The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by แสงเทียน เปรมประชา, 2019-06-06 02:27:23

Unit 3 Farm Structure

Unit 3 Farm Structure

15

หน่วยที่ 3

องค์ประกอบการจัดการฟาร์ม

1. องค์ประกอบการจัดการฟาร์ม

1.1 การใช้ทด่ี ินเพื่อการผลติ
ท่ีดิน เป็นปัจจยั ที่สาคญั อยา่ งหน่ึงไม่วา่ จะผลิตทางดา้ นการเกษตร หรืออุตสาหกรรม อยา่ งไรกต็ ามใน
ดา้ นการเกษตรน้นั ท่ีดินถือวา่ มีความสาคญั เป็นพิเศษ โดยปกติแลว้ ท่ีดินมีคุณลกั ษณะที่แตกตา่ งกนั ออกไปแตล่ ะ
พ้ืนท่ี เช่น ความอุดมสมบูรณ์ ความลาดชนั ท่ีราบ ที่ลุ่ม ท่ีดอน ดงั น้นั ดินเป็ นปัจจยั หน่ึงในการกาหนดกิจกรรม
ต่าง ๆ ภายในฟาร์ม
1) ที่ดินเป็นปัจจยั สาคญั ท่ีกาหนดวา่ ควรจะผลิตชนิดพชื และสัตวอ์ ะไร
2) ที่ดินสามารถจะกาหนดระยะเวลาการปลูก ระบบการปลูกพชื และรูปแบบการผลิตทางการเกษตร

เช่น ที่ดินที่ราบลุ่มและมีความช้ืนอยบู่ า้ ง สามารถกาหนดระยะเวลาการปลูกของพชื แต่ละชนิด การ
ปลูกพชื หมุนเวยี น การปลูกพชื แซม การปลูกพืชเหลื่อมฤดู และรูปแบบการผลิตแบบไร่นาสวน
ผสม และการเกษตรแบบผสมผสาน
3) ชนิดของดินก็มีส่วนในการกาหนดกิจกรรม เช่น ดินเหนียวปนดินร่วนอาจจะเหมาะสมต่อการทา
นา ดินร่วนปนทรายอาจจะเหมาะต่อการทาพชื ไร่บางชนิด ดินเหนียวหรือดินทรายก็ยงั สามารถ
ปลูกพชื และทาบอ่ ปลาได้ แต่ถา้ หากดินทว่ั ไปไมม่ ีความอุดมสมบูรณ์มากนกั อาจจะใชเ้ ล้ียงสัตว์
เป็ นตน้
4) สภาพพ้ืนที่แตล่ ะแห่ง เช่น ท่ีราบและท่ีลุ่ม อาจจะเหมาะสมต่อการทานา พืชผกั ไมด้ อกไมป้ ระดบั
ไมผ้ ลและไมย้ นื ตน้ บางชนิด หากสภาพพ้นื ท่ีลุ่มมาก อาจจะทาบ่อปลา นาบวั นาผกั กระเฉด เป็ นตน้
ส่วนสภาพพ้นื ท่ีดอน อาจจะปลูกพืชไร่ ไมผ้ ลไมย้ นื ตน้ บางชนิด ตลอดจนการเล้ียงสตั ว์
5) ลกั ษณะและคุณสมบตั ิอ่ืน ๆ เช่น ความเป็นกรดเป็ นด่าง ปริมาณอินทรียวตั ถุในดิน ดินเปร้ียว
ดินเคม็ ความลึกของหนา้ ดิน ดินช้นั ตา่ ง ๆ เป็นตน้ ส่ิงเหล่าน้ีมีผลตอ่ การกาหนดกิจกรรม วธิ ีการ
ผลิต ท้งั ปริมาณและคุณภาพ

อยา่ งไรกต็ ามที่ดินไมไ่ ดม้ องเฉพาะเน้ือดิน ชนิดของดิน ลกั ษณะดิน และสภาพตา่ ง ๆ
ทางเคมีหรือทางกายภาพท่ีกล่าวมาแลว้ เท่าน้นั ดินยงั หมายถึงสภาพพ้ืนดินที่มีน้าใตด้ ิน น้าบนดิน
ความช้ืนของดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ปริมาณอินทรียวตั ถุ พืชพรรณไมน้ านาชนิดที่ปรากฏ

16

ใหเ้ ห็นบนพ้ืนที่เหล่าน้นั ส่ิงมีชีวติ สัตวบ์ กเล็ก ๆ บนพ้ืนดิน ตลอดเก่ียวพนั ถึงดินฟ้า อากาศ น้าฝน
อุณหภูมิ ความช้ืนสมั พทั ธ์ ดงั น้นั ดินจึงเป็นปัจจยั สาคญั ปัจจยั หน่ึงท่ีจะกาหนดกิจกรรมการเกษตร
ได้ ท้งั น้ี ข้ึนอยกู่ บั ความสามารถของเจา้ ของฟาร์ม จะจดั การกบั ที่ดินใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดอยา่ งไร
แต่ถา้ มองในแง่เศรษฐศาสตร์ผลตอบแทนที่ดินคือคา่ เช่าท่ีดิน

1.2 การใช้ทนุ เพ่ือการผลติ

ทุน (Capital) ในความหมายทางเศรษฐศาสตร์น้นั หมายถึง เคร่ืองจกั ร เคร่ืองมือ และอุปกรณ์ที่ช่วยใน
การผลิต และรวมถึงปัจจยั การผลิตพวกป๋ ุย สารเคมี และอาหารสตั ว์ (Capital Goods) ส่วนทุนในรูปของเงินสด
(Money) กถ็ ือวา่ เป็นเงินทุนชนิดหน่ึงเช่นกนั ซ่ึงจะเปล่ียนรูปจากทุนที่เป็ นเงินสดมาอยูใ่ นรูปของทุนเพือ่ ทาการ
ผลิต ปัจจุบนั ทุนมีความสาคญั มาก นอกจากน้ีทุนยงั มีความสัมพนั ธ์กบั แรงงาน ถา้ การใชท้ ุนมากการใชแ้ รงงานก็
นอ้ ยลง ถา้ ใชท้ ุนนอ้ ยการใชแ้ รงงานกม็ ากข้ึน โดยลกั ษณะงานหรือสาขาที่เกี่ยวขอ้ งกบั วทิ ยาการสมยั ใหม่หรือ
การเกษตรแบบธุรกิจน้นั จาเป็นตอ้ งอาศยั ทุน ทุนน้นั ไดม้ าจากไหน จานวนเทา่ ไร จะแบ่งใชท้ ุนอยา่ งไรจึงจะมี
ประสิทธิภาพ สาหรับแหล่งเงินทุนน้นั อาจจะไดจ้ ากทรัพยส์ ินท่ีมีอยู่ ไดจ้ ากกิจกรรมท่ีใหผ้ ลตอบแทนหลงั จาก
ดาเนินงานเสร็จและการออมทรัพย์ ทุนอาจจะไดจ้ ากการกูเ้ งินหรือมีเครดิตกบั สถาบนั การเงิน หรือกบั เพอื่ นบา้ น
กล่าวไดว้ า่ การใชท้ ุนใหม้ ีประสิทธิภาพมีขอ้ พิจารณาสรุปได้ คือ

1.2.1 ในกรณีการลงทุนในระบบทางการเงินการธนาคาร แบ่งทุนเป็น 2 ลกั ษณะ คือ

1) ทุนดาเนินการเตรียมการหรือค่าลงทุน (Investment Cost) ซ่ึงทุนน้ีจะดาเนินการใชไ้ ดห้ ลายปี
และยาวนาน ถึงแมว้ า่ บางคร้ังอาจจะมีการซ่อมแซมหรือต่อเติม ความจาเป็ นและระยะเวลาท่ีใช้ เช่น ทุนในการ
ปรับสภาพพ้นื ท่ีจากพ้นื ราบเป็นแบบยกร่อง คนั ลอ้ ม ข้นั บนั ไดขดุ บอ่ โรงเรือนและอาคาร ระบบคลองและ
ระบบส่งน้า เครื่องมือ เครื่องจกั ร และอุปกรณ์การเกษตรที่คงทนถาวร ตลอดจนคา่ ซ้ือที่ดิน เป็นตน้

2) ทุนดาเนินการในการผลิต (Operation Cost) หรือเงินทุนหมุนเวยี น (Working Capital) ส่วน
ใหญเ่ ป็นทุนทางดา้ นการผลิตผนั แปร เช่น พนั ธุ์พืช พนั ธุ์สัตว์ ป๋ ุยและสารเคมี อาหารสตั ว์ น้ามนั เช้ือเพลิง
อุปกรณ์การเกษตรชวั่ คราวท่ีใชใ้ นฤดูการผลิตเทา่ น้นั เช่นเชือก ถุงพลาสติก เป็นตน้ ตลอดจนคา่ จา้ งแรงงาน

1.2.2 ขนาดของทุนท่ีใชใ้ นแต่ละกิจกรรมหรือท้งั ฟาร์ม ขนาดของทุนมากข้ึนกส็ ามารถมีโอกาสขยาย
กิจกรรมไดม้ าก มีทุนนอ้ ยกข็ ยายกิจกรรมไดน้ อ้ ย

1) ขนาดของทุนจะสัมพนั ธ์กบั ชนิดของกิจกรรม โดยเฉพาะทุนขนาดใหญ่หรือทุนมากมกั จะ
เป็นดา้ นการปศุสัตว์ การประมง และไมผ้ ลไมย้ นื ตน้ เป็นแหล่งใหญ่ นอกจากน้ีอาจจะเป็นฟาร์มลกั ษณะประณีต

17

(Intensive Farming) เช่น ไมด้ อกไมป้ ระดบั พืชผกั เมืองหนาว หรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่ตอ้ งการใชเ้ ทคโนโลยี
คอ่ นขา้ งสูง

2) ขนาดของทุนจะสัมพนั ธ์กบั ระยะเวลาการลงทุนหรือระบบสินเช่ือจากแหล่งต่าง ๆ พบวา่
ขนาดของทุนมากท่ีจะลงทุนส่วนใหญ่จะเป็ นกิจกรรมระยะยาว เช่นไมผ้ ล ไมย้ นื ตน้ และปศุสัตวท์ ่ีเล้ียงมี
โรงเรือนและอาคาร หากจะเปรียบเทียบกบั ระบบสินเชื่อแลว้ มกั จะเป็นการลงทุนท่ีตอ้ งคืนเงินทุนสินเช่ือเกิน
3 ปี หากทุนนอ้ ยหรือขนาดทุนเล็กจะเป็นระยะเวลาส้ันในกิจกรรมระยะส้นั ภายใน 1 ปี เช่น การทานา ทาไร่
พืชผกั และสัตวบ์ างชนิด เป็ นตน้

1.2.3 การใชท้ ุนกบั ระยะเวลาการลงทุนและผลตอบแทนกลบั คืนจากการลงทุน เวลาเป็ นตวั สาคญั มาก
ในการตดั สินใจในการเลือกดาเนินกิจกรรม หากมีทุนนอ้ ยแลว้ เลือกกิจกรรมที่ใหญ่หรือมีระยะเวลาการลงทุน
นานก็จะทาใหส้ ูญเสียโอกาสของการลงทุน ในบางคร้ังหากมีการกยู้ มื จากเพ่ือนบา้ นหรือสถาบนั การเงินกจ็ ะทา
ใหด้ อกเบ้ียสูงการชาระหน้ีลาบาก ซ่ึงมีตวั อยา่ งมากมายในดา้ นการเกษตร อุตสาหกรรมและธุรกิจ ดงั น้นั หาก
เป็นฟาร์มขนาดเล็กควรเลือกกิจกรรมท่ีมีการลงทุนนอ้ ย และในระยะส้นั ในการใหผ้ ลตอบแทน นอกจากน้ีแลว้
จานวนท่ีผลตอบแทนไดร้ ับก็มีความหมายในการเลือกกิจกรรมเช่นกนั หากผลตอบแทนคุม้ กบั การลงทุนไมว่ า่
ระยะยาวหรือระยะส้ัน หลงั จากไตร่ตรองคิดคานวณแลว้ กส็ ามารถจะทาการผลิตได้ จากท่ีกล่าวมาแลว้ น้ี
ระยะเวลาจานวนผลตอบแทนท่ีไดร้ ับจากการลงทุนก็มีบทบาทสาคญั

เม่ือจะวดั ประสิทธิภาพหรือผลตอบแทนการใชท้ ุน หากทุนอยใู่ นรูปเงินสด (Money) ผลตอบแทนคือ
ดอกเบ้ีย หากทุนอยใู่ นรูปของเครื่องจกั ร เคร่ืองมือ อุปกรณ์การเกษตร ปัจจยั การผลิต ผลตอบแทนคือค่าเช่า
เครื่องจกั ร ค่าป๋ ุย ค่าเมล็ดพนั ธุ์

1.3 การใช้แรงงานเพ่ือการผลติ
แรงงาน (Labor) เป็นปัจจยั สาคญั อีกอยา่ งหน่ึง ในที่น้ีหมายถึงลกั ษณะท้งั กายภาพและจิตใจ สุขภาพใน
ดา้ นกายภาพน้นั เก่ียวกบั เรื่องสุขภาพและอนามยั ความแขง็ แรงสมบูรณ์ในการทางาน ส่วนดา้ นจิตใจน้นั น้นั
รวมถึงทศั นคติ อุดมการณ์ ความขยนั หมน่ั เพียร ความรู้สึกรับผดิ ชอบในการผลิต ลกั ษณะของแรงงาน
แยกเป็น 3 ประเภท คือ
1. แรงงานคน
2. แรงงานสัตว์
3. แรงงานเคร่ืองจกั รกลการเกษตร

18

การใชแ้ รงงานแต่ละประเภทข้ึนอยกู่ บั จุดมุง่ หมาย ข้นั ตอนการทางาน คา่ ใชจ้ า่ ยและรวมถึงเวลา อยา่ งไร
กต็ าม แรงงานแตล่ ะประเภทก็อาจจะสามารถใชร้ วมกนั ได้ ข้ึนอยกู่ บั กิจกรรมท่ีกล่าวมาแลว้ สาหรับแรงงานใน
ลกั ษณะฟาร์มขนาดเล็กมีความสาคญั มาก ตอ้ งรู้จกั ใชแ้ รงงานใหม้ ีประสิทธิภาพ ลกั ษณะของแรงงานคน จาแนก
ตามภาวะปัจจุบนั น้ีได้ คือ แรงงานในครอบครัว แรงงานจา้ ง และการแลกเปลี่ยนแรงงาน (การลงแขก การเอา
แรง) ในแง่ของเกษตรกรพยายามส่งเสริมใหเ้ กษตรกรใชแ้ รงงานครอบครัวใหม้ ากท่ีสุด ไมค่ วรปล่อยใหแ้ รงงาน
วา่ งโดยเปล่าประโยชน์ การใชแ้ รงงานใหม้ ีประสิทธิภาพ ดงั น้ี

1.3.1 การใชแ้ รงงานท่ีเหมาะสมกบั ชนิดของงาน เช่น กิจกรรมดา้ นพชื และสัตว์
1.3.2 การใชแ้ รงงานหรือจดั ระบบการกระจายของแรงงานใหเ้ หมาะสม เช่น กิจกรรมท่ีมีหลายอยา่ ง

ในเวลาเดียวกนั หรือเวลาท่ีใกลเ้ คียงกนั หรือเวลาที่ต่อเนื่องกนั ไดแ้ ก่ การปลูกพืชและการเล้ียง
สตั ว์ การปลูกพืชหมุนเวยี น การปลูกพชื แซม เป็นตน้
1.3.3 การใชแ้ รงงานใหเ้ หมาะสมกบั วทิ ยาการแผนใหม่และพ้ืนบา้ น เช่น วทิ ยาการการเตรียมดิน การ
ปลูก การใส่ป๋ ุย การกาจดั ศตั รูพชื และการเกบ็ เก่ียว ซ่ึงบางคร้ังวทิ ยาการสมยั ใหมอ่ าจจะมีความ
ยงุ่ ยากหรือมีข้นั ตอนมาก ทาใหเ้ กษตรกรแบง่ เวลาหรือแบ่งงานไมถ่ ูกตอ้ ง
1.3.4 การใชแ้ รงงานแบ่งตามเพศและอายุ กบั ข้นั ตอนของแรงงานหรือชนิดของงาน เช่น การเตรียม
ดิน ควรจะเป็นเพศชายที่แขง็ แรง การปลูกอาจจะเป็นท้งั เพศชายและหญิง เช่นเดียวกบั การเก็บ
เก่ียว งานหตั ถกรรมพ้นื บา้ น อาจจะเหมาะสมกบั เพศหญิงท้งั คนแก่และหนุ่มสาว แรงงานเดก็
อาจจะช่วยใหอ้ าหารปลา อาหารสัตว์
1.3.5 การใชแ้ รงงานผสมผสานหรือทดแทนแรงงาน คน สตั ว์ และเครื่องจกั รกลการเกษตรอยา่ งไรจึง
ก่อใหเ้ กิดประสิทธิภาพ ลดตน้ ทุนการผลิต และประหยดั เวลา
การจดั การเร่ืองแรงงานเป็นเรื่องท่ีจาเป็นอยา่ งยง่ิ โดยเฉพาะแรงงานในครอบครัวเกษตรกรควรจดั การ
ใหม้ ีการกระจายการใชแ้ รงงานไดต้ ลอดปี มีกิจกรรมการเกษตรอยา่ งตอ่ เนื่อง เพื่อใหม้ ีการใชแ้ รงงานอยา่ ง
สม่าเสมอทุกเดือน ก่อใหเ้ กิดรายไดเ้ พ่ิมข้ึนและลดการจา้ งแรงงานท่ีไม่จาเป็นเพอื่ ลดตน้ ทุนการผลิต สาหรับ
ผลตอบแทนของแรงงานก็คือ คา่ จา้ งแรงงานน้นั เอง

1.4 การจัดการในการผลติ

การจดั การ (Management) หมายถึง การจดั สรรหรือการดาเนินการทรัพยากรในการผลิต (ที่ดิน ทุน และ
แรงงาน) เพื่อทาการผลิตใหไ้ ดต้ ามวตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมายของผจู้ ดั การฟาร์ม ดงั น้นั การจดั การของผูจ้ ดั การ
ฟาร์มในแต่ละสภาพพ้นื ท่ีแต่ละฟาร์มไม่เหมือนกนั ในการตดั สินใจวา่ จะเลือกผลิตกิจกรรมอะไรและอยา่ งไร

19

ในสภาพขีดจากดั ทรัพยากร และภายใตค้ วามเส่ียงความไม่แน่นอนของการผลิตและการตลาด อยา่ งไรกต็ าม
เกณฑใ์ นการพจิ ารณาโดยทว่ั ไป สรุปได้ ดงั น้ี

1. จะผลิตอะไร
2. จะผลิตท่ีไหน
3. จะผลิตเม่ือไร
4. จะผลิตเทา่ ไร และอยา่ งไร
5. จะผลิตและขายกบั ใคร
บทบาทสาคญั ในการจดั การของผจู้ ดั การฟาร์มท่ีพิจารณาจากเกณฑท์ ่ีไดก้ ล่าวมาแลว้ เป็นหลกั ยงั ตอ้ ง
พิจารณารายละเอียด ดงั น้ี
1) จะทาการผลิตพืชหรือสตั วช์ นิดอะไร เช่น ปลูกขา้ ว ไมผ้ ล พชื ไร่ พืชผกั ทาปศุสัตว์ และประมง

เป็นตน้ และจะตอ้ งพิจารณาตอ่ ไปวา่ จะผลิตไมผ้ ลควรเป็ นไมผ้ ลชนิดอะไร เช่น มะม่วง ส้มโอ
มะขามหวาน ทุเรียน เงาะ ลาไย ลิ้นจี่ เป็นตน้
2) จานวนและชนิดของปัจจยั การผลิตที่ใชว้ า่ เหมาะสมกบั แรงงานในครอบครัวหรือไม่ หากไม่
เพยี งพอจะจา้ งจานวนเทา่ ไร แรงงานจา้ งไดม้ าจากไหน และระยะเวลาในการจา้ ง
3) วธิ ีการผลิตและเทคนิควชิ าการ ตลอดจนการจดั การและบริหารฟาร์มจะดาเนินการอยา่ งไร จะ
เร่ิมตน้ ณ จุดใดก่อน มีการตรวจสอบและปรับปรุงแกไ้ ขอยา่ งไร และประการสุดทา้ ยมี
ความสมั พนั ธ์กบั กิจกรรมต่าง ๆ ภายในฟาร์มไดห้ รือไม่
4) ชนิดของโรงเรือนและอาคารมีความจาเป็นหรือเหมาะสมเพยี งใด เพ่ือความสะดวกในการจดั การ
ตลอดจนเคร่ืองไมเ้ ครื่องมือ
5) การวางแผนและงบประมาณฟาร์ม การจดบนั ทึกและบญั ชีฟาร์ม จะดาเนินการอยา่ งไรเพ่อื จะให้
ทราบทิศทางการทางานและผลการดาเนินงานโดยเฉพาะรายได้ ค่าใชจ้ ่าย และกาไร ตลอดจน
ปัญหาและอุปสรรคในการทางาน ซ่ึงสามารถนามาเป็นขอ้ มูลในการปรับปรุงแกไ้ ขและวางแผนใน
ปี ตอ่ ไป
6) จะซ้ือปัจจยั การผลิตและขายผลผลิตท่ีไหน กบั ใคร และอยา่ งไร เช่น พอ่ คา้ ทอ้ งถิ่น พอ่ คา้ คนกลาง
กลุ่มเกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตร เป็นตน้

20

นอกจากน้ี ประสิทธิภาพและความเหมาะสมในดา้ นการจดั การยงั ข้ึนอยกู่ บั หลายองคป์ ระกอบ
เช่น ความรู้ความสามารถ ความชานาญ ความรอบรู้และประสบการณ์ การบริหารงานดา้ นแรงงาน ความเขา้ ใจ
สภาพการผลิตการตลาด ความคล่องตวั และการแสวงหาความรู้ใหม่ ความขยนั หมนั่ เพียร การดูแลเอาใจใส่
ตลอดจนความสานึกและรับผดิ ชอบในการทางาน เป็ นตน้

เมื่อเขา้ ใจพ้ืนฐานของปัจจยั สาคญั ๆ ต่อการผลิตในการจดั การวา่ มีความสาคญั อยา่ งไร จึงควรที่
จะริเร่ิมรวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์ และวางแผนงบประมาณฟาร์มเพ่ือใหไ้ ดผ้ ลตอบแทนสูงสุด

ทดี่ ิน (Land) ทนุ (Capital)

แรงงาน (Labor)

การจดั การ (Management)
การวางแผนและงบประมาณฟาร์ม
กาไรสูงสุด และมีรายได้ต่อเน่ือง

ภาพที่ 1 องค์ประกอบในการทาฟาร์ม

2. ส่ิงทผี่ ้จู ัดการฟาร์มควรจะรู้และปฏบิ ัติ

ผจู้ ดั การฟาร์มมีความจาเป็นอยา่ งยง่ิ ท่ีจะตอ้ งมีความรู้และรอบรู้อยา่ งถูกตอ้ ง และทนั ต่อเหตุการณ์ ส่ิง
สาคญั สิ่งหน่ึงซ่ึงผจู้ ดั การฟาร์มจะตอ้ งทาความเขา้ ใจ คือ สภาพแวดลอ้ มและระบบนิเวศนเ์ กษตรของฟาร์มให้
ถ่องแท้ เช่น ดิน น้า ลม และไฟ ในท่ีน้ีหมายถึงสภาพพ้นื ที่ ชนิดดินความอุดมสมบูรณ์ของดิน แสงแดด อุณหภูมิ
ความช้ืน และส่ิงมีชีวติ ท่ีเอ้ืออานวยต่อการประกอบการผลิต นอกจากน้ียงั ตอ้ งมีความรู้ดา้ นปัจจยั ภายนอก เช่น
วทิ ยาการผลิตสมยั ใหม่ ระบบการตลาด การซ้ือและการขายปัจจยั การผลิต ระบบเศรษฐกิจและสินเช่ือ กฎเกณฑ์
และกฎหมายของสังคม นโยบายของรัฐบาล และระบบเศรษฐกิจของภูมิภาค

21

2.1 ผจู้ ดั การฟาร์มควรจะมีความรู้ในดา้ นต่าง ๆ ดงั น้ี
1) ความรู้ทางการเกษตร (วชิ าการเกษตรและสภาพพ้ืนที่)
2) ความรู้ทางดา้ นการเงินและสินเชื่อ
3) ความรู้ทางดา้ นการวางแผนและงบประมาณฟาร์ม
4) ความรู้ทางดา้ นการจดบนั ทึกและบญั ชีฟาร์ม
5) ความรู้ทางดา้ นการตลาด
6) ความรู้ทางดา้ นการจดั การและบริหารฟาร์ม
7) ความรู้ทางดา้ นสังคม (ในภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร)
8) ความรู้ทางดา้ นกฎหมาย และอื่น ๆ ตามความจาเป็น

เห็นไดว้ า่ ผจู้ ดั การฟาร์มจะตอ้ งเป็นผรู้ อบรู้ และปฏิบตั ิหนา้ ท่ีหลาย ๆ ดา้ นในเวลาเดียวกนั ท้งั น้ี
เพราะผจู้ ดั การฟาร์ม มิใช่ทาหนา้ ที่การผลิตเทา่ น้นั แตย่ งั ทาหนา้ ท่ีและบทบาทหลายดา้ น

2.2 หนา้ ที่ของผจู้ ดั การฟาร์ม
1) วางเป้าหมายและวตั ถุประสงค์
2) ทาความเขา้ ใจและวเิ คราะห์ปัญหา
3) ดาเนินการแกป้ ัญหาทนั ทีเม่ือมีปัญหาเกิดข้ึน
4) คน้ หาศึกษาและใชข้ อ้ มูลขา่ วสารท่ีถูกตอ้ งในการแกป้ ัญหา
5) พจิ ารณาและวเิ คราะห์ทางเลือก
6) ตดั สินใจและดาเนินการทนั ที
7) ยอมรับผลกระทบจากการตดั สินใจ
8) ประเมินผลงานจากการตดั สินใจ
9) เพ่มิ พนู ความรู้แก่คนในครัวเรือนและผรู้ ่วมงาน
10) แลกเปล่ียนความคิดเห็นเพอื่ การตดั สินใจ
11) ควบคุมสถานการณ์การเงินในการดาเนินการผลิต
12) กาหนดระยะเวลาในการดาเนินการผลิต
13) ติดตามและตรวจสอบการดาเนินการผลิต


Click to View FlipBook Version