หนา้ 1
หน่วยท่ี1: ความร้เู ก่ยี วกับการขายและแนวคดิ ทางการตลาด
ความหมายของการขาย
การขาย ( Selling ) เป็นกิจกรรมทางการคา้ อยา่ งหนงึ่ ของผปู้ ระกอบการธุรกิจไม่ว่าจะเป็นธุรกจิ ขนาดใหญ่ ขนาด
กลางหรือขนาดยอ่ ม หรือธรุ กิจส่วนตัว รวมถึงสถาบันต่างๆ ซึ่งการขาย มีความสาคัญต่อการดารงชวี ติ ของบุคคลในสงั คมและ
ระบบเศรฐกิจของประเทศดังนน้ั จึงต้องมหี นว่ ยงานหรือบุคคลทีเ่ กี่ยวข้องเข้ามากากบั ดูแลโดยไดน้ ิยามความหมายของคาทีม่ ี
ลักษณะทางการขายไว้หลายทรรศนะ ดงั น้ี
พจนานกุ รมฉบยั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542
ขาย หมายถงึ เอาของแลกเงินตรา
ขาย หมายถึง โอนกรรมสิทธ์ิแห่งทรัพยส์ นิ นนั้ ให้แก่กัน โดยตกลงกนั ว่าผู้รบั โอนจะใช้ราคาแห่งทรัพยส์ ินนัน้
มหี ลายลักษณะ คือ
· ชาระเงนิ ในขณะที่ซอ้ื ขายกนั เรียกวา่ ขายเงินสด
· ขายโดยยอมเกบ็ เงนิ อันเป็นราคาของในวันหลังรัยกว่า ขายเชอื่
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 453
อันวา่ ซือ้ ขายนั้น คือสญั ญาซ่งึ บุคคลฝ่ายหนง่ึ เรยี กวา่ ผู้ขาย โอนกรรมสิทธิ์แหง่ ทรัพย์สนิ ใหแ้ กบ่ ุคคลอกี ฝา่ ยหนึ่ง เรยี กว่า
ผ้ซู อื้ และผ้ซู ื้อตกลงว่าจะใชร้ าคาทรัพย์สนิ น้นั ใหแ้ กผ่ ู้ขาย
สมาคมการตลาดแหง่ สหรฐั อเมริกา (The American Marketing Association - AMA)
การขาย หมายถึง กระบวนการวิเคราะห์ความจาเป็นและความต้องการของผู้มงุ่ หวงั และชว่ ยใหค้ ้นพบความจาเปน็
คน้ พบความต้องการทีจ่ ะได้รับการตอบสนองดว้ ยความพงึ พอใจจากการซอ้ื สินคา้ และบรกิ ารที่นกั ขายนาเสนอเปน็ กิจกรรมทาง
ธรุ กิจทที่ ุกคนได้พบเห็นในชีวิตประจาวันในฐานะผู้บรโิ ภค หรอื ผูซ้ อื้ เช่น การซื้ออาหารรับประทานในโรงเรียน ซื้อขนมและนา้
ดม่ื ตลอดจนใชบ้ ริการทางรถประจาทางจากบ้านมาโรงเรียน กิจกรรมดงั กล่าวลว้ นเปน็ สถานการณ์การซ้ือ การขายทงั้ นั้น
บทบาทของการขาย เปน็ การให้บรกิ ารชักจูงใจ การตดิ ต่อสอ่ื สาร การแกไ้ ขปัญหาหรอื ตอบสนองความต้องการใหเ้ กิดความพึง
พอใจและการให้การศึกษาแก่ผูบ้ รโิ ภค
ลกั ษณะของการขาย
งานขายมลี กั ษณะเก่ียวกบั ความสามารถในการชักจงู ใจและโนม้ นา้ ว หรอื ใชศ้ ิลปะการขายเปน็ สาคญั การขายเกดิ จาก
พฤติกรรมภานใน ได้แก่ ความรสู้ ึกนึกคิด ความนิยมความชอบ ความพงึ พอใจ ความเต็มใจของผูซ้ ือ้ ฯลฯ ดังน้นั นกั ขายจงึ มี
คณุ สมบตั ิและความรอบรหู้ ลายประการ เช่น ดา้ นพืน้ ฐานการปฎิบตั หิ น้าที่เกยี่ วข้องกับการขายโดยตรง ต้านจติ วทิ ยาในการ
ปรบั ตวั เขา้ หาลูกคา้ การเตรียมตวั ก่อนปฎบิ ัตงิ านขาย และการปฎบิ ตั ภิ ายหลงั สน้ิ สดุ การขาย ดงั นั้นผู้ประกอบการต้องให้
ความสาคญั ของการขายเปน็ หลัก นอกจากกิจการจะมีสินคา้ พร้อมเพอ่ื ขาย มลี กู คา้ มุ่งหวังเปน็ เปา้ หมายสาคัญในการขาย มี
บุคลากรปฎบิ ัตงิ านขายยงั ไม่เพยี งพอสาหรับการสร้างเสรมิ การขายให้มีปสิทธภิ าพต้องอาศัยศลิ ปะการขายท่นี ักขายเหล่านั้น
นามาใช้ในระหวา่ การปฎบิ ัติงานขายดว้ ย จงึ จะบรรลเุ ป้าหมายตามท่ีกาหนดไว้
การขายสินค้าและบรกิ าร
กจิ กรรมทางธุรกิจที่เกีย่ วข้องกบั การซอื้ ขายยอ่ มเก่ียวข้องกบั ผลิตภัณฑ์ซึง้ มีอยู่2ประเภท คือ ผลติ ภณั ฑท์ ี่เปน็ สินคา้ และ
ผลติ ภัณฑ์ท่ีเป็นบริการ ผลิตภัณฑ์2ประเภทนม้ี ีความแตกต่างกันอยา่ งชัดเจน คือ ผลิตภัณฑ์ท่ีเปน็ สินค้าสามารถมองเห็นได้ จบั
ตอ้ งหรอื สัมผัสได้ ส่วนผลิตภัณฑท์ ่ีเปน็ บริการไม่สามารถมองเห็นได้ จบั ต้องสัมผัสไมไ่ ด้ การเสนอสนิ ค้าและการบรกิ ารจึง
แตกต่างกนั
ความหมายของสนิ คา้ และบริการ
สนิ ค้า หมายถงึ ผลติ ภณั ฑ์ท่มี ีตวั ตน สามารถมองเหน็ ได้ จับตอ้ งหรือสมั ผสั ได้ เชน่ เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ สบู่ ตู้เยน็ เส้อื ผา้
กระเป๋า บ้าน รถยนต์ ฯลฯ
บริการ หมายถงึ ผลติ ภณั ฑท์ ไ่ี มม่ ีตวั ตน ไม่สามารถมองเห็นไดจ้ ับต้องหรือสมั ผัสไมไ่ ด้ หรอื หมายถงึ กจิ กรรมที่จัดทาขนึ้
เพื่อตอบสนองความต้องการของบคุ คลอื่นเก่ยี วกับความอานวยความสะดวก ไม่สามารถมองเหน็ ได้ แต่สามารถสรา้ งความพอใจ
ให้กบั ผู้รบั บรกิ ารได้
หนา้ 2
สรุป การขายกค็ ือ กระบวนการเสนอสินคา้ และบรกิ าร เพื่อให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผ้ชู อ้ื และผ้ซู ื้อตดั สนิ ใจ
ซ้อื ดว้ ยความพึงพอใจ โดยมีพนักงานขาย คอื ผู้ท่ีใหค้ าแนะนา ให้คาปรึกษาเก่ียวกับสินค้าหรือบริการ เพื่อใหผ้ ู้ซ้ือเหน็ คุณค่า หรือ
ประโยชน์ ทีจ่ ะไดร้ บั จากการซอ้ื สินค้าหรือบริการแล้วตดั สินใจ ด้วยความพอใจ
ความสาคัญของการขาย
วชิ าการขายเปน็ ทั้งศาสตร์ และศลิ ป์ ดงั น้ัน ศลิ ปะการขาย จงึ หมายถงึ การมีศิลปะในการเกลย้ี กล่อม จงู ใจใหค้ น
อืน่ เหน็ ดว้ ยกับความคดิ ของเรา โดยเขาได้รับความพึงพอใจหรือประโยชนจ์ ากการกระทานัน้ และเราได้กาไรเปน็ การตอบแทน
การขายน้ันเปน็ อาชีพทมี่ คี วามสาคัญหลายปะการ คือ
1.มคี วามสาคญั ต่อการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวันของมนุษย์
มนุษย์ทุกคนล้วนมบี ทบาทเป็นทง้ั ผุ้ซ้อื และผขู้ ายในขณะเดียวกนั กล่าวคอื เมื่อมยุษย์ทางานเปน็ พนักงานเทา่ กบั เปน็ การขาย
ความคดิ ขายแรงงานแก่เจา้ ของกิจการ ขณะเดียวกนั เมอื่ กลบั มาบา้ น จะต้องซ้ือสนิ คา้ หรือบรกิ ารจากกิจการอืน้ ๆ ทผี่ ลติ ออกมา
เพ่อื นาอปุ โภคบรโิ ภค เช่นอาหาร เส้อื ผา้ ใชบ้ ริการร้านเสรมิ สวย บรอการจากธนาคาร เปน็ ต้น
2.มคี วามสาคัญตอ่ กิจกรรมทางด้านธุรกิจการคา้
การขายเป็นกิจกรรมสาคัญของกิจการ ระบบการผลิตขยายตวั สนิ ค้าและบรกิ ารหลายหลายมากขนึ้ เพราะมกี จิ การขายเพ่ือ
สนองความต้องการของผู้บรโิ ภค เมอ่ื มีการผลิตสนิ ค้าและการขายสินค้านน้ั ออกไปแล้วจะสง่ ผลให้กิจการน้ันขยายตัว และยงั
สง่ ผลถงึ การขยายตวั ด้านการค้ามง้ั ในและตา่ งประเทศ สง่ ผลดา้ นการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าดา้ นการสอ่ื สาร การผลติ และ
การอุตสาหกรรม
3.มคี วามสาคัญต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ
โลกการคา้ แบบเสรี คือแนวคิดทางเศรษฐศาสตรท์ ่หี มายถงึ การซื้อขายสินคา้ และบรกิ ารระหว่างประเทศโดยไม่มีการเก็บภาษี
ศลุ กากร และการกีดกนั ทางการคา้ อ่นื ๆ รวมไปถึงการเคล่ือนยา้ ยแรงงานและทนุ ข้ามเขตแดนระหว่างประเทศโดยอิสระ การค้า
เสรคี อื สภาวะท่ีไม่มีการกีดกนั ใดๆ โดยรฐั บาลกับการคา้ ระหว่างปัจเจกบุคคลหรือบริษทั ที่อยคู่ นละประเทศ โดยทั่วไปแลว้
การค้าระหวา่ งประเทศมักถูกจากัดด้วยภาษี,
ค่าธรรมเนียมในการนาเขา้ และสง่ ออกสินคา้ , และกฎเกณฑท์ ่ไี มเ่ กยี่ วกับภาษีอากรในการนาเข้า ในทางทฤษฎีแลว้ การค้าเสรีนั้น
ตอ้ งการยกเลิกข้อจากดั เหลา่ นีท้ ัง้ หมด ความสาคญั ต่อเศรษฐกจิ และสังคม คือ ทาใหป้ ระเทศมีเศรษฐกจิ ท่ีเจรญิ เตบิ โตมากขน้ึ
เน่อื งจากตลาดทาใหเ้ กดิ ธรุ กจิ เกิดการผลิต การลงทุน เกดิ การจ้างงานซง่ึ สง่ ผลต่อรายได้ เกิดการกระจายรายได้และ
ทาใหม้ ีรายได้เพิ่มขึน้ แก่บุคคล โดยไมม่ ีปญั หาเรื่องการจา้ งงาน ทาให้บุคคลมีทรัพยส์ ินมากข้ึน สง่ ผลไปยังการเพ่ิมอานาจในการ
ซือ้ ของ ยังชว่ ยยกมาตราฐานระดบั คา่ ครองชีพของสังคมให้สูงขน้ึ ทาใหป้ ระชาชนมีความเปน็ อยทู่ ี่ดขี ้นึ สง่ ผลย้อนกลับมาทาให้
เศรษฐกิจและสงั คมดขี นึ้
4.มีความสาคญั ต่อการพฒั นาคุณภาพชีวติ และสงั คมของประเทศ
การตลาดเปน็ เรื่องของการแลกเปลยี่ นดว้ ยการสรา้ งสมดุลระหว่างแรงดงึ และแรงดนั กล่าวคอื ความต้องการซื้อและความ
ต้องการขาย นอกจากนี้การตลาดสร้างความปรารถนาดว้ ยการสรา้ งอารมณ์ ความหวัง ความกลัว และความฝนั อย่างใดอย่าง
หนึง่ หรอื หลายอยา่ งอันสง่ ผลให้เกดิ การบรโิ ภคอนั เปน็ การสร้างอุปสงคน์ น่ั เอง กลา่ วคือการตลาดเอื้ออานวยเศรษฐกิจ หรอื
การตลาดมสี ว่ นช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างรายไดใ้ ห้กบั ประเทศ เพราะการตลาดก่อใหเ้ กดิ การซื้อ-ขายสนิ คา้ ทั้ง
ภายในประเทศ และต่างประเทศ ทาให้มีการลงทุนและมีการจ้างงานเพ่ิมขนึ้ ซึง่ ทาให้ประชาชนมงี านทา และสง่ ผลทาให้เพิม่
อานาจซื้อใหก้ บั ประชาชน จากการมีงานทา ชว่ ยในการยกระดบั การครองชีพของประชาชน ซ่ึงมผี ลตอ่ การอยดู่ ีกินดี มคี ุณภาพ
ชวี ติ ที่ดขี ้ึน ทาใหเ้ กิดการหมุนเวยี นของปัจจยั การผลติ มีการนาทรพั ยากรธรรมชาติทมี่ ีอยูม่ าแปรรปู ซึ่งสามารถสรา้ งคุณค่าให้กบั
สนิ ค้าทาใหส้ ินค้ามีมลู ค่าเพิ่มข้นึ มีการคดิ คน้ ผลิตภัณฑใ์ หม่ๆ และปรบั ปรุงให้ได้มาตรฐานเพื่อสนองความต้องการของตลาดโลก
หลกั พนื้ ฐานของการขาย
1.การขายคือการชกั จูงใจลูกค้า
หนา้ 3
พนักงานขายต้องใหล้ กู คา้ ตดั สินใจซอื้ สนิ คา้ ด้วยความพึงพอใจในภาพพจนข์ องสินคา้
2.การขายคือการให้ความช่วยเหลือลกู คา้
พนกั งานขายต้องรวู้ ่า ลูกคา้ ตอ้ งการอะไร และเสนอขายในสิ่งที่ลูกคา้ ต้องการ
3.การขายคือการติดต่อสอ่ื สาร
พนักงานขายต้องถา่ ยทอดคุณภาพ คุณลักษณะ ของสินค้าและผลประโยชนท์ ่ีลกู คา้ จะไดร้ บั ได้เป็นอยา่ งดี
4.การขายคือการใหค้ วามรแู้ ก่ลกู ค้า
พนกั งานขายต้องรูจ้ ักสนิ ค้าเป็นอย่างดี และสามารถอธบิ าย ใหค้ วามกระจา่ งแก่ลกู ค้าได้ อย่างชดั เจน และเข้าใจ
5.การขายคือการแก้ปัญหาให้กบั ลกู คา้
พนักงานขายต้องชว่ ยให้ลูกคา้ ไดส้ ินค้าตรงความต้องการ
หน้าทข่ี องการขาย
1 การขายทาให้มสี นิ ค้าและบริการออกสตู่ ลาด
2 การขายทาใหก้ จิ การมีกาไร
3 การขายทาใหเ้ กิดการขยายการลงทนุ ทางธุรกิจ
4 การขายทาใหเ้ กิดระบบการบริการด้านการขาย
5 การขายทาใหเ้ กิดธรุ กิจการคา้ ระหวา่ งประเทศ
6 การขายทาให้เกิดการแก้ปญั หาและสร้างความพงึ พอใจ
7 การขายก่อใหเ้ กดิ ความรู้หรือการให้การศึกษา
ววิ ัฒนาการของการขาย
คาว่าววิ ฒั นาการหมายความวา่ การคลคี่ ลายไปในทางท่ีเจรญิ การขายววิ ัฒนาการมาจากระบบการแลกเปลย่ี นสนิ คา้ หรือ
ระบบแลกของตอ่ ของ (Barter System) ต่อมาเกดิ ปัญหาหลายประการในระบบแลกของต่อของ เช่น ความต้องการไม่
ตรงกัน สนิ คา้ เป็นคนละชนิดกัน ไมส่ ามารถกาหนดปรมิ าณได้อย่างยุติธรรม หรอื ความไม่สะดวกในการนาสินคา้ ไปแลกกบั บคุ ลล
อ่ืนเพราะถา้ ไม่มีคนต้องการก็ ตอ้ งนากลับมาอีก ระบบการแลกเปลีย่ นของตอ่ ของจงึ พัฒนามาเป็นระบบการใชเ้ งินเปน็ สือ่ กลาง
การแลก เปลยี่ น (medium of Exchang) เปน็ ระบบการซื้อขายด้วยเงนิ (Money System) การซอื้ ขายในปจั จุบันใชร้ ะบบ
การใหค้ วามเช่ือถือกนั โดยผู้ขาย ยอมใหผ้ ซู้ ้ือนาสนิ ค้าไปขายกอ่ น แลว้ ชาระเงินที่หลงั ตามเง่อื นไขท่ีตกลงกัน ระบบน้ีเรยี กว่า
ระบบเครดิต ซ่ึงมีบทบาทมากสาหรับการคา้ ขาย ทาให้การค้าคลอ่ งตวั และผูบ้ รโิ ภคยังปลอดภัย ไม่ต้องพกเงินสดตดิ ตัว
ววิ ัฒนาการของไทย
ววิ ัฒนาการขายของไทยเราต้งั แตส่ มัยโบราณ เร่ิมตั้งแตส่ มยั กรงุ สุโขทัยเปน็ ราชธานี จนกระทง่ั ถึงปจั จบุ นั มีความ
เจรญิ รงุ่ เรืองตลอดมาเพราะผูป้ กครองประเทศ และผูด้ าเนินการนโยบายในการบริหารประเทศไดใ้ ห้อิสระเสรที างการค้าแก่
ผู้ ประกอบธุรกิจท้งั ในประเทศและผูป้ ระกอบการค้าจากต่างประเทศ ระบบการค้าของไทยเราเป็นระบบการคา้ แบบเสรี (Free
Trade) ตลาดสินค้าในประเทศไทย จงึ มสี นิ คา้ ใหผ้ ้บู ริโภคเลอื กอย่างมากมาย ตลาดการค้าจงึ เปน็ ตลาดของผูซ้ อ้ื
สาระสาคญั ของการคา้ แตล่ ะสมัยพอสรปุ ไดด้ งั นี้
ก.สมัยสโุ ขทัย
หนา้ 4
ลกั ษณะการค้า เปน็ ระบบการคา้ แบบเสรี การค้าในประเทศจัดตงั้ รา้ นคา้ ตดิ ต่อกันไปเปน็ กลมุ่ เดยี วกันหรอื เปน็ แนวเดียว
กัน เรียกว่าตลาดปสาน (Bazaar) ในปัจจบุ ันเรียกวา่ ศนู ย์การคา้ การคา้ กับต่างประเทศ กบั ประเทศจีน คา้ ขายชามสังคโลก พอ่
ขนุ รามคาแหงนาช่างอนใหค้ นไทยจนชานาญ
ข.สมัยอยธุ ยา
ลักษณะการคา้ เป็นระบบผูกขาด ประเจา้ แผน่ ดนิ ทรงกระทาเองเปน็ ส่วนใหญ่ การค้าในประเทศมีการเก็บภาษีเขา้ พระคลังสินคา้
การค้าเจริญสงู สดุ ในแผ่นดิน สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช การคา้ กับตา่ งประเทศ โปรตุเกสเปน็ ชาวยโุ รปชาตแิ รก ที่เข้าคา้ ขาย
ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดที ่ี 2 สนิ คา้ ท่ีซอื้ ขายกันไดแ้ กส่ ินคา้ พื้นเมือง พวก ขา้ ว พรกิ ไทย ดบี กุ หนงั โค หนงั กวาง
ไมฝ้ าง หมาก สินค้าท่ีไทยทน่ี าเข้าจากต่างประเทศ ไดแ้ ก่ ผ้าแพร ผ้าสักหลาด ผา้ ลาย ปืนเลก็ ปนื สน้ั สุรา เครื่องถ้วยชาม และ
ของเบ็ดเตล็ด
ค.สมยั ธนบุรี
มีระยะเวลานอ้ ย เพยี ง 15 ปี และอยรู่ ะหวา่ งการกอบกบู้ ้านเมอื งและฟ้ืนฟูประเทศหลงั สงคราม ประกอบกบั การมีการรบกับ
พมา่ ตลอด การค้าขายไม่เจริญรงุ่ เรือง มสี าเภาจากจนี เขา้ มาค้าขายและชาติอื่น ๆ คือ องั กฤษ อนิ เดีย และมาเลเซีย.
ง.การค้าสมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร์
หนา้ 5
ลักษณะการค้าสมัย ร. 1 ถึง ร.3 เปน็ การคา้ แบบผูกขาด โดยการค้าขายเป็นของหลวง เรยี กวา่ ระบบรัฐพาณิชย์ จนถึง ร.4 ได้
ยกเลกิ ไป เพราะมีการทาสัญญาทางพระราชไมตรีกบั นานาประเทศ มรี ะบบเกบ็ ภาษี รอ้ ยชักสาม มกี รมพระคลัง กรมทา่ ในสมยั
ร.5มีการตั้งหอรัษฎากรพพิ ัฒนข์ นึ้ พ.ศ.2416 เป็นสานักงานกลางเกบ็ ผลประโยชนก์ ารค้าขาย มีการจดั ระเบียบการคา้ โดยพระ
คลังสินคา้ เขา้ มาดูแลสินค้าบางชนดิ เช่น อาวุธยุทธภัณฑ์สนิ ค้าพ้นื เมืองทีม่ ีน้อยและหายา มีการค้ากับตา่ งประเทศ สนิ ค้าทไี่ ทย
ส่งออกได้แก่ เหลก็ ดบี ุก ทองแดง ตะก่วั ไม้สัก ไมฝ้ าง ขา้ ว น้าตาล พรกิ ไทย ยาสูบ สินค้าเขา้ ได้แก่ ผ้าแพร ใบชา กระดาษ
ตุก๊ ตา ผ้าขนสัตว์ เสอ้ื ผา้ เครื่องแก้วและมีการยกเลิกระบบผูกขาดมาเป็นการคา้ แบบเสรี มผี ลทาให้การค้าเจรญิ รดุ หน้าอย่าง
รวดเรว็
จ.สภาพการคา้ ในปัจจุบัน
สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ แบบเสรี ให้ความสาคญั กบั การลงทนุ และเทคโนโลยี ส่งเสรมิ การค้าระหวา่ งประเทศ เพ่มิ บทบาทของรัฐบาลใน
การส่งเสรมิ การลงทุนของเอกชน เนน้ การพัฒนาอุตสาหกรรมเปน็ หลักโดยเฉพาะอุตสาหกรรมสง่ ออก
แนวความคิดทางการขายกับแนวความคดิ ทางการตลาด
แนวความคดิ ด้านการตลาด(marketing concept)หมายถงึ "การท่ีองค์การใช้ความพยายามทง้ั สิ้นเพื่อสร้างความพึงพอใจ
ให้กบั ลกู ค้าเพื่อมุง่ ให้เกิดยอดขายและกาไรในที่สุด"ในอดีตแนวความคิดด้านการตลาดเป็นแบบเก่าที่เนน้ เร่อื งการผลิต ผู้ผลติ
สินคา้ มีน้อยราย ความต้องการสนิ คา้ มีมากกวา่ สินคา้ ทีผ่ ลติ ออกมาหรืออุปสงค์(demand)มีมากกว่าอปุ ทาน(supply)ต่อมาเมอ่ื
มีการผลิตจานวนมาก
(mass production) ตน้ ทุนสินค้าต่าลง ตลาดก็ขยายตัวขน้ึ ความเจริญทางเศรษฐกจิ ขยายตัวเพมิ่ มากข้นึ กิจการต่าง ๆ
เร่มิ หันมาสนใจและเน้นการตลาดมากขึ้นทาให้แนวความคิดดา้ นการตลาดเปล่ียนไปเปน็ แนวความคดิ ดา้ นการตลาดมุ่งเน้น
การตลาดเพ่ือสังคม (societal marketing concept)แนวความคดิ ด้านการตลาดท่ธี ุรกิจและองคก์ ารไดย้ ึดถอื และปฏิบตั ิกันมา
ซง่ึ มกี ารใช้กนั อยู่ท้งั ในอดตี และปัจจุบัน เพือ่ ให้บรรลุวตั ถปุ ระสงคท์ างการตลาดซง่ึ ต่อไปนี้จะอธบิ ายถึงแต่ละแนวความคดิ โดย
จดั เรียงลาดับจากแนวความคิดทเ่ี กดิ ขึ้นก่อนหลัง
ความสาคญั ทางการตลาด
หนา้ 6
คือกระบวนการของการส่อื สารคุณค่าของผลติ ภัณฑห์ รอื บริการไปยังลูกคา้ การตลาดอาจถกู ตีความว่าเปน็ ศิลปะแห่ง
การขายสินค้าในบางครงั้ แต่การขายนน้ั เป็นเพยี งสว่ นเล็ก ๆ สว่ นหน่งึ ของการตลาด
การตลาดอาจถกู มองว่าเปน็ หน้าทขี่ ององค์การและกลุม่ กระบวนการเพ่ือการผลิต การสง่ สนิ คา้ และการส่อื สารคุณคา่ ไป
ยังลูกค้า และการจดั การความสัมพันธต์ ่อลูกคา้ ในทางทีเ่ ป็นประโยชนแ์ กอ่ งคก์ ารและผ้ถู ือหุ้น การจดั การการตลาดเป็นศิลปะ
ของการเลือกตลาดเปา้ หมาย ตลอดจนการไดม้ าและการรกั ษาลูกคา้ ผา่ นทางการจดั หาคุณคา่ ของลูกค้าท่เี หนือกว่า
มมี โนทัศนห์ ้าอยา่ งหลกั ๆ ท่ีองคก์ ารสามารถเลอื กเพอ่ื นาไปดาเนินการธุรกิจได้แก่ มโนทัศน์เนน้ การผลติ เน้นผลิตภัณฑ์
เน้นการขาย เนน้ การตลาด และเน้นการตลาดองค์รวม ซึ่งองค์ประกอบสีอ่ ย่างของการตลาดองค์รวมคอื การตลาดความสมั พนั ธ์
การตลาดภายใน การตลาดครบวงจร และการตลาดรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม กลมุ่ ของภาระหนา้ ท่ีท่ีสาคัญต่อการจดั การการตลาดที่
ประสบผลสาเรจ็ ประกอบไปด้วย การมองการตลาดเชิงลึก การติดต่อเชอ่ื มโยงกับลูกคา้ การสร้างตราสินคา้ ทมี่ นั่ คง การสรา้ ง
ผลิตภณั ฑท์ ต่ี อบสนองลกู คา้ การส่งสนิ ค้าและการสื่อสารคุณค่า การสร้างความเจรญิ เติบโตในระยะยาว และการพัฒนากลยุทธ์
และแผนการตลาด
การตลาดมบี ทบาทสาคัญตอ่ การพัฒนาคุณภาพชวี ติ และยกระดับความเป็นอยขู่ องมนษุ ย์ ในสงั คม ทาให้เกิดการพึ่งพา
อาศัยกันอยา่ งเปน็ ระบบในสังคมมนษุ ย์แต่ละคน สามารถประกอบ อาชพี ท่ี ตนเองถนัดและได้ใชค้ วามรคู้ วามสามารถของแตล่ ะ
บคุ คลได้ อยา่ งเต็มกาลงั ความสามารถ และการตลาดมบี ทบาทอย่างใหญห่ ลวงต่อความเจรญิ เติบโต และพัฒนาการทาง
เศรษฐกิจของ ประเทศ เนื่องจากการตลาดเปน็ ตวั กระตนุ้ ใหเ้ กิดการวจิ ัย และพฒั นาหาสิ่งแปลกใหม่ มาสนองความ ตอ้ งการของ
ตลาดและสังคม ทาใหผ้ บู้ ริโภคมโี อกาส เลือกใชผ้ ลติ ภัณฑ์ทตี่ ้องการได้หลายทางและ ผลิตภณั ฑท์ ีส่ ามารถตอบสนองความ
ตอ้ งการ สร้างความพึงพอใจใหแ้ ก่ผู้บรโิ ภค จึงมผี ลทาใหเ้ กิด การจ้างงาน เกิดรายได้กับแรงงาน และธุรกิจ ทาให้ประชาชน มี
กาลงั การซื้อ และสามารถสนอง ความต้องการในการบริโภค ซึ่งทาให้ มาตรฐาน การครองชีพของบุคคล ในสงั คมมรี ะดบั สงู ขึน้
และมีคุณภาพชวี ิตทด่ี ีขนึ้ ความสาคัญ ของการตลาดอาจกล่าวได้ดังน้ี
1. การตลาดเปน็ เครอ่ื งมือทีท่ าใหเ้ กิดการแลกเปล่ียน
การดาเนนิ การตลาดของธรุ กจิ จะทาให้ผู้ผลิตกบั ผบู้ ริโภคเขา้ มาใกล้กนั และสร้างความพึงพอใจ ใหก้ บั ผ้บู รโิ ภคด้วยการ
เสนอผลติ ภัณฑ์ ทต่ี รงต่อความต้องการของผูบ้ ริโภค จนทาให้เกิดการ แลกเปลี่ยนในระดับผู้ซอื้ และผู้ขายเกดิ ความพงึ พอใจ
การตลาดยังไมไ่ ด้เปน็ เพียง เครือ่ งมือทาให้ เกดิ การแลกเปล่ียนเทา่ น้นั แตย่ ังเป็นเครือ่ งมอื ทีส่ ร้างความพึงพอใจให้กบั ผบู้ ริโภค
อยา่ งต่อเนอ่ื ง ทาใหผ้ ้บู รโิ ภคเกิดความซื่อสัตยภ์ ักดตี ่อผลติ ภัณฑ์ ทาให้ผู้บรโิ ภคกลบั มาใช้ หรือซ่อื ซ้าเมือ่ มี ความต้องการ
2. การตลาดเปน็ ตัวเชือ่ มโยงความสมั พันธ์ระหว่างเจ้าของผลิตภณั ฑก์ ับผบู้ ริโภค
การดาเนนิ การทางการตลาดทาใหผ้ เู้ ป็นเจ้าของผลิตภณั ฑส์ ามารถตอบสนองและสรา้ งความ พึงพอใจใหก้ ับผู้บริโภคได้
ด้วยการเช่ือมโยงความสัมพันธ์ใหส้ อดคลอ้ งกบั ภาวการณ์ สถานภาพ ของผบู้ ริโภคดว้ ยการจัดจาหน่ายผลิตภัณฑใ์ นปริมาณ ใน
เวลา ในสถานท่ที ีผ่ บู้ ริโภคต้องการ ในราคา ท่ีผ้บู ริโภคมกี าลงั การซอ้ื และโอนความเปน็ เจา้ ของได้ การเช่ือมโยงความสมั พันธ์
ระหว่าง ผเู้ ป็นเจ้าของผลิตภณั ฑ์กบั ผู้บรโิ ภค นอกจากจะดาเนนิ การในหน้าทางการตลาด ให้เกิดการเชื่อมโยงสัมพันธก์ ันใน
เรื่องดังกลา่ ว สงิ่ ที่สาคัญจะต้องกระทาอกี ประการหน่งึ ก็คือ การสร้างการรบั รู้ใหก้ บั ผบู้ ริโภคในกจิ กรรมดงั กลา่ ว
3. การตลาดเปน็ ตัวผลกั ดนั ให้มกี ารพัฒนาปรบั ปรุงผลติ ภณั ฑ์
ดว้ ยแนวคดิ ของการตลาด ในการมุง่ สนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจใหก้ ับผู้บริโภค และรบั ผดิ ชอบต่อสังคม
ผลักดันใหผ้ ลิตต้องพัฒนาปรับปรุงผลติ ภณั ฑ์ ใ์ หต้ รงต่อความตอ้ งการ และสรา้ งความพึงพอใจใหก้ ับผบู้ ริโภค ตลอดจนจงู ใจ
ผบู้ ริโภคดว้ ยการเสนอผลิตภณั ฑใ์ หม่ ๆ อย่เู สมอ และการตลาดระบบการตลาดเสรี ซง่ึ มกี ารแขง่ ขนั กันมากในการสร้าง ความพึง
พอใจ และจูงใจผ้บู รโิ ภค จงึ ย่ิงเปน็ แรงผลักดนั ให้มกี ารพฒั นาปรับปรงุ ผลติ ภณั ฑเ์ พ่ือการแขง่ ขนั ในตลาดเสรี
4. การตลาดเป็นกลไกในการเสรมิ สร้างระบบเศรษฐกจิ
ดว้ ยการกอ่ ใหเ้ กดิ การบริโภคและการพึ่งพากนั อย่างเป็นระบบมคี วามเชื่อมโยงสัมพันธก์ บั ระบบเศรษฐกิจทัง้ ระบบ การ
สร้างความตอ้ งการและการสนองความต้องการในการบริโภค ผลิตภณั ฑท์ าให้เกิดการไหลเวยี นในระบบเศรษฐกิจ คือเกดิ การ
จ้างงาน เกิดรายได้ เกิดการบริโภค และเกิดการใช้แรงงาน ซงึ่ จะมีการพึ่งพากนั และเช่ือมโยงไหลเวียนตามลาดบั อยา่ งเปน็ ระบบ
ผลจะทาให้การดารงชีวิต ของมนษุ ยชาตใิ นสังคมอยู่ในระดับที่มกี ารกนิ ดีอยดู่ ี มคี วามเป็นอยู่ อยา่ งเป็นสุขโดยทัว่ กัน
แนวความคดิ ทางการตลาด (Marketing Concept)
หนา้ 7
แนวความคิดด้านการตลาด (marketing concept) หมายถึง "การที่องค์การใช้ความพยายามทั้งสน้ิ เพอื่ สรา้ งความพงึ
พอใจใหก้ บั ลูกคา้ เพื่อมุ่งให้เกิดยอดขายและกาไรในที่สุด"ในอดตี แนวความคดิ ดา้ นการตลาดเป็นแบบเกา่ ที่เนน้ เร่อื งการผลติ
ผู้ผลติ สนิ ค้ามีนอ้ ยราย ความตอ้ งการสินค้ามีมากกวา่ สนิ คา้ ทผ่ี ลิตออกมาหรืออุปสงค์ (demand) มีมากกว่า
อุปทาน (supply) ตอ่ มาเมื่อมกี ารผลติ จานวนมาก (mass production) ตน้ ทนุ สนิ ค้าตา่ ลง ตลาดก็ขยายตวั ขนึ้ ความเจรญิ ทาง
เศรษฐกจิ ขยายตัวเพ่ิมมากขึน้ กิจการต่าง ๆ เรมิ่ หันมาสนใจและเนน้ การตลาดมากข้ึน ทาใหแ้ นวความคิดด้านการตลาด
เปลี่ยนไปเปน็ แนวความคิดด้านการตลาดม่งุ เน้นการตลาดเพ่อื สงั คม (societal marketing concept)แนวความคดิ ดา้ น
การตลาดทีธ่ รุ กจิ และองคก์ ารไดย้ ดึ ถือและปฏิบัติกันมาซ่งึ มีการใช้กนั อยทู่ ้ังในอดีตและปัจจบุ นั เพื่อใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงคท์ าง
การตลาด ซงึ่ ต่อไปนี้จะอธิบายถึงแต่ละแนวความคิดโดยจัดเรียงลาดบั จากแนวความคดิ ท่ีเกดิ ขึ้นก่อนหลงั แนวความคดิ ทาง
การตลาด คือ “การที่องคก์ ารใชค้ วามพยายามทั้งสนิ้ เพ่ือสรา้ งความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า เพ่ือมุ่งให้เกิดยอดขายและกาไรใน
ท่สี ดุ ”
ววิ ฒั นาการของแนวความคดิ ทางการตลาด แบ่งออกเป็น 5 แนวความคดิ ดังนี้
1.แนวความคดิ แบบมุ่งเนน้ การผลติ (Production Concept)
เปน็ แนวความคดิ ทเี่ ก่าแกท่ สี่ ดุ ของฝา่ ยขาย โดยคิดว่าผบู้ ุรโิ ภคพอใจทจี่ ะซ้อื เฉพาะผลติ ภณั ฑท์ ี่ตนชอบ หาซ้ึอง่าย และ
ต้นทุนตา่ เทา่ นั้น ดังนน้ั หน้าท่ีด้านการตลาดคือปรับปรุงผลิตในปริมาณมากภายใต้ต้นทนุ การผลิตทตี่ า่ ท่ีสุด สนิ คา้ ทีผ่ ลติ ออกมา
สามารถขายไดเ้ กือบทง้ั หมด เนือ่ งจากอปุ สงค์ (Demand) หรือปริมาณความต้องการในสนิ ค้าที่จะใช้บริโภคมีมากกว่าอปุ ทาน
(Supply) ซ่งึ เปน็ ปริมาณของการเสนอขายสินคา้ ทผี่ ลติ สินค้าออกสู่ตลาด
แนวความคดิ ทางการตลาดแบบมุ่งเนน้ การผลิตนี้ จะยึดหลักวา่ ผู้บริโภคจะพจิ ารณาซ้ือดว้ ยความพึงพอใจในสินคา้ ท่ีมรี าคาตา่
และหาซ้ือไดง้ ่าย นกั การตลาดจงึ ตอ้ งปรบั ปรงุ การผลติ ใหด้ ีขึ้น เพื่อลดตน้ ทุนใหต้ า่ และจัดจาหนา่ ยให้ทว่ั ถึง ซง่ึ จะเปน็ ตลาดของ
ผขู้ ายหรอื ตลาดผูกขาด
2. แนวความคิดแบบม่งุ เน้นผลิตภัณฑ์ (Product Concept)
เนอ่ื งจากผลของการมุ่งเนน้ การผลิตทใี่ ช้ตน้ ทนุ ต่า เพอื่ ให้ไดผ้ ลผลิตจานวนมาก โดยสนิ ค้าทผี่ ลิตออกมาจาหน่ายไม่มี
ความแตกต่างกัน ทง้ั ในด้านคุณภาพและราคาทาให้เกิดภาวะสินค้าล้นตลาด ดังน้ันนักการตลาดจงึ ตอ้ งพยายามคดิ ค้นหาวิธีทจ่ี ะ
หนา้ 8
ทาให้สินค้าเกดิ ความแตกต่างจากค่แู ข่งขัน โดยปรับปรุงสินค้าใหม้ คี ุณภาพและรปู ลักษณ์ทดี่ ขี ึ้นเม่ือเปรยี บเทียบกับราคา เพ่อื
สร้างความแตกตา่ งแนวความคดิ ทางการตลาดแบบน้จี ะยดึ หลกั ว่าผบู้ ริโภคจะมีความพึงพอใจในสินคา้ ท่ีมีคุณภาพและรปู ลักษณ์
ที่ดที ี่สดุ เม่ือเปรียบเทียบกับราคาจงึ ต้องปรบั ปรุงคุณภาพและพฒั นาใหด้ ีกว่าคู่แขง่ ขนั
ลกู คา้ จะตัดสินใจซือ้ เพราะพอใจในคุณภาพและรปู ลักษณ์“ใหม่”ของสนิ ค้า
3. แนวความคดิ แบบมุ่งเนน้ การขาย (Selling Concept)
เปน็ แนวความคิดทีใ่ หค้ วามสาคญั กบั กิจกรรมทางดา้ นการขาย เนือ่ งจากคู่แขง่ ท่ีมีอยู่มากในตลาด ได้มีการพฒั นาสินคา้ ใหม้ ี
คุณภาพเทา่ เทยี มกนั ประกอบกับเปน็ ชว่ งที่ผู้บรโิ ภคคานงึ ถงึ ความจาเปน็ ในการใชส้ นิ ค้า กลา่ วคอื ผบู้ ริโภคจะซอ้ื เฉพาะสินคา้ ที่
จาเปน็ และตรงกบั ความต้องการเทา่ น้ัน นกั การตลาดจงึ ต้องจูงใจใหผ้ ูบ้ ริโภคซ้อื สินค้าเพ่ิมขึน้ อยา่ งตอ่ เน่ือง ซึ่งวธิ กี ารกระตนุ้
ความตอ้ งการของผู้บรโิ ภคคือการอาศยั พนักงานขายใหเ้ ป็นผนู้ าเสนอขายสินคา้ กจิ การต่าง ๆ พยายามท่ีปรบั ปรุงรปู แบบวธิ ีการ
ขาย โดยมกี ารฝกึ อบรมเกี่ยวกบั เทคนิคการขายให้กบั พนักงานขาย มีการส่งเสริมการตลาดในดา้ นต่าง ๆ เช่น การส่งเสริมการ
ขายด้วยของแจกของแถม การเผยแพรข่ ่าวสาร การจดั กิจกรรมเพอื่ ทาใหผ้ ู้บรโิ ภคเกดิ ความสนใจ และตัดสินใจซ้ือสนิ ค้า
แนวความคิดทางการตลาดแบบม่งุ เน้นการขาย จะยึดหลักวา่ ผู้บรโิ ภคจะซ้อื สนิ ค้าต่อเมอ่ื มีความจาเป็น นกั การตลาดจึงต้อง
พยายามปรบั ปรุงหน่วยงานขายใหม้ ีประสทิ ธิภาพ ด้วยการคัดสรรพนักงานที่มีความสามารถในด้านของเทคนคิ การขาย โดย
พยายามคิดค้นหาวิธกี ารขายรูปแบบใหม่ ๆ
4.แนวความคดิ แบบมุ่งเน้นการตลาด (Marketing Concept)
เป็นแนวความคดิ ทีกิจการให้ความสาคัญต่อผบู้ ริโภคมากขึน้ โดยเร่ิมมีการศึกษาวเิ คราะห์ถงึ ความต้องการของผู้บริโภค
เป็นอันดับแรกและสรา้ งความพึงพอใจให้แก่ผบู้ ริโภค แลว้ จึงนาขอ้ มูลท่ไี ด้ไปผลติ เป็นสนิ ค้าขน้ึ มา เพื่อให้ตรงกับความต้องการ
ของผบู้ รโิ ภคมากทส่ี ดุ ซ่ึงเป็นการเปลย่ี นแนวความคิดแบบเดมิ ท่มี ุง่ เนน้ แต่ทางดา้ นการผลิต เมอื่ มสี ินคา้ จานวนมากแล้วกน็ าออก
ขายแก่ผบู้ ริโภค ธุรกิจจงึ ต้องทาการหาข้อมลู ทางการตลาดเกี่ยวกบั ผูบ้ ริโภคใหม้ ากทส่ี ดุ แล้วนาขอ้ มูลที่ไดร้ ับมาดาเนินการผลิต
หนา้ 9
แนวความคดิ ทางการตลาดแบบมุง่ เน้นการตลาด จะยดึ หลักว่าผบู้ รโิ ภคจะซือ้ สินค้าด้วยความพงึ พอใจนอกเหนือจาก
คุณภาพของสินคา้ นกั การตลาดจงึ ตอ้ งทาการวิจยั ตลาด วิจยั พฤติกรรมของผบู้ รโิ ภค แล้วนาข้อมลู มาผลิตเปน็ สนิ คา้ หรอื
ปรับปรงุ สนิ คา้ ให้มปี ระสทิ ธิภาพและตรงกบั ความต้องการ เพอ่ื สรา้ งความพึงพอใจให้กับผู้บริโภคซง่ึ มคี วามแตกตา่ งกบั
แนวความคิดทางการขายด้านตา่ ง ๆ
5.แนวความคิดดา้ นการตลาดเพ่ือสังคม (Social Marketing Concept)
เป็นแนวความคิดสมยั ใหม่ทธ่ี ุรกิจในปัจจุบันนี้ให้ความสนใจ และใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนนิ กจิ การ ขณะเดยี วกันผบู้ ริโภคกม็ ี
ความคดิ เห็นว่าธรุ กิจควรใหบ้ รกิ ารช่วยเหลือแกส่ งั คมในด้านตา่ ง ๆ โดยมิใช่ม่งุ ตอบสนองความตอ้ งการของผบู้ ริโภคเพ่ือใหธ้ ุรกจิ
บรรลุเป้าหมายเพยี งเทา่ นัน้ แตค่ วรจะคาน่ึงถงึ ความรบั ผิดชอบต่อสงั คม เช่น การไมผ่ ลติ สนิ ค้าด้อยคุณภาพ ไมท่ าลาย
สง่ิ แวดลอ้ ม รวมถงึ การใช้ทรัพยากรอยา่ งประหยดั ดว้ ยการปฏบิ ัติตามหลัก 3 R’s คอื
Re-fill = การผลิตสนิ ค้าชนดิ เตมิ ทาใหป้ ระหยดั วัสดุในการผลิตบรรจภุ ณั ฑ์
Re-use = การผลติ สินค้าทอี่ ย่ใู นบรรจุภณั ฑ์ทีน่ ามาใชซ้ า้ หรือกลบั มาใช้ประโยชน์อืน่ ได้
Recycle = การใชบ้ รรจุภณั ฑท์ ่ีทาจากกระดาษหรือพลาสตกิ ทผ่ี ลติ จากวสั ดทุ ่ีใชแ้ ลว้ นามาผลิตใหม่
แนวความคดิ ทางการตลาดแบบมุ่งเน้นสังคม จะยึดหลักว่าการดาเนนิ ธุรกจิ ในปจั จุบนั จะตอ้ งควบคู่ไปกับการทากิจกรรมต่าง ๆ
ท่ที าใหผ้ ูบ้ รโิ ภคมองกิจการในแง่ดีว่าเปน็ ผทู้ าธรุ กจิ เพื่อสงั คม ห่วงใยสังคม และห่วงใยสง่ิ แวดล้อม
เปรียบเทยี บแนวความคิดทางการตลาดแบบเก่ากบั แบบใหม่
หนา้ 10
ชือ่ ...................................................................เลขท.่ี ...........
ใบงานหน่วยที่ 1 เรื่อง ความหมายและความสาคญั ของการขาย
คาชแ้ี จง ให้นักเรียนเตมิ คาตอบลงในช่องว่างให้ใจความท่ีถกู ต้องและสมบรู ณ์
1.จงบอกความหมายของการขาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2. ลกั ษณะของการขาย คอื
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
3. สนิ คา้ หมายถึง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
4. บริการ หมายถึง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
5.ความสาคญั ของการขาย 4 ประการ คือ
1. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
3. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
4. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
6. หลกั พ้นื ฐานของการขายมีอะไรบ้าง
1. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
3. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
4. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
5. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
7.หน้าที่ของการขาย
1. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
3. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
4. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
5. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
6. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
7. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
8.ความสาคัญ ของการตลาดมอี ะไรบา้ ง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
9. 5 แนวความคดิ 8 คือ
1. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
3. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
4. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
5. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
หนา้ 11