั แต่หมายถึงขอบขา่ ยเช่ือมโยงอนั สลบั ซบั ซอ้ นของดิน พชื สตั ว์ แรงงาน เคร่ืองมือ และปัจจยั การผลิต
ต่างๆ ที่เกษตรกรมีอยรู่ วมท้งั อิทธิพลของสภาพแวดลอ้ มทางการภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงเป็น
เงื่อนไขของเกษตรกรในการผลิต ตลอดจนการปรับเทคโนโลยกี ารผลิตให้เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั
สภาพแวดลอ้ มดงั กล่าว เพื่อใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ เป้าหมายและความพอใจของเกษตรกร
2. ความหมายของคาทเี่ กยี่ วข้องกบั ระบบการทาฟาร์ม
พชื เป็นองคป์ ระกอบสาคญั ของระบบการทาฟาร์ม ท้งั น้ีเพราะพืชเป็นอาหาร ยารักษาโรค ที่อยอู่ าศยั
ธาตุอาหารบารุงดิน ซ่ึงเป็นส่วนสาคญั ของสภาพแวดลอ้ มตามธรรมชาติ มนุษยพ์ ยายามที่จะจดั ระบบการ
ปลูกพชื ใหส้ ะดวกและง่ายตอ่ การดูแลรักษาและเกบ็ เก่ียวผลผลิต จาไดเ้ ปล่ียนระบบจากการที่ปล่อยใหพ้ ืชท่ี
ปลูกข้ึนปะปนกนั อยา่ งไม่เป็ นระเบียบ เช่น ในสภาพธรรมชาติมาเป็นการปลูกอยา่ งเป็ นแถวเป็นแนวบา้ ง
หวา่ นเป็ นผนื เดียวกนั บา้ ง ซ่ึงสามารถแบ่งระบบการปลูกพืชตามวธิ ีการปลูก
ระบบการปลูกพชื (Cropping System) เป็นกิจกรรมเกี่ยวกบั การผลิตพืชในฟาร์มหน่ึงๆ รวมไปถึง
องคป์ ระกอบต่างๆ ที่จาเป็ นสาหรับการปลูกพืช และความสัมพนั ธ์ระหวา่ งพืชกบั ส่ิงแวดลอ้ มซ่ึงปัจจุบนั มี
ลกั ษณะของระบบการปลูกพชื แบบต่างๆมากมาย แบ่งระบบการปลูกพืชไดก้ วา้ งๆออกเป็น 6 ระบบ คือ

10

2.1 ระบบการปลูกพืชร่วม (Intercropping) หมายถึง ระบบการปลูกพชื ต้งั แตส่ องชนิดร่วมกนั ใน
เวลาเดียวกนั หรือเวลาใกลเ้ คียงกนั อาจเป็นรูปแบบใดกไ็ ดใ้ น 2 รูปแบบ ดงั น้ี

1) การปลูกแบบแซมเป็นแถว (Row Intercropping) หมายถึง ระบบการปลูกพชื ร่วมที่มี
อยา่ งนอ้ ยหน่ึงชนิดท่ีปลูกเป็ นแถว ท่ีเหลือนอกจากน้ีอาจจะปลูกเป็นแถวสลกั กบั พชื แรกหรือปลูกไม่เป็น
แถวอยใู่ นระหวา่ งแถวของพืชแรกกไ็ ด้

2) การปลูกแบบผสม (Mixed Intercropping) หมายถึง การปลูกพชื ร่วมที่ไมเ่ ป็นแถวเป็ น
แนว โดยปลูกผสมกนั ไปตามความเหมาะสมของสภาพท่ีตอ้ งการตามธรรมชาติเช่นเดียวกบั สภาพป่ าไมใ้ น
ธรรมชาติ

การปลูกพชื ร่วมในเวลาเดียวกนั ใชเ้ คร่ืองหมาย + แสดงการร่วมของระบบ เช่น ขา้ วโพด + ถว่ั ลิสง
หมายถึง การปลูกขา้ วโพดร่วมกบั ถว่ั ลิสงในเวลาเดียวกนั เป็นตน้

2.2 ระบบการปลูกพชื แบบรับช่วง (Relay Cropping) หมายถึง ระบบการปลูกพืชท่ีขณะที่พชื แรกยงั
ไม่เก็บเก่ียว และหลงั จากพืชแรกออกดอก โดยปลูกในพ้นื ที่เดียวกนั ซ่ึงอาจปลูกระหวา่ งแถว (Inter – row)
หรือปลูกผสม (Mixed) ก็ได้

การปลูกแบบรับช่วงร่วมกนั ใชเ้ ครื่องหมาย – แสดงการร่วมในระบบ เช่น ขา้ ว – ถวั่ เหลือง หมายถึง
การปลูกขา้ วแลว้ รับช่วงโดยการปลูกถว่ั เหลืองก่อนการเก็บเกี่ยวขา้ ว เป็นตน้

2.3 การปลูกพชื แบบหมุนเวยี น (Crop Rotation) หมายถึง การปลูกพชื สองชนิดหรือมากกวา่ ลงบน
พ้ืนที่เดียวกนั แตว่ า่ ปลูกไมพ่ ร้อมกนั โดยมีการจดั ลาดบั พืชที่ปลูกอยา่ งมีระเบียบ (Regular Sequece)

ชนิดของพชื และหลกั ปฏิบตั ิในการปลูกพืชหมุนเวยี น
1) เลือกพชื ใหเ้ หมาะสมกบั ดิน ภูมิประเทศ และภูมิอากาศ พืชท่ีเลือกควรสามารถปรับตวั
เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มได้ เช่น ไม่เป็นพืชที่ตอ้ งมีการพรวนดินบอ่ ยคร้ัง
2) ในระบบการปลูกพชื หมุนเวยี นตอ้ งมีพชื ตระกลู ถว่ั หรือพชื ตระกลู หญา้ ซ่ึงมีการ
เจริญเติบโตอยา่ งหนาแน่น เพอ่ื เป็นการรักษาหรือเพ่ิมปริมาณไนโตรเจน และอินทรียวตั ถุในดิน
เพราะพชื บางชนิดท่ีปลูกในระบบพชื หมุนเวยี นจะนาไนโตรเจนจากดินไปใชเ้ ป็นจานวนมากในแต่
ละปี เช่นขา้ วโพด มนั ฝร่ัง ยาสูบ ฝ้าย เป็นตน้ ตาปกติในระบบการปลูกพืชหมุนเวยี นจะมีการปลูก
พชื ตระกลู ถวั่ ผสมกบั หญา้ ต้งั แต่ 1 ใน 4 ถึง 1 ใน 3 ของพ้ืนท่ีปลูกพืชหมุนเวยี น หรือมากกวา่
3) การเลือกลาดบั พชื การจดั ลาดบั พชื ที่ปลูกก่อนหลงั จะมีอิทธิพลต่อผลผลิตพืชที่ปลูก
ตามมา เช่น ขา้ วโพดที่ปลูกตามหลงั พืชตระกูลถว่ั ท่ีมีรากหยงั ลึก ทาใหข้ า้ วโพดไดผ้ ลผลิตสูงกวา่
เพราะรากสามารถชอนไชไปในดินไดม้ ากกวา่ และไดร้ ับไนโตรเจนจากเศษเหลือของพชื ตระกูลถว่ั
การจดั ลาดบั พชื ในระบบหมุนเวยี นมีความสาคญั ในเขตพ้ืนท่ีที่คอ่ นขา้ งแหง้ แลง้ เพราะจะทาใหม้ ี
ความช้ืนในดินเหลืออยแู่ ตกต่างกนั แลว้ แตช่ นิดของพืชท่ีมีระบบรากแตกต่างกนั เช่น ขา้ วโพดจะมี
รากต้ืนเมื่อเปรียบเทียบกบั ขา้ งฟ่ าง พืชท่ีปลูกหลงั ขา้ วโพดจึงมีปริมาณความชื่นที่เป็ นประโยชน์

11

เหลือท่ีจะใชม้ ากกวา่ พืชที่ปลูกตามขา้ วฟ่ าง ทาใหผ้ ลผลิตของพืชท่ีปลูกตามขา้ วโพดสูงกวา่ พชื ที่
ปลูกตามขา้ วฟ่ าง เป็นตน้
2.4 ระบบการปลูกพืชแบบทวกิ สิกรรมหรือแบบรวม (Double of Sequential Cropping) หมายถึง
ระบบการปลูกพชื แรกจนเก็บเกี่ยวแลว้ จึงปลูกพชื ที่สองตามทนั ทีหรือเวน้ ช่วงไมน่ านนกั โดยเฉพาะในสภาพ
ของพ้นื ที่ท่ียงั มีความช้ืนและน้าในดินเหลือจากการปลูกพืชแรกเพยี งพอตอ่ การเจริญเติบโตและใหผ้ ลผลิต
ของพชื ที่สอง
2.5 ระบบการปลูกพืชแบบต่างระดบั (Multi - Storeyed Cropping) หมายถึง การปลูกพืชท่ีมีความสูง
และความตอ้ งการแสงสวา่ งแตกตา่ งกนั ในพ้นื ที่เดียวกนั เช่น พืชตระกูลถวั่ โกโก้ กาแฟ พริกไทย กานพลู
และมะพร้าว ในพ้นื ที่และในเวลาเดียวกนั ซ่ึงแต่ละชนิดมีความสูงและความตอ้ งการแสงแดดแตกตา่ งกนั
และสามารถอยรู่ ่วมกนั ได้
2.6 ระบบการปลูกพืชแบบราทูน (Ratoon Cropping) หมายถึง การใชพ้ ืชท่ีสามารถจะยดึ ระยะเวลา
ใหผ้ ลผลิตไดม้ ากกวา่ หน่ึงฤดูกาลโดยไมต่ อ้ งมีการปลูกใหม่ โดยวธิ ีการตดั ใหเ้ หลือตอซ่ึงจะแตกก่ิงกา้ นและ
ใหผ้ ลไดใ้ หม่ เช่น ฝ้าย ออ้ ย ขา้ งฟ่ าง สับปะรด ละหุ่ง เป็นตน้
3. ประเภทของระบบการทาฟาร์ม
การทากิจกรรมการเกษตรของเกษตรกรมีความแตกต่างกนั ในแต่ละครัวเรือน มีการจดั สรร
ทรัพยากรท่ีมีอยอู่ ยา่ งมีระบบ ซ่ึงเกิดจากการเรียนรู้และประสบการณ์ การจดั ระบบการทาฟาร์มโดยการปลูก
พชื หลายชนิดในพ้นื ที่เดียวกนั ยอ่ มแก่งแยง่ ปัจจยั สาคญั ในการเจริญเติบโตร่วมกนั การใชว้ ธิ ีการใดก็ตามที่
เป็นการลดการแข่งขนั การเจริญเติบโตของพืชดงั กล่าวใหน้ อ้ ยท่ีสุด และการใหป้ ระโยชน์ซ่ึงกนั และกนั
ตลอดจนการใหป้ ระโยชน์แก่เกษตรกรมากที่สุด นบั วา่ เป็ นการจดั ระบบการทาฟาร์มที่ดี ถา้ พิจารณาระบบ
การทาฟาร์ม (Farming System) ตามลกั ษณะของพืชท่ีปลูก สามารถแบ่งระบบการทาฟาร์มได้ 4 ประเภท คือ
3.1 ระบบการการทาฟาร์มท่ีมีขา้ วเป็นพืชหลกั (Rice Base Farming System) เป็นระบบการทาฟาร์ม
ในสภาพที่ราบลุ่มที่มีการปลูกขา้ วเป็นพืชหลกั ในฤดูฝน ตามดว้ ยพชื อ่ืน ๆ (พชื ไร่ พืชผกั ก่อนหรือหลงั การ
ปลูกขา้ ว
ตวั อย่าง การปลูกพชื ท่ีมีขา้ วเป็นหลกั
ขา้ วนาปี - ขา้ วนาปลงั
ขา้ วนาปี - พชื ผกั
ถว่ั เขียว - ขา้ วนาปี - ขา้ วโพดฝักอ่อน
งา - ขา้ วนาปี - ถว่ั เหลือง
ขา้ วนาปี - ถวั่ ลิสง - ขา้ วโพดหวาน
3.2 ระบบการการทาฟาร์มที่มีพืชไร่เป็นพชื หลกั (Field Crop Base Farming System) เป็นระบบการ
ทาฟาร์มในท่ีดอน ซ่ึงเกษตรกรปลูกพชื ไร่เป็นพืชหลกั แลว้ ตามดว้ ยพชื อ่ืน ๆ

12

ตวั อย่าง การปลูกพืชท่ีมีพชื ไร่เป็นหลกั
ขา้ วโพด - ถว่ั ลิสง
ขา้ วโพด - ขา้ วฟ่ าง
ขา้ วโพดฝักออ่ น - ถวั่ เหลือง - ขา้ วโพด
งา - ขา้ วโพด - ขา้ วฟ่ าง
3.3 ระบบการการทาฟาร์มท่ีมีพชื สวนเป็นพชื หลกั (Perennial Crop Base Farming System) เป็น
ระบบการทาฟาร์มท้งั ในสภาพที่ และท่ีลุ่ม โดยมีพชื สวนปลูกเป็นพชื หลกั ซ่ึงในสภาพที่ลุ่มจาเป็นตอ้ งปลูก
แบบยกร่อง ส่วนในสภาพท่ีดอนไมจ่ าเป็นตอ้ งปลูกแบบยกร่อง ในการจดั ระบบการทาฟาร์มที่มีพืชสวนเป็น
หลกั น้นั นิยมปลูกไมผ้ ลเป็นพชื หลกั และปลูกไมผ้ ล พืชไร่ เป็นพชื แซม ซ่ึงพชื แซมเหล่าน้ีส่วนใหญจ่ ะเป็ น
พืชที่สามารถทาเงินใหเ้ กษตรกรภายในระยะเวลาอนั ส้นั
ไมผ้ ลท่ีแนะนาใหป้ ลูกเป็นพืชหลกั ไดแ้ ก่ ส้มโอ กระทอ้ น ขนุน มะขามหวาน มะม่วง มะปราง
หวาน มะยงชิด ลองกอง มงั คุด
ไมผ้ ลท่ีแนะนาใหป้ ลูกเป็นพืชแซม ไดแ้ ก่ ไมผ้ ลท่ีกล่าวในขา้ งตน้ แต่ปลูกในระยะชิดเพอ่ื การ
ขยายพนั ธุ์ และพทุ รา นอ้ ยหน่า ฝรั่ง กลว้ ย มะละกอ
พืชผกั ท่ีแนะนาใหป้ ลูกเป็นพืชแซม ไดแ้ ก่ มะเขือ ฟัก แตงกวา มะระ ถว่ั ฝักยาว ขา้ วโพดฝักออ่ น
แตงไทย พริก ตะไคร้ โหระพา สะระแหน่
พืชไร่ท่ีแนะนาใหป้ ลูกเป็นพืชแซม ไดแ้ ก่ ถว่ั เหลืองรับประทานฝักสด ถว่ั ลิสง
3.4 ระบบการการทาฟาร์มแบบไร่นาสวนผสมและการเกษตรแบบผสมผสาน (Mixed Farming and
Integrated Farming System) เป็นระบบการเกษตรท่ีมีการปลูกพชื หรือเล้ียงสตั ว์ ประมง และกิจกรรมอื่น ๆ
หลายชนิดในฟาร์ม เพ่ือตอบสนองต่อการบริโภค เพ่ือลดความเส่ียงจากราคาผลผลิตท่ีไมแ่ น่นอน อาจมีการ
จดั การใหก้ ิจกรรมการผลิตผสมผสานเก้ือกูลกนั เพื่อลดตน้ ทุนการผลิต และคานึงถึงสภาพแวดลอ้ ม เช่นการ
ปลูกไมย้ นื ตน้ ในนา การเล้ียงหมูควบคู่กบั การเล้ียงปลาในนาขา้ ว เป็นตน้
4. รูปแบบระบบการเกษตรแบบยงั่ ยืนทเ่ี หมาะสม
เกษตรกรรมยง่ั ยืน (Sustainable agriculture) หมายถึง การทาการเกษตรที่ตอบสนองต่อความ
ตอ้ งการของผบู้ ริโภค และเป็ นมิตรกบั สภาพแวดลอ้ มและความสมดุลของสภาพธรรมชาติ
หมายถึง ระบบการผลิตทางการเกษตรหรือระบบฟาร์มในรูปแบบตา่ ง ๆ ที่เหมาะสมกบั ภูมินิเวศ
ของแต่ละพ้ืนที่ จดั เป็นระบบการผลิตที่เหมาะสม (Appropriate production system) กบั สภาพทรัพยากรและ
ส่ิงแวดลอ้ มในไร่นาท่ีแตกตา่ งกนั ออกไป ซ่ึงรูปแบบของระบบการผลิตทางการเกษตรแบบยง่ั ยนื น้นั จาแนก
ออกเป็ นลกั ษณะต่าง ๆ ตามองคป์ ระกอบท่ีสาคญั และมีหลากหลายรูปแบบหรือชื่อเรียกที่ไมเ่ หมือนกนั ก็ได้
ตามแตล่ กั ษณะการผลิตวา่ จะเนน้ หนกั ดา้ นใดหรือมีจุดเด่นท่ีต่างกนั ออกไปอยา่ งไร
รูปแบบหลกั ๆ ท่ีชดั เจนและเป็นที่เขา้ ใจกนั ทว่ั ไป ไดแ้ ก่

13

4.1 เกษตรผสมผสาน (Integrated Farm) เนน้ กิจกรรมการผลิตมากกวา่ สองกิจกรรมข้ึนไปในเวลา
เดียวกนั และกิจกรรมเหล่าน้ีเก้ือกูลซ่ึงกนั และกนั เป็นการสร้างมูลค่าเพม่ิ ใหม้ ากข้ึนจากการใชป้ ระโยชน์
ทรัพยากรที่ดินที่มีจากดั ในไร่นาใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด

จุดเด่น คือ เป็นการจดั การความเส่ียง (Risk management) และการประหยดั ทางขอบข่าย
(Economy of scope)

4.2 เกษตรอินทรีย์ (Organic Farm) เนน้ หนกั การผลิตที่ไม่ใชส้ ารอนินทรียเ์ คมีหรือเคมีสังเคราะห์
แตส่ ามารถใชอ้ ินทรียเ์ คมีได้ เช่น สารสกดั จากสะเดา ตะไคร้หอม หรือสารสกดั ชีวภาพเพื่อเพมิ่ ความอุดม
สมบูรณ์แก่ทรัพยากรดิน

จุดเด่น คือ เป็นการสร้างความปลอดภยั ดา้ นอาหาร (Food safety) ใหแ้ ก่ผบู้ ริโภค
4.3 เกษตรธรรมชาติ (Natural Farming) เนน้ หนกั การทาการเกษตรที่ไม่รบกวนธรรมชาติ หรือ
รบกวนใหน้ อ้ ยที่สุดเท่าที่จะทาได้ โดยการไม่ไถพรวน ไมใ่ ชส้ ารเคมี ไมใ่ ชป้ ๋ ุยเคมี และไมก่ าจดั วชั พชื แต่
สามารถมีการคลุมดินและใชป้ ๋ ุยพืชสดได้

จุดเด่น คือ เป็นการฟ้ื นฟูความสมดุลของระบบนิเวศ (Rehabilitation of ecological balance)
และลดการพ่งึ พาปัจจยั ภายนอก

4.4 เกษตรทฤษฎีใหม่ (New theory Agricultural) เนน้ หนกั การจดั ทรัพยากรน้าในไร่นาใหเ้ พยี งพอ
เพื่อผลิตพชื อาหาร โดยเฉพาะขา้ วเอาไวบ้ ริโภคในครัวเรือน รวมท้งั มีการผลิตอื่น ๆ เพื่อบริโภคและจาหน่าย
ส่วนท่ีเหลือแก่ตลาดเพ่อื สร้างรายไดอ้ ยา่ งพอเพยี ง

จุดเด่น คือ เป็นการสร้างความมนั่ คงดา้ นอาหาร(Food security) ซ่ึงเป็นพ้นื ฐานของ
เศรษฐกิจพอเพียงระดบั ครอบครัว

4.5 วนเกษตร (Agroforesty) เนน้ หนกั การมีตน้ ไมใ้ หญ่และพืชเศรษฐกิจหลายระดบั ที่เหมาะสมกบั
แตล่ ะพ้ืนที่ เพ่ือการใชป้ ระโยชนป์ ่ าไมข้ องพชื หรือสัตวช์ นิดตา่ ง ๆ ท่ีเก้ือกูลกนั ท้งั ยงั เป็ นการเพิม่ พ้นื ที่ของ
ทรัพยากรป่ าไมท้ ี่มีจากดั ไดอ้ ีกทางหน่ึง

จุดเด่น คือ เป็นการคงอยรู่ ่วมกนั ของป่ าและการเกษตร ท้งั ยงั เพ่ิมความหลากหลายทาง
ชีวภาพ (Biodiversity)


Click to View FlipBook Version