วชิ าสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑
สาระท่ี ๑ พระพุทธศาสนา
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ ความสำคญั ของพระพุทธศาสนาและพทุ ธประวตั ิ
ความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา
และพทุ ธประวัติ
๑) ความสำคัญของพระพุทธศาสนา ๒) พุทธประวตั ิ
๑.๑) พระพุทธศาสนาเปน็ เครื่องยดึ เหนย่ี วจิตใจของพุทธศาสนกิ ชน ๒.๓) การประกาศธรรม ๒.๑) สรปุ พุทธประวตั ิ
๑.๒) พระพทุ ธศาสนาเป็นศูนย์รวมการทำความดีและพฒั นาจติ ใจ โปรดปัญจวัคคีย์ โดยการแสดงปฐมเทศนาทเ่ี รยี กว่า “ธัมมจกั กัปปวตั นสูตร” ทำให้ คอื ประวตั ิของพระพุทธศาสนาซง่ึ เปน็ ศาสดาและ
อัญญาโกณฑัญญะหนงึ่ ในปัญจวคั คยี ์ ไดด้ วงตาเหน็ ธรรมขออุปสมบทเปน็ พระภกิ ษรุ ูป ผู้กอ่ ต้ังพระพุทธศาสนา (เจ้าชายสทิ ธัตถะ)
๑.๓) พระพทุ ธศาสนามีศาสนสถานเปน็ ทีป่ ระกอบศาสนพิธี แรกในพระพทุ ธศาสนา และทรงแสดงธรรมต่อไปจนปญั จวัคคยี ท์ ้ัง ๔ เกดิ ดวงตาเหน็ ประสตู เิ ม่ือวันเพญ็ ขนึ้ ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ก่อน
๑.๔) พระพทุ ธศาสนามีศาสนสถานเป็นแหล่งปฏิบัตกิ ิจกรรมทางสังคม ธรรมขออปุ สมบทเป็นพระสงฆ์สาวก มีผเู้ ลื่อมใสเขา้ อปุ สมบทจนมีพระสงฆ์ ๖๐ รูป พุทธศักราช ๘๐ ปี พระบดิ า คอื พระเจา้ สุทโธ
ทนะ มารดา คือ พระนางสริ มิ หามายา เมือ่ พระ
๑) โปรดชฎิล ๓ พน่ี อ้ ง ๒) โปรดพระเจ้าพมิ พิสาร ชนมายุได้ ๗ พรรษาคราวหนึ่งเสดจ็ ประพาส
อุทยานไดพ้ บเทวทตู ทงั้ ๔ คือ คนแก่ คนเจบ็
๓) การแต่งตัง้ พระอัครสาวก คนตาย เปน็ สาเหตุให้ตดั สินพระทัยออกผนวชใน
- อปุ ตสิ สะหรือพระสารีบุตร ไดร้ บั เเตง่ ต้ังเปน็ เอตทัคคะ คืนทีพ่ ระโอรส พระนามว่า “ราหุล” ประสูติ
ขณะพระชนมายุได้ ๒๙ พรรษา
คือ ผูเ้ ป็นเลิศกว่าภิกษุอนื่ ทางปญั ญา (เบื้องขวา)
- โกลติ ะรือพระโมคคลั ลานะ ได้รับแต่งตัง้ เป็นเอตทคั คะ ๒.๒) การตรัสรู้
ตรัสรู้อริยสัจ ๔ เป็นสัมมาสมั พุทธเจ้า ณ ใต้ต้นพระ
คอื ผ้เู ป็นเลศิ กวา่ ภิกษุอ่นื ทางทีม่ ฤี ทธ์มิ าก (เบอ้ื งซ้าย) ศรีมหาโพธิ์ ใกล้ฝั่งแมน่ ้ำเนรญั ชรา เมอ่ื วนั ข้นึ ๑๕ คำ่
เดือน ๖ พระชนมายุ ๓๕ พรรษา
๔) ทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์
-ละเวน้ ความชัว่
-ทำความดี
-ทำจิตใจให้ผ่องใสบรสิ ทุ ธิ์
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ พทุ ธสาวก ชาดก และพุทธศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง ๒
๑) พุทธสาวก พุทธสาวก ชาดก ๒) ชาดก
และพุทธศาสนกิ ชนตวั อย่าง
คอื สาวกของพระพทุ ธเจา้ ทีฟ่ ังธรรมจากพระพทุ ธเจ้าและ
นำหลกั ธรรมมาปฏิบตั เิ ป็นแบบอยา่ งท่ีดที คี่ วรนำไปปฏบิ ัติ ๓) พทุ ธศาสนิกชนตัวอยา่ ง ๒.๑) กฎุ ทิ สู กชดก (ลงิ เกเรกบั นกขม้ิน)
ลงิ ไดม้ าอาศัยรงั นกขม้นิ อยู่ นกขมน้ิ จงึ บอกให้ลิงไปสรา้ งบา้ น
พระอรุ เุ วลกสั สปะ คอื ผู้ปฏิบัตติ ามหลักธรรมคำสอนของพระพทุ ธศาสนา เองจะมาแย่งตนทำไม เด๋ียวรังของตนจะพงั ทำเช่นน้ันเปน็ การ
อรุ เุ วลกสั สปะ เกดิ ในตระกลู พราหมณ์ คอื ตะกูลกัสสปะ มนี ้องชาย ในการดำเนนิ ชีวติ ควรค่าแก่การเปน็ แบบอยา่ ง เบียดเบียนเรา เเล้วเจา้ จะมคี วามสุขไดอ้ ย่างไร ลงิ ได้ฟงั จงึ โกรธ
๒ คน นามวา่ นทีกสั สปะและคยากัสสปะ เพอื่ เผยแผศ่ าสนา กระโจนจะไปกนิ นกขมิน้ แต่นกขมนิ้ ไหวตัวทนั จงึ บินหนไี ป ลิง
พระพทุ ธเจ้าได้เดินทางไปยังสำนกั ของอรุ เุ วลกสั สปะเพือ่ ขอพักด้วย แต่ ๓.๑) สมเด็จพระมหิตลาธเิ บศ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก จึงทำลายรงั นกขมิ้นจนพัง เพอื่ ระบายความโกรธ
อุรุเวลกสั สปะเหน็ เปน็ นักบวชต่างสำนกั จึงบา่ ยเบีย่ งไม่ให้พักพระพทุ ธ เปน็ พระโอรสองค์ที่ ๖๙ ในพระจุลจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว (ร.๕) คติสอนใจ : คนพาลเกเรดอ้ื รัน้ แม้เรอ่ื งที่ถูกก็มองเห็นวา่ เป็นผดิ
จึงขอเขา้ พักที่โรงไฟ อุรุเวลกัสสปะบอกวา่ “โรงไฟมีพญนาคดุร้าย มี พระราชกรณียกจิ : ทรงหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้ในการ
พษิ เกรงวา่ ทา่ นจะไดร้ บั อันตรายถึงชวี ติ ได”้ แต่พระพุทธเจ้าเเสดง ดำเนินชวี ิต เห็นไดจ้ ากท่พี ระองค์ได้นำการแพทย์มาพัฒนาแพทยข์ อง ๒.๒) มหาอุกกสุ ชาดก (สตั วส์ สี่ หาย)
ความมงุ่ มน่ั อรุ เุ วลกัสสปะจงึ ยอม ตอ่ มาพระพทุ ธเจา้ จงึ เเสดงปาฏิหาร ไทยเพื่อช่วยเหลอื ประชาชน รวมทั้งไดห้ าทุนสนบั สนนุ สิ่งกอ่ สร้าง เหยยี่ วตัวผู้ได้ขอแตง่ งานกบั นางเหย่ยี ว แตน่ างเหยีย่ วบอกวา่
ยน์ ำพญานาคนอนขดอยใู่ นบาตร จงึ เกดิ อศั จรรย์ใจ ในเวลากลางคนื ในกจิ การของโรงพยาบาลศิริราช ทรงบำเพ็ญพระราชกรณยี กจิ ที่ ท่านจึงไปผูกมติ รกบั สตั ว์อ่นื ๆก่อนเถดิ เราจำเปน็ ต้องมีมิตร
มเี ทวดาทัง้ หลายมานง่ั ฟงั ธรรม จนในทีส่ ดุ อรุ เุ วลกสั สปะยอมรับเเละ เป็นประโยชน์ต่อการแพทยอ์ ย่างมาก จนไดร้ บั การรถวายพระ สหายทีด่ ีจะได้ช่วยเหลือกัน เมอื่ เหย่ียวตัวผผู้ กู มิตรเสร็จได้ทำ
ศรทั ธาขออปุ สมบท จงึ ได้ประทานบวชดว้ ยเอหภิ กิ ขุอปุ สมั ปทาและฟัง สมัญญานามว่า “พระบิดาแหง่ การแพทย์แผนปัจจบุ ันของไทย” การเเตง่ งานขึน้ มลี ูกนอ้ ย ๒ ตัว ตอ่ มามนี ายพรานจะมาเอา
ธรรม “อาทติ ตปรยิ ายสตู ร” เมอ่ื ฟังจบพระสาวกก็บรรลุธรรมขัน้ สดุ ลกู ไป เหยยี่ วจึงไปขอความช่วยเหลอื จาก พญานก เตา่
พระอุรเุ วลกัสสปะไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เปน็ ผู้มบี รวิ ารมาก ราสีห์ ได้รับความชว่ ยเหลือจนลกู ๆปลอดภัย
คติสอนใจ : มิตรแท้ย่อมชว่ ยเหลอื กันยามลำบาก
๓.๒) สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี
พระนามเดิมว่า สังวาล ตะละภัฏ ประสูตทิ ่ีจังหวดั นนทบุรี
เมอื่ วนั ที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๓ เปน็ บตุ รคนท่ี ๓
ของนายชูและนางคำ
พระราชกรณียกจิ : เป็นพทุ ธศาสนิกชนที่ยดึ ม่ันใน
พระพุทธศาสนา ได้สง่ เสรมิ พระพทุ ธศาสนา เชน่ ให้มีการ
เผยแผ่หลกั ธรรมทางสถานีวิทยุ อ.ส. พระราชวงั ดสุ ิต
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๓ หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา ๓
๑) พระรัตนตรัย ๒) ไตรสกิ ขา
หมายถึง แก้วอันประเสรฐิ ๓ ประการ หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ไตรสกิ ขา คือ การฝกึ ฝนอบรมตนเองให้พัฒนายงิ่ ข้ึนไปมี ๓ ประการ
ศรัทธา ๔ หมายถงึ หลกั ความเช่อื ในทางพระพทุ ธศาสนา ๔ ประการ ๓) โอวาท ๓ ๑) ศีล เรียกว่า อธิสิลสิกขา คือ การฝกึ ฝนตนเองให้มี
๑) เชื่อกรรม คอื เชือ่ ว่ากระทำทกุ อยา่ งยอ่ มมผี ลตามมา พฤติกรรมทางกาย วาจาท่ีเรียบรอ้ ย
๒) เช่อื ผลของกรรม คือ เช่ือวา่ ทำอะไรไดร้ ับผลอยา่ งนนั้ ๒) สมาธิ เรยี กว่า อธจิ ติ ตสกิ ขา คือ การฝกึ ฝนอบรมจิต
๓) เชอ่ื ว่าสตั วท์ กุ ชีวิตมกี รรมเปน็ ของตน คอื เช่ือว่าสิ่งทีท่ ำตดิ ตัวไปตลอด ให้บริสทุ ธ์ิ เกดิ สมาธิสามารถทำสิ่งตา่ งๆได้สำเรจ็ ลลุ ่วง
๔) เชอ่ื การตรสั รู้ของพระพทุ ธเจ้า คอื เชอ่ื ว่าพระพุทธเจา้ มจี ริง ๓) ปัญญา เรียกว่า อธิปญั ญาสิกขา คอื การฝึกฝนอบรม
ปัญญาเพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นสิ่งต่างๆตามความ
๑.๑) พระพทุ ธคุณ หมายถงึ คณุ ความดีของ เปน็ หลกั คำสอนอนั เป็นหวั ใจหลักของพระพุทธศาสนา เปน็ จริง ไม่ยึดตดิ
พระพุทธเจ้า ๙ ประการ
๓.๑) ไมท่ ำความช่วั ๓.๒) การทำความดี
๑) เปน็ พระอรหนั ต์ หลักธรรมทเ่ี กย่ี วข้อง : เบญจศลี หรอื ศลี ๕ และทุจริต ๓ มี ๒ ประเภท ไดแ้ ก่ การทำดใี นอดตี ชาติ , การทำดใี นชาตปิ จั จบุ นั
๒) เป็นผูท้ ่ตี รัสร้ไู ดด้ ว้ ยพระองค์เอง
๓) เปน็ ผูถ้ งึ พรอ้ มดว้ ยวิชาความรเู้ เละประพฤตดิ ี ๓.๑.๑) เบญจศีลหรือศลี ๕ คือ ๓.๑.๒) ทจุ รติ ๓ คือ ๓.๒.๑) เบญจธรม คอื หลักการทำความดีมี ๕ ประการ
๔) เปน็ ผทู้ เี่ สด็จไปดีเเล้ว ๑) ไมฆ่ ่าสัตว์ การประพฤตชิ ่ัวทางกาย (กายทุจริต) - การมเี มตตาต่อผู้อื่นหรอื สง่ิ มชี ีวิตต่างๆ
๕) เป็นผูร้ เู้ เจ้งโลกา ๒) ไม่ลกั ทรพั ยห์ รือสง่ิ ของท่เี จ้าของไมไ่ ด้ให้ - การฆ่าสตั ว์ - การประกอบอาชพี สุจริต
๖) เปน็ ผูฝ้ ึกมนุษยด์ ว้ ยดี ๓) ไมป่ ระพฤติผดิ ในกาม - การลกั ขโมยสิ่งของผู้อ่ืน - การยินดใี นคคู่ รองของตน
๗) เปน็ ศาสดาของมนุษย์และเทวดา ๔) ไมโ่ กหกหรอื หลอกลวงผูอ้ ืน่ - การประพฤตผิ ดิ ในกาม - การพูดความจรงิ
๘) เปน็ ผู้รู้ ผตู้ ่ืน และผู้เบกิ บาน ๕) ไม่ดืม่ ของมนึ เมา และสารเสพตดิ ให้โทษ การพฤตชิ ั่วทางวาจา (วจที จุ ริต) - การมสี ตสิ ัมปชญั ญะ
๙) เปน็ ผ้มู ีโชค - การพูดโกหก ๓.๒.๒) สจุ รติ ๓
๓.๓) การทำจิตใจใหผ้ อ่ งใส - กรพดู ยุยงให้ผู้อน่ื เเตกเเยกกัน ๓.๒.๓) พรหมวิหาร ๔ คอื เมตตา กรุณา มุทิตา อเุ บกขา
๑.๒) พระธรรม คือ คำส่ังสอนของพระพทุ ธเจา้ - การพดู คำหยาบ ๓.๒.๔) กตัญญกู ตเวทีตอ่ ประเทศชาติ
กรรม หมายถึง การกระทำที่ประกอบด้วยเจตนา คอื การฝึกฝนอบรมจติ ใจใหส้ งบนงิ่ อย่กู บั สิ่งใด -การพดู เพอ้ เจ้อ พดู ไร้สาระ ๓.๒.๕) มงคล ๓๘ มงคลชวี ิต นกั เรยี นศึกษา ๓ ข้อ คือ
ผลของการกระทำจะเกดิ กบั ผ้กู ระทำ ๒ ลกั ษณะ สิง่ หนง่ึ โดยไมเ่ ปล่ยี ยนแปลง สามารถปฏบิ ัตไิ ด้ การประพฤติชั่วทางใจ (มโนทจุ รติ )
โดยการฝึกสมาธิ การบรหิ ารจิตเจริญปัญญาช่วย - ความโลภอยากไดข้ องของผู้อ่ืน ๑) ความเคารพ ๒) ความถอ่ มตน ๓) การทำดใี ห้พรอ้ มไวก้ ่อน
๑) ไดร้ บั ผลทันที ให้จติ ใจเกดิ สมาธิ ไม่ฟุ้งซา่ น มอี ารมณ์ผ่องใส - การพยาบาล คดิ ร้ายผู้อน่ื
๒) ไดร้ ับผลภายหลงั มีความจำดี ทำใหด้ ำเนินชวี ติ ได้อย่างมีความสุข - การเห็นผดิ เป็นชอบ
๑.๓) พระสงฆ์ คอื ชายที่อปุ สมบทในพระพุทธศาสนา
๑) การอุปสมบท (เพศชายอายุ ๒๐ ปบี ริบูรณ)์
๒) วัตรปฏิบตั ิ
หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๔
๔) พทุ ธศาสนสภุ าษติ ๕) หลักธรรมเพ่อื การอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ ๖) การทำความดขี องตนเอง บุคคลใน
ครอบครวั โรงเรยี น และชุมชน
คอื ข้อคิดเตือนใจชาวพุทธทีพ่ ระพทุ ธตรสั ไว้ การนำหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาทางพระพุทธศาสนามา
ปฏิบตั นิ น้ั ชว่ ยให้ผ้ปู ฏิบัติมคี วามเจริญกา้ วหนา้ มีความสขุ ใน การปฏบิ ตั ติ ัวตามหลกั ธรรม
๔.๑) สขุ า สงฆฺ สฺส สามคคฺ ี อ่านว่า สุ-ขา-สงั -คดั -สะ-สา-มกั -คี การดำเนนิ ชีวติ สง่ ผลใหป้ ระเทศชาติพัฒนาสงั คมเจริญร่งุ เรือง ๑) เรยี นรู้หลักธรรรมเพ่ือนำไปปฏบิ ตั ใิ นการดำเนินชวี ิต
แปลว่า ความพร้อมเพรียงของหมู่คณะทำใหเ้ กิดสขุ ๒) นำหลกั ธรรมไปปฏิบตั ิ
๓) แนะนำให้ผอู้ ่นื ปฏบิ ตั ติ ามในส่งิ ท่ถี กู ต้องดงี าม
ความสามคั คี หมายถงึ การใหค้ วามช่วยเหลือกนั หรือการร่วมมือกัน
ในการทำกิจกรรมต่างๆเพอ่ื ใหบ้ รรลจุ ดุ หมายปลายทางที่ดีร่วมกนั การทำความดขี องตนเอง
๑) มีความเมตตากรุณา
๔.๒) โลโกปตฺถมภฺ กิ า เมตฺตา อ่านว่า โล-โก-ปดั -ถมั -พิ-กา-เมด-ตา ๒) มีความกตญั ญกู ตเวที
แปลวา่ เมตตาธรรมค้ำจนุ โลก ๓) มคี วามเอือ้ เฟอื้ เผื่อแผ่
๔) มีความซื่อสัตยส์ จุ ริต
เมตตา หมายถึง ความปรารถนาใหผ้ ้อู ื่นมคี วามสขุ ทงั้ กายและจิตใจ ๕) มีความเสยี สละ
ความมเี มตตาสามารถเเสดงออกไดท้ ง้ั ทางกาย วาจา และใจ การมี ๖) มีความสามคั คี
เมตตาตอ่ กันจะทำให้อยูร่ ่วมกนั ในสังคมได้อย่างมคี วามสขุ
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๔ หนา้ ทชี่ าวพุทธและมารยาทของชาวพทุ ธ ๕
๑) ความรเู้ บ้ืองต้นและความสำคญั หน้าท่ชี าวพทุ ธ ๓) มารยาทชาวพทุ ธ
ของศาสนาสถาน และมารยาทของชาวพุทธ
คอื กริ ิยาอาการ ทางกายและวาจาท่ีสภุ าพ
๑.๑) ความหมายของศาสนา ศาสนาสถาน หมายถึง ๒) หนา้ ทขี่ องชาวพทุ ธ เรียบร้อยทีพ่ ุทธศาสนกิ ชนควรปฏบิ ตั ิ
สถานทป่ี ระกอบพธิ ีกรรม
ประวตั วิ ดั พระเจ้าพมิ พสิ ารทรงถวาย ตา่ งๆทางศาสนา ศาสนา ๒.๑) การแสดงความเคารพต่อศาสนสถาน ๓.๑) การปฏิบัติตนทเี่ หมาะสมตอ่ พระภกิ ษุ
พระราชอุทยานเวฬุวัน ซงึ่ อยู่ทางทิศ สถานท่สี ำคญั คอื “วดั ”
เหนือของกรุงราชคฤหใ์ ห้เป็นสถานที่ ๑) เเต่งกายเรียบรอ้ ย ๑) การไปพบพระภกิ ษทุ ่ีวดั
ประทบั ของพระพุทธเจา้ และพระสงฆ์ ๒) สำรวมกริ ยิ ามารยาใหเ้ รยี บรอ้ ย ไม่ส่งเสยี งดงั - แต่งกายสภุ าพ
๓) ดแู ลรกั ษาศาสนสถานให้สะอาด - รักษามารยาททางกาย วาจาและทางใจ
เวฬุวันมหาวหิ าร จงึ ถอื เป็น ๔) ไมส่ ูบบหุ ร่หี รอื สารเสพติด ไม่เบยี ดเบยี นสตั ว์
“วนั แหง่ แรกในพระพทุ ธศาสนา” ๒) การสนทนา
ในบริเวณศาสนสถาน - ใชค้ ำพูดสุภาพ
๑.๒) ความสำคัญ ผ้ชู าย : “ผม” หรือ “กระผม”
ของศาสนาสถาน ๒.๒) การบำรุงรักษาศาสนสถาน ผูห้ ญงิ : “ดิฉัน” หรือ “หน”ู
- ใชส้ รรพนามแทนพระภกิ ษวุ า่ “พระคณุ
- วัดเป็นสถานท่อี ย่อู าศัยของพระภกิ ษสุ ามเณร - หมน่ั ไปทำบญุ ตักบาตร รักษาศลี ฟังธรรม และประกอบพธิ ที างศาสนา เจา้ ” “หลวงตา” หรือ “หลวงพอ่ ”
- เปน็ ศนู ย์กลางของชมุ ชนต่างๆ ศนู ย์กลางในการ - บำเพ็ญประโยชนใ์ หก้ บั ศาสนสถาน
ทำกจิ กรรมทางศาสนา - บริจาคเงินหรือสิง่ ของเคร่ืองใชต้ า่ งๆเพ่อื พฒั นาและบูรณะศาสนสถาน ๓.๒) การยืน การเดนิ และการน่งั
- เป็นศูนย์กลางในการชว่ ยเหลอื ผคู้ นท่ีเดอื ดรอ้ น - ดแู ลรักษาทรัพยส์ นิ ของศาสนสถาน ทเี่ หมาะสมในโอกาสต่างๆ
เชน่ บำบดั ยาเสพติด สงเคระหผ์ ู้ติดเอดส์
๑) การยืน ควรยืนอาการสำรวม เดินผา่ นให้โน้มตวั ลงยกมือไหว้
๒) การเดนิ เม่อื เดินสวนให้ชดิ ซา้ ยมือของทา่ น น้อมตัวลงไหว้
๓) การนัง่ การนัง่ คุกเขา่ , การนัง่ พับเพียบ , นัง่ เก้าอี้ นัง่ ตัวตรง
เขา่ ชดิ วางมือบนหนา้ ขา
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๕ การบรหิ ารจิตและเจรญิ ปัญญา ๖
๑) การสวดมนต์ไหวพ้ ระ การบรหิ ารจิตและเจรญิ ปญั ญา ๒) การพฒั นาจติ ตามเเนวทาง
สรรเสรญิ คุณพระรัตนตรยั ของพระพุทธศาสนา
การบริหารจติ คอื วิธีการทำใหจ้ ติ ใจสะอาด สว่าง สงบ
และแผเ่ มตตา นำไปสู่การเกิดปญั หา มีจิตใจผ่องใส ๒.๑) ความหมายของสติสัมปชญั ญะ
สมาธิ และปัญญา
การสวดมนต์ หมายถึง การระลึกถึงคุณของพระพุทธ การเจรญิ ปญั ญา คอื การพฒั นาความรู้ ความเขา้ ใจใหเ้ กิด
พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ การเรมิ่ ตน้ ของการบรหิ ารจิตใจ ความร้แู จง้ เหน็ จรงิ และใช้ความร้แู ก้ - สติสมั ปชญั ญะ คอื ความระลึกได้อยูร่ ู้ตัวอยตู่ ลอด
ปญั หา ทำให้เกดิ ความสขุ เวลาทง้ั ในการเรียนและการทำงาน
การแผเ่ มตตา หมายถึง การต้งั จิตปรารถนาให้ผอู้ ื่นมี - ปญั ญา คอื ความรอบรู้ การใช้สติพิจารณาถึงเหตผุ ล
ความสุข เป็นการฝึกจติ ให้มีความเมตตา และเสียสละ ๒.๒) วิธปี ฏบิ ัติตนในการบรหิ ารจติ และเจริญปัญญา ในความรตู้ า่ งๆจนกระทงั่ มคี วามรู้อยา่ งแท้จริง
- สมาธิ คือ การควบคุมจิตใจให้มงุ่ มนั่ แนว่ เเน่อยูก่ ับ
การสวดมนตไ์ หวพ้ ระ - ให้ขาทบั ขาซา้ ย ส่งิ ใดสิง่ หนง่ึ
๑) นง่ั คกุ เขา่ พนมมือ - มอื ขวาทบั มอื ซา้ ยวางมือบนหนา้ ตัก
๒) กราบพระรัตนตรยั ๓ ครง้ั ๒.๓) การฝกึ การยืน การเดิน การนง่ั
๓) ทำจติ ใจใหส้ งบมสี มาธิ แลว้ กล่าวบทสวดมนต์ - นัง่ หลังตรงหลับตา และการนอนอยา่ งมีสติ
- กำหนดลมหายใจเข้าออก
การยนื การน่งั การเดิน การนอน คือ การ
หายใจเข้า “พทุ ” การมจี ติ จดจ่อรู้วา่ ตวั เองกำลังทำอะไรอยู่
หายใจออก “โธ” ผลดี : มสี ติ ไม่ประมาท จติ ใจเบิกบาน
๒.๔) การฝกึ กำหนดร้คู วามรู้สึก ๒.๕) การฝึกสมาธิในการฟัง การอ่าน
การคดิ การถาม และการเขียน
คือ การฝกึ ใหอ้ วัยวะของร่างกายรับรู้สงิ่ ตา่ งๆท่อี ยู่
รอบตัวทำใหม้ ีสติ และไมป่ ระมาทในการดำเนนิ ชีวิต มจี ุดมงุ่ หมายเพ่ือใหเ้ กิดความมุ่งมัน่
แนว่ แน่ในการทำกจิ กรรมตา่ ง
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๖ ศาสนพิธี ๗
๑) การอาราธนาศีล ๒) การอาราธนาธรรม
หมายถงึ การกลา่ วขอศลี กับพระภิกษุ เพ่อื หมายถงึ การกลา่ วขอใหพ้ ระภิกษแุ สดงธรรมให้ฟงั
ต้งั ใจรักษาศีลของตนใหม้ ีความบรสิ ทุ ธฺ์ิ การอาราธนาธรรมจะกระทำหลังจากการสมาทานศีลแลว้
ขน้ั ตอนการกลา่ วอาราธนาศลี ศาสนพธิ ี
๑) เจา้ ภาพจดุ ธปู เทียนบชู าพระรัตนตรยั
๒) กลา่ วคำบูชาพระรัตนตรัยและคำนมสั การพระรัตนตรัย คือ ระเบยี บแบบแผนทพี่ งึ ปฏิบตั ใิ นทางพระพุทธ
๓) กล่าวอาราธนาศีล ศาสนาในการประกอบพิธกี รรมทางศาสนา
๓) การอาราธนาพระปรติ ร ๔) ระเบียบพธิ ีและการปฏิบัตติ นในวันธรรมสวนะ
และวนั สำคญั ทางศาสนา
คือ บทท่ีใชส้ วดหลังจากสมาทานศีลแลว้ เพื่อนมิ นต์
ให้พระภิกษุสวดมนต์ทเ่ี ป็นสิรงิ คลในงานทำบญุ วนั ธรรมสวนะ (วนั พระ) ๑ เดือน มี ๔ คร้งั คือ วนั ขึ้น ๘ ค่ำ ,
วนั แรม ๘ คำ่ , วนั ข้นึ ๑๕ ค่ำ , วนั แรม ๑๕ คำ่
ขอ้ ควรปฏบิ ัติ : ตกั บาตร รกั ษาศลี ฟังธรรม
วันสำคญั ทางศาสนา
๑) วันมาฆบชู า ( วนั ขนึ้ ๑๕ คำ่ เดือน ๓) = วนั ทพ่ี ระพุทธเจ้าแสดงโอวาทปาติโมกข์
๒) วันวิสาขบูชา (วันขึน้ ๑๕ ค่ำ เดอื น ๖) = วนั พระพทุ ธเจ้าประสตู ิ ตรัสรู้ ปรนิ ิพาน
๓) วันอฐั มบี ูชา ( วนั แรม ๘ ค่ำ เดอื น ๖) = วนั ถวายพระเพลิงพระพทุ ธสรรี ะ
๔) วนั อาสาฬหบชู า ( วันขึ้น ๑๕ คำ่ เดือน ๘) = ประกาศพระพุทธศาสนาคร้ังแรก
แสดงปฐมเทศนา คอื “ธมั มจักกัปปวตั นสูตร”
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๗ ประวัติศาสดาของศาสนาต่างๆที่คนไทยนับถือ ๘
๑) ประวัตศิ าสดา ๒) การปฏบิ ัติในศาสนพธิ ี
๑) พระพุทธศาสนา ๒.๑) พระพุทธศาสนา
ศาสดา : พระพทุ ธเจ้า ตรัสรูค้ วามจริงอนั ประเสรฐิ ๔ ประการ (อรยิ สจั ๔) ศาสนพิธี : พธิ ที อดกฐิน พธิ บี รรพชา พิธอี ุปสมบท พธิ ขี ึน้ บา้ นใหม่ พิธีศพ
คมั ภีร์ : พระไตรปิฎก รวบรวมหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าไว้
หลักธรรม : โอวาท ๓ คอื การละเว้นความชว่ั การทำความดี การทำจติ ใจ ประวตั ศิ าสดาของศาสนาต่างๆ ๒.๒) ศาสนาอิสลาม
ที่คนไทยนับถือ ศาสนพธิ ี : การละหมาด การถือศีลอด
ใหผ้ อ่ งใสบรสิ ทุ ธิ์
๒.๓) ศาสนาครสิ ต์
๒) ศาสนาอสิ ลาม ศาสนพิธี : พิธศี ีลลา้ งบาป พิธศี ลี กำลัง พธิ ีศลี มหาสนทิ
ศาสดา : นบมี ฮุ ัมมดั (ผแู้ ทนของอลั ลอฮ์)
คมั ภีร์ : คมั ภรี อ์ ัลกุรอาน คำภรี ์สูงสุดที่ชาวมุสลมิ ยดึ มนั่ ๒.๔) ศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู
หลักธรรม : หลักศรัทธา ๖ และ หลักปฏิบตั ิ ๕ ประการ ศาสนพิธี : พธิ ศี ราทธ์ พธิ สี ังสการ
๓) ศาสนาครสิ ต์ ๓) การบำรุงรกั ษาศาสนสถาน
ศาสดา : พระเยซู เปน็ ผนู้ ำพระวจนะของพระเจ้ามาแนะนำสั่งสอนประชาชน
คัมภรี ์ : คมั ภีรไ์ บเบิล เนน้ เร่อื งความรักตอ่ คนรอบข้าง การให้อภยั การเสียสละ พระพทุ ธศาสนา : วดั
หลกั ธรรม : บญั ญตั ิ ๑๐ ประการ ศาสนาอสิ ลาม : มัสยดิ
ศาสนาครสิ ต์ : โบสถ์หรือเชิรช์
๔) ศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู ศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู : เทวสถานหรอื โบสถพ์ ราหมณ์-ฮินดู
ไม่มีศาสดา นับถอื เทพเจา้ ๓ องค์ คอื
ควรดูเเลรกั ษาศาสนสถานใหส้ ะอาดเรยี บร้อย
๑) พระพรหม (เป็นผ้สู รา้ งโลก) ปฏิบัติตามกฎระเบียบของศาสนสถาน
๒) พระวษิ ณุ (เป็นผ้ปู กป้องโลก)
๓) พระศิวะ (เป็นผูข้ ับไลค่ วามช่ัวรา้ ย)
คัมภีร์ : คัมภรี ์พระเวท
-ฤคเวท เปน็ บทสวดสรรเสรญิ เทพเจ้า
-ยชุรเวท เป็นบทสวดบชู ายญั
-สามเวท เป็นบทสวดประกอบพิธีกรรมตา่ งๆ
-อาถรรพเวท เปน็ บทสวดในพิธที างไสยศาสตร์
หลักธรรม : หลกั ธรรม ๑๐ ประการ
สาระท่ี ๒ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ๙
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่ืองการอยูร่ ่วมกันอย่างสนั ติสขุ ตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
๑) การปฎิบัติตนเป็นพลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธิปไตยในชุมชน การอย่รู ว่ มกัน ๒) การปฏิบตั ิตนเปน็ ผนู้ ำและผู้ตามท่ีดี
อย่างสันตสิ ขุ
ประชาธิปไตยมี ๒ สถานะ -ประชาธิปไตยในวิถีชีวิต หมายถึง การปฏบิ ตั ิ ตามวถิ ปี ระชาธิไตย ๒.๑ บทบาทและความรับผดิ ชอบของผู้นำ
ตัวเป็นพลเมอื งดใี นการดำเนินชีวติ ประจำวัน ๓) การลดปญั หาความขัดแยง้ ลักษณะผู้นำที่ดี ได้แก่ ปฏิบตั ติ นใหเ้ ปน็ แบบอย่างทีด่ ี
มีความยตุ ิธรรม , มีคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์ , มีความโอบอ้อม
-ประชาธิปไตยในวถิ ีทางการเมือง หมายถึง ๓.๑) ปญั หาและสาเหตุของการเกดิ ความขดั แย้ง อารี , เสมอตน้ เสมอปลาย , ยกย่อง ชมเชยใหเ้ กยี รตผิ ู้
การปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมอื งดใี นทางการเมอื ง อน่ื , รบั ฟงั ความคิดเหน็ ผอู้ ่ืน , มีมนษุ ย์สมั พันธ์ทีด่ ี
-ความคดิ ที่ต่างกัน เหน็ แกส่ ว่ นรวม , ฉลาด รอบรู้ มไี หวพริบ
๑.๑ คุณธรรมในการปฏิบตั ิตนเป็นพลเมืองดี -ค่านยิ มทต่ี า่ งกัน
-การแข่งขนั หรอื แกง่ เเยงผลประโยชน์ ๒.๒ บทบาทและความรับผิดชอบของผูต้ ามหรือสมาชิก
ยดึ หลักคุณธรรม ๓ ประการ -ความอิจฉารษิ ยา
-เปา้ หมายตา่ งกนั ลกั ษณะผู้ตามทด่ี ี ได้แก่ ยกย่องและให้เกยี รติผูน้ ำ , มี
๑) คารวธรรม เปน็ การเคาพซ่งึ กนั และกัน -การตำหนติ ิเตียนผอู้ นื่ ความรบั ผดิ ชอบในหน้าที่ , ทำงานตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
๒) สามคั คีธรรม การช่วยเหลอื ซ่งึ กันและกนั สำเร็จ , สุภาพอ่อนโยนมสี ัมมาคารวะ , มคี วามซอ่ื สัตย์
๓) ปัญญาธรรม การขยนั หมน่ั เพยี ร ๓.๒) แนวทางการแกไ้ ขปัญหาควมขัดแย้งดว้ ยสนั ตวิ ิธี สจุ ริต , กระตอื รือร้น มุ่งมนั่ , อดทนไมย่ อ่ ทอ้
๑.๒ การเขา้ รว่ มกจิ กรรมประชาธปิ ไตยของชมุ ชน ๑) ไมใ่ ช้ความรนุ แรง ๒.๓ การทำงานกลุ่มใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ
๒) การขจัดเงอื่ นไขความรุนแรง
๑.๓ แนวทางการปฏิบัติตนเป็นสมาชกิ ท่ีดีของชุมชน ๓) สร้างทัศนคตทิ ่ีดีในการอยู่รว่ มกันอยา่ งสนั ติ ตง้ั ใจ , สามคั คี , ทัศนคตดิ ี , ฟังความคดิ เหน็ ผอู้ ่นื ,
ทำงานท่ไี ด้รับมอบหมายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
๑) ปฏิบัติตนตามกฎหมายและระเบียบของชมุ ชน
๒) อนุรักษส์ ่งิ แวดล้อมของชุมชน ๒.๔ ประโยชน์ของการทำงานเปน็ กลุม่
๓) การดแู ลรกั ษาสาธารณสมบัติของชมุ ชน
๔) การพฒั นาชมุ ชน จะทำให้งานทไี่ ด้รับมอบหมายสำเรจ็ ลลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยดี
๕) โบราณสถานและโบราณวัตถุในชุมชน มแี นวทางหลากหลายมากขึ้น
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ สทิ ธขิ องเดก็ ๑๐
๑)สทิ ธทิ ีจ่ ะมีชีวิต สิทธิของเด็ก ๒)สิทธิทจ่ี ะไดร้ บั การปกป้อง
ปจั จบุ นั เดก็ ท่ถี ูกทำทารณุ ในลักษณะต่างๆ เดก็ เหล่านไ้ี ด้ เดก็ มสี ทิ ธิที่จะไดร้ บั การปกปอ้ งดูแลให้รอดพ้นจากอนั ตรายตา่ งๆ
รบั ความยากลำบากในการดำเนินชีวิตไม่ไดร้ บั ความเป็นธรรม
สิทธขิ องเด็กทไ่ี ดร้ บั การปกป้อง เชน่ ได้รบั การ
ซ่ึงทำใหเ้ ดก็ เป็นอนั ตรายท้ังทางรา่ งกายและจติ ใจ คมุ้ ครองจากการถูกละเมดิ ทางเพศ การปอ้ งกนั
ไมใ่ ห้เด็กเขา้ ไปเกยี่ วขอ้ งกับยาเสพตดิ และอบายมขุ
สิทธิของเดก็ ทีจ่ ะมีชวี ติ ผใู้ หญ่ตอ้ งไมท่ ำร้ายเด็ก ไม่ทอดทิง้ ไมท่ บุ ตี
เดก็ ทกี่ ระทำผิดตอ้ งไม่ถูกทรมาน หรือถกู ลงโทษอยา่ งโหดร้าย เด็ก เด็กท่ไี มม่ ีพ่อแม่หรือพลัดพรากจากครอบครวั จะต้องได้รับ
การคมุ้ ครองและไดร้ ับการชว่ ยเหลือตามความเหมาะสม
ควรไดร้ บั ความช่วยเหลือทางการแพทยแ์ ละดูแลสขุ ภาพทจี่ ำเป็น
สิทธิมนุษยชน หมายถงึ สทิ ธขิ นั้ พื้น
๓)สิทธทิ ่จี ะไดร้ ับการพฒั นา ฐานทีม่ นษุ ย์ทกุ คนได้รบั อยา่ งเสมอภาค
เพ่อื ใหเ้ ดก็ พฒั นาไปเป็นผู้ใหญ่ท่ดี ใี นอนาคต ๔)สทิ ธิท่จี ะมสี ่วนรว่ ม
ผใู้ หญจ่ ึงควรส่งเสรมิ และสนบั สนนุ เด็ก
การอย่รู ว่ มกันในสงั คม เด็กสามารถมีส่วนร่วมในการทำกจิ กรรม
สิทธิของเด็กทีจ่ ะไดร้ บั การพฒั นา เชน่ บดิ ามารดาหรือผปู้ กครองต้อง เชน่ เดยี วกบั สมาชกิ ในชุมชน โดยไม่ขัดตอ่ กฎหมายหรือข้อบงั คับ
สอนแตส่ ิ่งทีด่ ีใหแ้ ก่เด็ก เดก็ ทกุ คนต้องได้รบั การศึกษาเป็นเวลา ๑๒
ปี เดก็ ควรได้รบั การพัฒนาทางร่างกาย สตปิ ัญญา สงั คม อารมณ์ สทิ ธขิ องเด็กท่ีจะมีสว่ นรว่ ม เช่น เด็กควรได้พบปะเพือ่ แลกเปลย่ี นความคิดเห็น
กบั ผู้อน่ื ทัง้ น้ีเพ่ือใหเ้ ดก็ ได้เรียนรคู้ วามแตกต่างทางความคดิ เห็น ไดเ้ รียนรู้
และจิตใจ ชุมชนควรมีสถานท่ใี ห้เดก็ ไดพ้ กั ผ่อน การประนปี ระนอมและไดเ้ รยี นร้พู ฤติกรรมของเพื่อนๆในกลุม่ มสี ่วนร่วมใน
ชุมชนเพอ่ื รักษาและอนรุ กั ษ์สิง่ แวดล้อม ฟืน้ ฟปู ระเพณีและวฒั นธรรมของชุมชน
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ การเมอื งการปกครองของไทย ๑๑
๑)สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ตามระบอบปรชาธิปไตย การเมือง ๒)การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
การปกครอง พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ
๑.๑) สถาบันพระมหากษตั ริย์ในสงั คมไทย
ของไทย ๒.๑) การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยของไทย
ทรงยึดถือหลกั ทศพธิ ราชธรรมในการปกครองประเทศ ซึ่งประกอบด้วย
๑) ทาน หมายถึง การให้โดยไม่หวังผล ๓)บทบาทหนา้ ทขี่ องพลเมอื งในกระบวนการเลอื กตั้ง ลักษณะสำคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของไทย
๒) ศลี หมายถงึ ประพฤติที่ดที ัง้ กาย วาจา ใจ ๑) ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนงึ่ อนั เดียว จะเเยกมไิ ด้
๓) บรจิ าค หมายถึง การเสยี สละความสุขส่วนตนเพื่อส่วนรวม ๓.๑) กอ่ นการเลอื กตง้ั ๒) มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมปี ระมหากษตั รยิ ์
๔) ความซอ่ื ตรง หมายถึง การดำรงตนอยู่ในความซ่ือสตั ย์ สุจริต เป็นประมุข
๕) ความออ่ นโยน หมายถึง การมอี ธั ยาศยั ไมตรี กิรยิ านุ่มนวล ๑) ให้ความสนใจและตดิ ตามข่าวการเลอื กตั้ง ๓) อำนาจอธิปไตยเป็นอำนาจสงู สดุ ในการปกครองประเทศ
๖) ความเพียร หมายถงึ ความวิรยิ อตุ สาหะในการปฏบิ ัตงิ าน ๒) ศึกษาประวัตผิ ู้เลือกตงั้ อำนาจอธิปไตย ไดแ้ ก่
๗) ความไม่โกรธ หมายถงึ ไม่มงุ่ รา้ ยผ้อู ืน่ ไมอ่ าฆาตพยาบาท ๓) กระตุ้นให้คนเห็นความสำคัญการเลอื กต้ัง -อำนาจนิตบิ ญั ญัติ ผ่าน รัฐสภา
๘) การไมเ่ บยี ดเบียน หมายถงึ การไม่สรา้ งทกุ ข์แกผ่ ู้อ่ืน ๔) ตรวจสอบสิทธกิ ารเลือกตง้ั มีหนา้ ที่ ออกกฎหมาย , ควบคมุ การทำงานของรัฐ
๙) ความอดทน หมายถึง อดทนต่อส่ิงตา่ งๆทง้ั กาย วาจา ใจ ๕) สอดส่องดแู ลเกย่ี วกบั การกระทำผดิ ตา่ งๆในการเลือกต้ัง -อำนาจบริหาร ผ่าน คณะรัฐมนตรี
๑๐) ความยุตธิ รรม หมายถงึ ความหนกั แนน่ ความถกู ต้อง มีหนา้ ที่ บริหารประเทศให้เป็นไปตามกฎหมาย
๓.๒) ระหว่างการเลือกตงั้ -อำนาจตลุ าการ ผ่าน ศาล
๑.๒) ความสำคัญของสถาบันพระมหากษตั รยิ ใ์ นสงั คมไทย มีหน้าท่ี ตดั สินคดีความตามกฎหมาย
๑) ตดิ ตามรับฟงั การหาเสียงของพรรคการเมอื ง ๔) รฐั ธรรมนญู เป็นกฎหมายสงู สดุ
พระมหากษัตริยไ์ ทยทรงมคี วามสำคัญต่อสังคมไทย ดงั นี้ ๒) สอดส่องดแู ลเพ่อื ไม่ใหม้ กี ารกระทำผดิ ใดๆ ๕) รปู แบบการปกครองแบบรฐั สภา ประกอบด้วย ๒ สภา
๑) ทรงเป็นประมขุ ของชาติ ม่งิ ขวัญของประชาชนคนไทย ๓) รณรงคใ์ ห้คนไปใช้สิทธเิ ลอื กตัง้ คือ สภาผแู้ ทนราษฎร , และวุฒิสภา
๒) ทรงเปน็ ศูนยร์ วมเเหง่ ความเป็นชาตแิ ละความสามัคคขี องคนในชาติ ๔) ไปใช้สทิ ธเิ ลือกต้งั ตามวนั เวลาทกี่ ำหนด ๖) ประชาชนชาวไทยยอ่ มได้การปกครองตามกฎหมายรัฐธรรมนญู
๓) ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเปน็ ทีเ่ คารพสักการะ ผใู้ ดจะละเมิดมไิ ด้ ๕) สังเกตการณ์การนบั คะแนน ๗) สทิ ธเิ สรภี าพของบุคคลยอ่ มไดร้ ับความคมุ้ ครอง
๔) ทรงสรา้ งความเป็นปกึ แผน่ ให้แกช่ าติ ๖) ตดิ ตามการประกาศผลนับคะแนน ๘) ประชาชนมีสิทธิออกเสียงหรือลงสมคั รเพอ่ื เขา้ รบั เลอื กต้งั เปน็
๕) ทรงทำนุบำรุงศิลปวฒั นธรรมแขนงตา่ งๆ ผ้แู ทนราษฎรตามกฎหมาย
๖) ทรงนำความเจรญิ ก้าวหนา้ ในด้านต่างๆจากตา่ งประเทศเขา้ มาเพ่อื ให้ ๓.๓) หลงั การเลอื กต้งั ๙) รฐั บาลมาจากเสียงส่วนใหญข่ องผู้แทนราษฎรในสภา
บา้ นเมืองเจริญทัดเทยี มกับนานาอารยประเทศ ๑๐) ประชาชนมีสทิ ธิและเสรภี าพในด้านต่างๆ
๗) ทรงเปน็ ผูน้ ำในการพฒั นา ๑) ติดตามผลการทำงานของพรรคการเมอื ง
๒) เขา้ ลงชอื่ ถอดถอนผู้ท่ที จุ รติ ในการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี ๒.๒) ความสำคัญของการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษัตริย์เปน็ ประมุข
แบ่งเปน็ ๓ ดา้ น คือ
-ด้านความเสมอภาค
-ด้านสิทธิ
-ดา้ นเสรีภาพ
หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๔ วัฒนธรรมไทย ๑๒
๑) ความหมายและประเภทของวฒั นธรรม วัฒนธรรม ๒) วฒั นธรรมในภาคตา่ งๆ
๑.๑) ความหมายของวฒั นธรรม ๒.๑) วฒั นธรรมการรบั ประทานอาหาร
วัฒนธรรมมคี วมหมายอยู่ ๔ ประการ คือ ๒.๓) วัฒนธรรมด้านภาษา ๑) ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื = อาหารท่นี ยิ มมักมีรสจดั
๑) ส่ิงท่ที ำความเจรญิ งอกงามให้แกห่ ม่คู ณะ เชน่ ลาบ สม้ ตำ นำ้ ตก นิยมกินกบั ขา้ วหนียว นยิ ม
๒) วถิ ีชีวติ ของหมคู่ ณะ กนิ ปง้ิ ยา่ งมากกว่าทอด มีการถนอมอาหาร เช่น ปลาร้า
๓) ลกั ษณะทแ่ี สดงถึงความจริญงอกงาม ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย ๒) ภาคเหนอื = มีหลากหลาย เชน่ น้ำพรกิ หนุ่ม นำ้
ความกลมเกลียวกา้ วหนา้ ของชาติและศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน พรกิ อ่อง แกงโฮะ แกงฮงั เล นยิ มทานขา้ วเหนยี ว นำ
๔) พฤตกิ รรมและสงิ่ ทคี่ นในหมู่คณะสร้างขนึ้ ด้วยการเรยี นร้ซู ง่ึ กันและ ขา้ วมาแปรรปู เปน็ อาหาร ได้แก่ ข้าวซอยและขนมจีนน้ำ
กนั และรว่ มใชอ้ ยใู่ นหมู่คณะของตน เงีย้ ว อาหารพืน้ เมือง เช่น จ๊นิ ป้งิ จิน๊ สม้ แคบหมู
ไสอ้ ่วั ผักกาดจอ ถ่วั เน่า
๑.๒) ประเภทของวฒั นธรรม แบ่งได้ ๒ ประเภท ๓) ภาคใต้ = นยิ มรับประทานอาหารรสจัดมากกวา่ ภาค
อื่น เช่น แกงไตปลา แกงส้ม นำ้ พริกกุง้ เสียบ อาหาร
๑) วฒั นธรรมทางวัตถุ เป็นวฒั นธรรมท่ีมองเห็นและสมั ผัสได้ พ้นื เมอื งเช่น ข้าวยำ บูดหู ลน ผกั ที่นิยม ไดแ้ ก่ สตอ
๒) วฒั นธรรมทางจติ ใจ เป็นวัฒนธรรมท่ีไม่สามารถมองเห็นได้และสมั ผัสได้ และลกู เนียง
๔) ภาคกลาง = มีอาหารพ้ืนเมืองมากมายหลายชนดิ
เชน่ แกงบอน แกงเขียวหวาน แกงขีเ้ หลก็ พะแนง
น้ำพริกปลาทู นำ้ พริกลงเรือ นยิ มทานขา้ วเจ้า
๒.๔) วฒั นธรรมด้านประเพณี ๒.๒) วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย
๑) ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื = แหป่ ราสาทผงึ้ การแหเ่ ทียนพรรษา การไหลเรอื ไฟ ๑) ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื -ผูห้ ญงิ = นุง่ ผา้ ซนิ่ หรือผา้ ถุงส้ันประมาณเขา่ เส้ือแขนยาวผ่าหนา้ ตดิ กระดุม
การแหผ่ ีตาโขน การแห่นางแมว การทำบญุ บัง้ ไฟ -ผชู้ าย = สวมเสอ้ื ผา่ หนา้ ตดิ กระดมุ มผี ้าขาวม้าคาดเอว
๒) ภาคเหนอื = ปอยหลวง ปอยลกู แก้ว ยี่เป็ง งานสลากภัต งานทานโดม
๓) ภาคใต้ = การชักพระ การทำบุญเดอื นสิบ การแห่ผ้าข้ึนธาตุ ๒) ภาคเหนอื -ผู้หญงิ = สวมเสอื้ คอกลมทำจากฝา้ ย นงุ่ ผา้ ซ่ินยาวลวดลายสวยงาม
๔) ภาคกลาง = การรบั บัว การว่งิ ควาย การตกั บาตรเทโว -ผูช้ าย = สวมเสื้อม่อฮอ่ มยอ้ มสคี ราม น่งุ กางเกงคร่งึ แข้ง เรียก “เตยี่ ว”
๓) ภาคกลาง -ผู้หญิง = สวมเส้อื แขนยาวคอกลม ห่มสไบ นุ่งซน่ิ ยาวถงึ ข้อเท้าหรือนุ่งโจงกระเบน
-ผ้ชู าย = นงุ่ กางเกงคร่ึงแขง้ สวมเสอ้ื คอกลมถ้าในพธิ ีนงุ่ เสอ้ื เเขนยาวสขี าว
๔) ภาคใต้ -ผู้หญิง = สวมเสือ้ สอี ่อนคอกลม แขนสามสว่ น
-ผู้ชาย = กางเกชาวเล นุ่งโจงกระเบน มีผา้ ขาวมา้ คาดเอวหรือพาดบา่
สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ ๑๓
หนว่ ยการเรยี นรู้ ๑ การเลือกซ้อื สินคา้ และบรกิ าร
๑) การเลอื กซื้อสินค้าและบริการ การเลอื กซื้อสนิ คา้ ๒) สิทธิของผู้บรโิ ภค
และบริการ
สินคา้ คือ สิง่ ทีส่ ามารถนำมาซือ้ ขายเเลกเปลย่ี น ผบู้ รโิ ภค หมายถึง ผูใ้ ช้สนิ ค้าและบรหิ าร
กันเพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการของมนษุ ย์ ๓) สนิ คา้ และบรกิ ารที่มเี คร่ืองหมายรับรองคณุ ภาพ เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของตนเอง
บริการ คือ การใหป้ ระโยชน์ในด้านการอำนวยความ สทิ ธพิ ื้นฐานของผู้บริโภค
สะดวกสบาย ความพึงพอใจ ความรู้ และความบันเทิง
๓.๑) เครอื่ งหมายทก่ี ำหนดขน้ึ และให้การรับรองโดยสำนักงาน พระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองผูบ้ รโิ ภคได้บญั ญตั สิ ทิ ธิของผบู้ รโิ ภคที่
๑.๑) สนิ คา้ และบรกิ ารที่มอี ยหู่ ลากหลายในตลาดท่มี ี มาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมหรือ สมอ. โดยกำหนด ได้รบั การคุ้มครองตามกฎหมาย ๕ ประการ ดังนี้
ความแตกตา่ งดา้ นราคาและคุณภาพ เคร่ืองหมายมาตรฐานสินคา้ อุตสาหกรรม (มอก.)
๑) สิทธใิ นกรเลือกซ้ือสนิ คา้ และบรกิ ารอยา่ งอิสระ
๑.๒) ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการเลือกซอ้ื สนิ ค้าและบรกิ าร - เคร่อื งหมายมาตรฐานทวั่ ไป ๒) สทิ ธิในการไดข้ อ้ มลู ขา่ วสารจากการโฆษณา หรือการ
เป็นเครื่องหมายสำหรบั ผลิตภัณฑอ์ ปุ โภคบริโภค แสดงคณุ ภาพของสนิ คา้ และบริการอยา่ งถูกต้องและเพียงพอ
๑) ราคาสนิ ค้า ๓) สทิ ธิท่ีจะไดร้ บั ความปลอดภยั จากการใชส้ นิ ค้าและบรกิ าร
๒) รายได้ของผมู้ ีคุณภาพ - เครือ่ งหมายมาตรฐานบงั คบั ๔) สทิ ธิทีจ่ ะได้รับการชดเชยความเสียหายเมอ่ื ถกู ละเมิด
๓) ความพงึ พอใจของผบู้ ริโภค เป็นเครอื่ งหมายสำหรับผลติ ภณั ฑท์ ่กี ฎหมาย ๕) สทิ ธทิ ่ีจะไดร้ บั ความเปน็ ธรรมในการทำสญั ญา
๔) การโฆษณาสนิ ค้าและบริการ
๕) คุณภาพของสนิ คา้ เเละบรกิ าร กำหนดวา่ ต้องมีคณุ ภาพตามาตรฐาน หลักการและวธิ กี ารเลอื กซ้ือสนิ คา้
๖) อายขุ องผ้บู ริโภค
๗) รสนยิ ม ๓.๒) เคร่ืองหมายท่กี ำหนดขนึ้ และใหก้ ารรับรอง ๑) เลอื กซือ้ เฉพาะสินคา้ และบริการท่มี ีความจำเป็นในการดำรงชวี ิตเทา่ นน้ั
โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา อย. ๒) เลือกซอ้ื สินคา้ และบริการท่ีมีคุณภาพดี ราคาเหมาะสม
๓) ซื้อสินค้าเเละบริการทีม่ ีเครอ่ื งหมายรบั รองคุณภาพ
เป็นเครอื่ งหมายสำหรบั ผลติ ภณั ฑป์ ระเภท ๔) ไมเ่ ลือกซื้อสนิ คา้ และบริการตามคำโฆษณาชวนเชอื่
อาหารและยา สินคา้ ทม่ี ีเครอ่ื งหมายรบั รอง ๕) ไม่ควรซือ้ สินค้าและบรกิ ารอยา่ งฟมุ่ เฟือย
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๒ เศรษฐกจิ พอเพยี งและความสมั พันธท์ างเศรษฐกิจ ๑๔
๑) เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี ง ๓) ความสมั พันธท์ างเศรษฐกิจในชมุ ชน
และความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจ
ความพอเพยี ง ๓.๑) อาชีพ สนิ คา้ เเละบรกิ ารต่างๆที่ผลิตในชุมชน
๒) การประยุกตใ์ ชป้ รัชญาของเศรษฐกิจ
ความพอเพยี งประกอบด้วยคณุ ลักษณะ ดังน้ี พอเพียงในการดำรงชวี ติ - อาชพี ประมงทำใหเ้ กดิ สินค้า คอื ก้งุ หอย ปู
๑) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี - อาชีพแม่ครวั ทำให้เกิดสนิ คา้ คือ อาหาร
๒) ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตดั สนิ ใจทำ ๑) มีความประหยัด อดออม ใชจ้ ่ายแตส่ ่ิงท่จี ำเปน็ - อาชพี ทำนาทำให้เกดิ สนิ ค้า คือ ขา้ วเปลือก
สงิ่ ต่างๆอยา่ งมีเหตผุ ล ๒) รับประทานอาหารในปริมาณท่เี หมาะสม - อาชีพชาวสวนผลไม้ทำใหเ้ กดิ สินค้า คอื ผลไม้
๓) การมภี มู คิ มุ้ กนั ทีด่ ี หมายถงึ การเตรยี ม ๓) ซ่อมเเซมส่งิ ของทีช่ ำรุดใหน้ ำกลับมาใช้ใหม่ - อาชพี ขับรถโดยสาร คือ การบรกิ ารโดยสารรถประจำทาง
ตัวให้พรอ้ มกบั ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลง ๔) การชว่ ยเหลือและแบ่งปนั ผู้อื่น - อาชีพตัดเย็บเสอื้ ผ้า คอื การบรกิ ารรบั ตดั เย็บเสอ้ื ผา้
เง่อื นไข ๓.๒) การพงึ่ พาอาศยั กันทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน
ประกอบด้วยคณุ ลกั ษณะ ดังนี้ การซอื้ ขาย หมายถงึ การซอ้ื ขายสนิ ค้าและ
๑) เงือ่ นไขความรู้ หมายถึง ต้องมีความรอบรใู้ นดา้ นต่างๆ บรกิ ารโดยใช้เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลยี่ น
๒) เง่อื นไขคุณธรรม หมายถงึ การมศี ลี ธรรม
การก้ยู มื เงนิ คือ การยืมเงนิ จากบคุ คลหรอื
สถาบันการเงนิ โดยผกู้ ูต้ อ้ งเสียดอกเบ้ยี พร้อมทั้ง
ชำระเงินคืนตามระยะเวลาทีก่ ำหนด
๓.๓) การสรา้ งความเขม้ แข็งใหช้ มุ ชน
ด้วยการใชส้ ง่ิ ของที่ผลิตในชมุ ชน
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๓ หน้าทข่ี องเงินเบอ้ื งต้น ๑๕
๑) ความหมายและประเภทของเงนิ ๒) หนา้ ทีเ่ บือ้ งตน้ ของเงนิ ในระบบเศรษฐกจิ
๑.๑) ความหมายของเงนิ หนา้ ท่ีของเงินเบ้อื งต้น ๒.๑) เงนิ เปน็ ส่ือกลางในการแลกเปล่ียน
เงนิ (Money) คือ สอ่ื กลางในการแลกเปลยี่ นและไดร้ ับ ๓) สกลุ เงินสำคัญที่ใชใ้ นการซอ้ื ขาย เงนิ เปน็ สิง่ ทีผ่ ูซ้ ือ้ และผ้ขู ายยอมรับให้เปน็ สอื่
การยอมรบั กนั โดยทั่วไปตามกฎหมายใหส้ ามารถจา่ ยชำระ แลกเปลยี่ นระหวา่ งประเทศ กลางในการเเลกเปล่ียนสินคา้ และบริการ
หน้รี ะหวา่ งผบู้ ริโภคและผู้ผลิต โดยบนธนบัตรของไทยจะมี
ขอ้ ความวา่ “ธนบตั รเป็นเงนิ ทีช่ ำระหน้ีได้ตามกฎหมาย” เงนิ ท่ีใช้กนั อยู่ในแต่ละประเทศ เปน็ ส่งิ ทม่ี ีคา่ มาตรฐาน ใชช้ ำระหนีไ้ ด้ ๒.๒) เงนิ เปน็ หนว่ ยมาตรฐานในการวดั มลู คา่
ตามกฎหมาย ใช้เป็นส่ือกลางในการแลกเปล่ียนและใช้เป็นหน่วยวัดมูลค่า
๑.๒) ประเภทของเงิน การแสดงราคาเป็นหนว่ ยมาตรฐานของเงิน
สกลุ เงิน คอื หน่วยทีใ่ ช้ในการแลกเปลย่ี นในรปู แบบของเงิน ช่วยให้ผ้ซู อ้ื และผู้ขายสามารถเปรยี บเทยี บ
ในอดีตเคยมีการใช้สิ่งของท่มี ีค่า หายาก และสังคม ซ่ึงแต่ละประเทศหรือกลุ่มประเทศจะใช้สกลุ เงนิ แตกต่างกนั มูลคา่ ของสนิ คา้ และบริการแตล่ ะชนดิ ไดง้ า่ ย
ยอมรบั เชน่ หอย เบี้ย หนังสัตว์ แรท่ ่ีมีคา่ เปน็
สื่อกลางในการแลกเปลยี่ น แต่เน่อื งจากพกพาไม่ ซอ้ื ขายกันไดส้ ะดวกขน้ึ
สะดวกและแตกหกั งา่ ยจึงมีพฒั นามาอยใู่ นรปู ธนบตั ร
๒.๓) เงินเปน็ มาตรฐานในการชำระหนี้ในอนาคต
และเหรยี ญกษาปณ์ มคี วามคงทนพกพางา่ ย
ในกรณที มี กี ารกูย้ ืม เชน่ ก้เู งินเพอ่ื ซ้ือบา้ น โดยผูข้ าย
ยนิ ดีให้ผซู้ ื้อชำระเงินในภายหลัง เมือ่ ครบกำหนดชำระ
หน้ผี ูก้ ู้ตอ้ งใช้ เงนิ มาชำระให้แกผ่ ขู้ ายพร้อมดอกเบย้ี
๒.๔) เงนิ เปน็ สงิ่ สะสมมูลค่า
เงินเปน็ สินทรัพยส์ ภาพคลอ่ ง ผคู้ นสว่ นใหญ่นยิ ม
เก็บสะสมไวเ้ พื่อนำมาแลกเปลยี่ นสินค้าและบริการ
เมื่อนำไปฝากในธนาคารกจ็ ะได้รบั ดอกเบยี้ เงินฝาก
สาระที่ ๕ ภมู ิศาสตร์ ๑๖
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ ลักษณะทางกายภาพของจังหวดั
๑) การเข้าใจพื้นท่ีจงั หวัด ลักษณะทางกายภาพ ๒) ลกั ษณะทางกายภาพของจงั หวดั
ของจงั หวัด
ปจั จัยที่เกย่ี วขอ้ งกบั ลกั ษณะของจงั หวดั ๒.๑) ภูมปิ ระเทศ
- ลักษณะทางกายภาพ ๒.๔) พืชพรรณธรรมชาติ เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ คอื ลกั ษณะของพื้นผวิ โลกท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงความสงู -ตำ่ ของ
- ลักษณะทางวัฒนธรรม อยูใ่ นรูปของปา่ ไม้ตา่ งๆ มีความสมั พันธก์ ับภูมิประเทศ พนื้ ที่ ลกั ษณะภูมิประเทศมหี ลายรูปแบบ แบง่ ออกได้ ดงั น้ี
- ลกั ษณะทางสงั คม ภมู ิอากาศ และแหลง่ นำ้
๑) ภูเขา เป็นลักษณะของพน้ื ท่ีที่มรี ะดบั สูงขึน้ จากบรเิ วณโดยรอบ พื้นที่
๑.๑) ลกั ษณะทางกายภาพ ๒.๕) สัตว์ปา่ มีมากมายหลายชนิดแตกตา่ งไปตามสภาพ เขาส่วนใหญ่มปี ่าไม้ปกคลมุ เปน็ ต้นน้ำลำธาร เปน็ ทอี่ ยขู่ องสตั วป์ ่า
คอื สง่ิ ทป่ี รากฎใหเ้ ห็นในพน้ื ท่ีจงั หวดั ทเ่ี ปน็ ป่า ปริมาณและชนดิ ของสัตวป์ า่ บอกคุณภาพความอดุ ม ๒) ที่ลาดเชิงเขาและท่ดี อน เป็นพ้ืนท่ีท่ตี อ่ เนือ่ งจากภูเขา เป็นเขตทมี่ ีดิน
สงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาติ เชน่ ภูมปิ ระเทศ สมบรู ณข์ องป่าและคณุ ภาพของคนทอี่ ยู่ในประเทศน้ัน ตะกอนหยาบ เช่น กรวด ทราย ดินปนทราย ดินรว่ น ไมย้ ืนตน้
ภมู อิ ากาศ ดิน แหล่งน้ำ พชื พรรณ แร่ ๓) ทรี่ าบ เปน็ เขตที่อยถู่ ัดจากท่ลี าดเชงิ เขา มีลัษณะราบเรียบมแี มน่ ำ้ ไหล
สตั ว์ป่า เป็นต้น ผ่าน เป็นเขตทม่ี กี ารตงั้ ถ่ินฐานแนน่ หนาโดยเฉพาะแถวแม่น้ำลำครอง พืช
พรรณสว่ นใหญ่เป็นพชื พรรณเกษตร
๑.๒) ลกั ษณะทางวฒั นธรรม ๔) ที่ล่มุ เปน็ พน้ื ที่ทต่ี อ่ จากท่ีราบ มลี ักษณะเปน็ ที่ราบสลบั กับทล่ี ่มุ
คือ สิง่ ทีข่ ึ้นจากความรู้ ความคดิ ของมนษุ ย์ เพ่อื ตะกอนเปน็ ดินเหนียว ดินโคลน ดนิ เลน เปน็ พชื ทนเค็มหรือพชื นำ้ กรอ่ ย
ปรบั ตวั ให้เข้ากบั สภาพแวดล้อมในพน้ื ท่ี มีการ ๕) ชายฝง่ั ทะเล เป็นแนวที่ชายฝ่ังและชายทะเลประกบกนั ชายฝง่ั มีหาด
ถา่ ยทอดต่อกนั มา แสดงให้เหน็ ถึงความเจรญิ ทราย เกาะสนั ดอนใต้นำ้ ประกอบกนั เป็นชายฝัง่ ทะเล พชื พรรณป่า
งอกงาม เช่น สงกรานต์ การนับถือศาสนา ชายหาดและป่าชายเลน
๑.๓) ลกั ษณะทางสงั คม ๒.๒) ภูมอิ ากาศ ลักษณะภมู ิอากาศในแตล่ ะจงั หวัดมีความแตกต่างกนั
คือ การดำรงอย่ขู องคนใน ปัจจัยทกี่ ำหนดลักษณะอากาศสำคัญ คือ อุณหภูมิ ความช่นื และลม
แตล่ ะพ้ืนที่ทม่ี ีการปรับตัวให้ นอกจากนย้ี ังมฤี ดกู าลเป็นปจั จยั ท่กี ำหนดลักษณะภมู ปิ ระเทศ มีผลต่อ
เขา้ กบั ลักษณะกายภาพและ การดำเนนิ ชีวิตของคนในพื้นท่ี และมผี ลตอ่ การประกอบอาชีพเพาะปลูก
ลักษณะทางวัฒนธรรม
๒.๓) แหล่งนำ้ เปน็ ทรัพยากรในทอ้ งถน่ิ มกั อยู่ใน
ภมู ปิ ระเทศตา่ งๆ เปน็ ทรัพยากรที่มคี วามสำคญั ต่อทอ้ งถ่ิน
๓) พน้ื ท่ีภูมสิ ัมพันธ์สร้างสรรคส์ ิ่งแวดล้อม ลกั ษณะทางกายภาพ ๑๗
ทรัพยากรธรรมชาติและการดำเนนิ ชีวติ ของจงั หวัด ๔) การใช้แผนท่ีและรปู ถ่ายเพือ่ การเรียนรู้พืน้ ท่จี ังหวัด
๑) ภเู ขาและทีส่ งู เปน็ แหลง่ ทรัพยากรธรรมชาตทิ ีส่ ำคญั คือเป็น ๔.๑) แผนทแ่ี สดงลักษณะต่างๆของจงั หวดั สงขลา
แหลง่ แรแ่ ละแหล่งหนิ ชนดิ ต่างๆทีม่ ีความสำคัญทางเศรษฐกจิ
๒) ทลี่ าดเชงิ เขาและท่ดี อน เนนิ เขาบางลกู มีแรด่ นิ ขาวใช้ทำ พืน้ ทเี่ กาะเตา่ และเกาะนางยวน
อุตสาหกรรมเซรามกิ บรเิ วณตะกอนรปู พดั เปน็ ดินอดุ มสมบรู ณ์ด้วย
ธาตอุ าหารจึงเหมาะแก่การทำสวน คนในพื้นท่ปี ระกอบอาชพี ทำไร่ ๔.๒) การใชภ้ าพถ่ายเพื่อศกึ ษาลักษณะทางกายภาพ
๓) ท่รี าบ เปน็ พน้ื ท่ีตน้ กำเนิดดนิ มนี ำ้ เป็นตวั พดั พา ตะกอนท่ที ับถม แหล่งทรพั ยากรและสถานที่สำคัญในจังหวัด
ในท่ีราบมักเป็นตะกอนละเอียด อดุ มดว้ ยธาตุอาหารพนื้ ท่อี ุดมสมบรู ณ์
เหมาะแก่การเพาะปลูก ผ้คู นสว่ นใหญน่ ิยมมาตัง้ ถน่ิ ฐาน พระบาทสมเดจ็ พระมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถพิตรทรง
๔) ที่ลมุ่ เป็นพื้นที่ตำ่ มีน้ำขงั ตลอดปหี รอื บางช่วง จงึ ใช้พืน้ ท่เี ปน็ บ่อ ใชแ้ ผนที่เป็นเครื่องมอื สำคญั ในการทรงงานนำแผนที่ติดพระองค์
เลี้ยงปลา เลี้ยงกุ้ง ทำฟาร์มบัว ปัจจุบันพฒั นาเปน็ สถานท่พี ักผอ่ น ทุกคร้ัง เพื่อทรงใช้ประกอบพระราชวินจิ ฉัยในการพัฒนาทดี่ นิ และ
เเละท่องเทย่ี ว แหล่งนำ้ สำหรับราษฎร
๕) ชายฝง่ั ทะเล เป็นแหล่งทรพั ยากรท่สี ำคัญ ลักษณะทางกายภาพ
เปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอด ผ้คู นสว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี ประมง อาชพี
บริการนักท่องเทยี่ ว เป็นเส้นทางการค้าขายท่ีสำคัญ
๓.๒) แหล่งน้ำ ถอื เปน็ ทรพั ยากรท่ีหล่อเลยี้ งชีวติ ทกุ ชวี ติ ทง้ั พืชพรรณ สตั ว์
นำ้ และมนุษย์ จึงมกี ารตัง้ ถิน่ ฐานอยา่ งหนาแน่นตามบรเิ วณฝงั่ ลำคลองหรอื
แม่นำ้ ผคู้ นประกอบอาชพี เพาปลูก เล้ียงสตั ว์ ประมงน้ำจืด แหลง่ น้ำทำให้
เกดิ ประเพณีและวฒั นธรรม เชน่ ลอยกระทง ไหลเรอื ไฟ
๓.๓) ป่าไม้ เป็นทรัพยากรที่ชว่ ยใหเ้ กิดทรพั ยากร
อน่ื ๆ ป่าไม้ยังช่วยปอ้ งกนั การพงั ทลายของแผน่ ดนิ
ความผูกพันระหวา่ งคนและป่าไมท้ ำให้เกดิ ประเพณี
บวชป่า ซ่ึงเปน็ ภูมปิ ัญญาของคนในชุมชนที่จะอนรุ กั ษ์
ปา่ ไมไ้ มใ่ หถ้ ูกทำลาย
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ การเปล่ยี นแปลงและอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติในจงั หวัด ๑๘
๑) สง่ิ แวดล้อมในจงั หวัด การเปลยี่ นแปลง ๒) การเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดล้อม
และอนรุ ักษ์
สงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาติ = มอี ย่ทู ้ังบนพ้ืนดิน ท้องฟา้ ผืนนำ้ เชน่ แร่ ลักษณะ สิง่ แวดล้อมและ ๒.๑) ปัจจัยท่ีทำใหเ้ กิดการเปลีย่ นแปลงของสิง่ แวดลอ้ ม มดี งั น้ี
ภูมปิ รเทศแบบตา่ งๆพืชพรรณธรรมชาติ สตั ว์ปา่ ทอ้ งฟ้า มีน้ำคา้ ง ฯลฯ
ทรัพยากรธรรมชาติ ๑) การเปลยี่ นแปลงท่เี กดิ จากธรรมชาติ มี ๒ ลกั ษณะ
สง่ิ แวดลอ้ มทางวฒั นธรรม = ระเบียบวินยั กฎเกณฑ์ ประเพณี ในจังหวัด ๑.๑) การเปลี่ยนแปลงแบบช้าๆใชเ้ วลายาวนาน
ความเช่อื ความศรทั ธา วิถีชีวติ ศาสนา ภาษา วิธีประพฤตปิ ฏบิ ัติ เช่น การผกุ รอ่ นของหิน (แหลมตะลมุ พุกจังหวดั นครศรีธรรมราช
เป็นลกั ษณะภูมปิ ระเทศท่เี กดิ จากการกระทำของคลนื่ และลมบรเิ วณชายฝ่งั )
สิง่ แวดล้อมทางสังคม = พืชไร่ ท้องนา บ่อปลา ฝงู สตั ว์ บ้านเรือน ๑.๒) การเปลี่ยนแปลงแบบฉบั พลนั ในระยะเวลาสัน้ ๆ เชน่ นำ้ ท่วม แผ่น
ชมุ ชนเมือง ชมุ ชนชนบท ถนน สะพาน ชมุ ชนชาวเขา ชุมชนชาวนา ดินไหว การทรดุ ถล่มของแผน่ ดนิ
๒) การเปล่ยี นแปลงที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์
การพัฒนาเทคโนโลยีดา้ นตา่ งๆของมนษุ ยเ์ ป็นสาเหตสุ ำคัญท่ีทำให้
ทรัพยากรธรรมชาติถกู ทำลายลงอยา่ งรวดเรว็
๒.๒) ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงของสง่ิ แวดล้อม
เช่น ดนิ ถลม่ เนือ่ งจากฝนตกหนักและไม่มรี ากไม้ยดึ เกาะหนา้ ดนิ
การตัดไม้ทำลายปา่ ทำใหเ้ กิดความแห้งแลง้ มากขนึ้
๓) การตั้งถ่นิ ฐาน การยา้ ยถิน่ ฐาน ๔) การจดั การสิง่ แวดล้อมในจังหวัด
๓.๑) การตงั้ ถน่ิ ฐาน สิ่งแวดล้มทีอ่ ดุ มสมบรู ณ์และมที รพั ยากรธรรมชาตทิ ี่ ดิน = ไมใ่ ชส้ ารเคมใี นการเพาะปลกู พืชเน่ืองจากใหเ้ กิดสารพิษตกค้าง ปลูกพืชคลุมดิน เพอ่ื รักษาหนา้ ดนิ
จำเป็นต่อการดำรงชวี ติ ของมนษุ ย์ เป็นปัจจยั สำคัญทที่ ำให้เกิดเป็นชมุ ชน น้ำ = ไม่ทิ้งขยะหรอื ส่งิ ปฏิกูลลงในแหลง่ น้ำ ใช้นำ้ อยา่ งประหยัดให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ
ขนาดใหญท่ ีม่ ีสาธารณปู โภค แร่และเชอื้ เพลงิ = ใช้อยา่ งประหยัด ควบคมุ ปรมิ าณการใช้ หาพลงั งานอืน่ มาทดแทน
ปา่ ไม้ = ปลูกต้นไม้ทดแทนตน้ ไมท้ ีถ่ กู ตดั ไป ดแู ลเเละปอ้ งกนั ไม่ใหม้ ีการบกุ รกุ
๓.๒) การยา้ ยถ่นิ ฐาน มี ๒ ลักษณะ
๑) การย้ายเข้าเมือง ทำใหเ้ กดิ ปัญหาชมุ ชนแออดั ทอ่ี ยอู่ าศยั ไมเ่ พียงพอ เกิดปญั หาสังคม ออกกฎหมาย = เพือ่ ควบคุมการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ
๒) การยา้ ยออก ทำให้เกดิ ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน พื้นทที่ ำกินเกิดการวา่ งเปลา่ ไม่ไดใ้ ชป้ ระโยชน์ มีความรู้ = ความเข้าใจเก่ยี วกับสง่ิ แวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ
ฟื้นฟสู ิง่ แวดลอ้ ม = ทรพั ยากรท่ีเสอื่ มโทรมใหก้ ลับมาสมบรู ณ์
การแกป้ ญั หา = การสรา้ งงานในชนบทเพื่อสรา้ งรายได้ ปรบั ปรุงคณุ ภาพ ใชอ้ ย่างประหยดั = คุ้มคา่ และใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด
การศึกษาใหเ้ ทา่ เทียม ปลกู ฝังใหค้ นในชุมชนรักถ่นิ ฐานเหน็ คณุ คา่ ของพน้ื ที่
วิชาประวัติศาสตร์ ๑๙
สาระที่ ๔ ประวตั ิศาสตร์
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ การนับชว่ งเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ
๑) ทศวรรษ การนบั ช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ๓) สหัสวรรษ
ศตวรรษ และสหสั วรรษ
หมายถงึ ช่วงเวลา ๑๐ ปี หมายถึง ชว่ งเวลา ๑,๐๐๐ ปี
ทศวรรษ ๒๐๒๐ นบั ตงั้ แต่ ค.ศ.๒๐๒๐ ไปจนถึง ค.ศ.๒๐๒๙ ๒) ศตรวรรษ
หมายถึง ช่วงเวลา ๑๐๐ ปี
ตวั อย่าง
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ ยุคสมัยและหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ๒๐
๑.๑) สมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ ยุคสมัยและหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ๑.๒) สมัยประวตั ศิ าสตร์
คอื ยุคสมยั ท่ีมนุษยย์ ังไมไ่ ดป้ ระดิษฐ์ตวั อักษรขึ้นมาใช้ ๑) ยคุ สมัยในการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ คอื ยุคทม่ี นษุ ยร์ จู้ ักคิดประดิษฐ์ตัว
อกั ษรเพอื่ ใชบ้ ันทกึ เรอ่ื งราวตา่ งๆ
เคร่อื งมอื เครือ่ งใชส้ ว่ นใหญ่ทำจากหนิ และโลหะ
๑) สมยั กอ่ นสโุ ขทยั เริม่ ตน้ เมือ่ มกี ารพบหลกั ฐานการใชต้ วั
แบ่งออกเป็นยุคหนิ และยคุ โลหะ อกั ษร ในพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ แคว้นสำคญั ไดแ้ ก่ ทวารวดี
หริภญุ ชยั ศรีวิชัย และตามพรลิงค์
ยุคหิน คอื ยุคที่มนุษยน์ ำหินมาประดิษฐ์ ๒) สมยั สโุ ขทยั เร่ิมปที ่ีพ่อขุนศรีอนิ ทราทิตย์ขึ้นครองราชย์
เปน็ เคร่อื งมือเครือ่ งใช้ แบ่งได้ ๓ ยุค และสถาปนาสุโขทัยเป็นเมอื งหลวง จนกระทัง่ รวมเข้ากับ
- ยุคหินเกา่ อาณาจกั รอยุธยา ประมาณ พ.ศ.๒๗๙๒ - ๒๐๐๖
- ยคุ หินกลาง ๓) สมัยอยธุ ยา เรมิ่ ปที ี่สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีที่ ๑ (พระเจ้า
- ยคุ หนิ ใหม่ อู่ทอง) สถาปนาอยุธยาเปน็ เมอื งหลวงจนกระท่งั ปที ี่กรุงศรี
แตก ช่วง พ.ศ.๑๘๙๓ - ๒๓๑๐
๔) สมัยธนบุรี เริ่มจากสมเด็จพระเจา้ ตากสนิ ขน้ึ ครองราชย์
และสถาปนากรุงธนบรุ ีเปน็ เมืองหลวง จนถงึ ปสี ดุ ทา้ ยของ
ราชการ พ.ศ.๒๓๑๐ - ๒๓๒๕
๕) สมยั รัตนโกสินทร์ เรมิ่ ปีทีพ่ ระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก
มหาราชขนึ้ ครองราชยแ์ ละสถาปนากรงุ เทพเป็นเมอื งหลวง
ช่วง พ.ศ.๒๓๒๕ - ปจั จบุ นั
๒) หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ ยุคสมัยและหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ๒๑
๒.๑) ความหมายและความสำคัญของ ๒.๒) ประเภทของหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ ๓) เกณฑใ์ นการจำแนก
หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ หลกั ฐานทพ่ี บในท้องถ่ิน
๑) หลักฐานช้ันตน้ หมายถึง หลกั ฐานที่
หมายถงึ รอ่ งรอยทเ่ี กิดข้นึ ในอดตี สามารถนำมใชศ้ กึ ษาเร่อื งราวในอดตี เกดิ ในช่วงทเี่ กดิ เหตกุ ารณน์ ้ันหรอื เป็น ๓.๑) หลกั ฐานช้ันต้นที่พบในทอ้ งถนิ่
มที ง้ั หลกั ฐานทเี่ ปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรและที่หลักฐานท่ไี มเ่ ปน็ ลายลักษณ์อกั ษร หลักฐานทไ่ี ด้รบั การบันทึกจากคำบอกเล่า
ของผทู้ มี่ สี ว่ นร่วมเหตุการณ์ดว้ ยตนเอง - หลกั ฐานท่ีเป็นลายลักษณอ์ ักษร เช่น
ตวั อย่างหลกั ฐานท่เี ป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร ตำรายาโบราณ ตำราดูฤกษ์ยาม
- หลกั ฐานทไ่ี ม่เป็นลายลักษณอ์ กั ษร เชน่
ภาษาถิ่น เพลงพ้นื บ้าน
กฎหมายตราสามดวง ประชมุ พงศาวดาร ศลิ าจารกึ หลักท่ี ๑ ๓.๒) หลักฐานช้นั รองทพี่ บในท้องถิน่
ตัวอย่างหลักฐานทไี่ มเ่ ป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ๒) หลักฐานชัน้ รอง หมายถงึ หลกั ฐานทส่ี ร้าง
ข้ึนจากผทู้ ีไ่ ม่ได้พบเห็นเหุการณ์นั้นโดยตรง
โบราณสถาน หนงั สือเกยี่ วกบั ประวัตศิ าสตร์ หนังสอื ตา่ งๆ เช่น บาลำพภู าพความทรงจำ โดย กุลวดี เจริญศรี
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๓ พัฒนาการของมนุษยใ์ นดินแดนไทย ๒๒
พัฒนาการของมนุษยใ์ นดินแดนไทย
๑) พัฒนาการของมนุษยย์ ุคกอ่ นประวัตศิ าสตรใ์ นดินแดนไทย
๑.๑) การตง้ั ถ่นิ ฐานและการดำเนนิ ชวี ิต ๑.๒) หลกั ฐานทางโบราณคดีทแ่ี สดง
ของมนษุ ย์สมยั กอ่ นประวตั ิศาสตร์ พัฒนาการของมนษุ ย์ทีพ่ บในทางถ่ิน
เมื่อประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ ปมี าแล้ว ดนิ แดนไทย ๑.๒.๑) ยคุ หิน คอื การจำแนกสมัยกอ่ นประวัตศิ าสตร์ ๑.๒.๒) ยุคโลหะ คือ การจำแนกสมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ทม่ี นษุ ย์รู้จกั นำโลหะบางชนดิ
มีมนษุ ยอ์ าศยั อยเู่ เล้ว ท้งั น้ีจะเหน็ จกการขดุ พบ จากเคร่อื งมือเคร่อื งใชข้ องมนุษย์ในยุคนี้ ไดแ้ ก่ ทองแดง สำริด และเหลก็ มาทำเปน็ เคร่ืองมอื เครอ่ื งใช้
เครื่องมือและชนิ้ สว่ นจากโครงกระดกู มนษุ ยใ์ น
ยุคนัน้ ทำใหส้ นั นษิ ฐานได้ว่า ในระยะแรกมนุษย์
อยรู่ วมตัวกนั เป็นกลุม่ เล็กๆ มีชีวิตเรร่ อ่ นเคลอื่ น
ยา้ ยไปตามแหลง่ อาหารต่างๆ และอาศัยอยตู่ าม
ถ้ำและหนิ ผา เพือ่ ปอ้ งกันอนั ตรายจากสตั ว์รา้ ย
๒๓
พฒั นาการของมนุษย์ในดนิ แดนไทย
๒) พัฒนาการของมนษุ ย์สมยั ประวัติศาสตรใ์ นดนิ แดนไทย
๒.๓) การต้ังถน่ิ ฐานเเละการดำเนนิ ชีวติ ๒.๑) การตั้งถน่ิ ฐานและการดำเนนิ ชวี ติ ของมนษุ ยส์ มัยประวตั ศิ าสตร์ ๒.๕) การตงั้ ถ่นิ ฐานและการดำเนนิ ชวี ติ
ของคนสมยั สโุ ขทัย ของคนในสมยั ธนบรุ ี
การต้ังถิ่นฐานเปน็ ชมุ ชนในทอ้ งถน่ิ ตา่ งๆในดินแดนไทยนนั้ พบวา่ ชมุ ชนเหลา่ น้ีไมไ่ ด้
อาณาจักรสโุ ขทัย ก่อตงั้ ปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ (ประมาณ พ.ศ.๒๗๙๒) ตัง้ อยูอ่ ย่างโดดเดยี่ วแตม่ ีการตดิ ตอ่ สมั พันธร์ ะหวา่ งชุมชนหลายๆแห่ง หลังจากกรุงศรอี ยธุ ยาล่มสลายลง สมเด็จ
ตอนเหนือของเเม่นำ้ เจา้ พระยาโดยพอ่ ขุนบางกลางหาวได้สถาปนาเป็น พระเจา้ ตากสินมหาราชได้สถาปนากรุงธนบรุ ีเปน็
กษตั ริย์พระองค์แรกนามวา่ “พอ่ ขนุ ศรอี นิ ทราทติ ย์” อาณาจักรสโุ ขทัย มี ๒.๒) เมืองและเเคว้นโบราณในดนิ แดนไทย ราชธานีแห่งใหมเ่ ม่ือ พ.ศ.๒๓๑๐ ตั้งอยู่บรเิ วณลมุ่ แม่นำ้
เจ้าพระยา ทางตอนใต้ของอยุธยาและอยตู่ ิดทะเลทำให้
กษตั ริย์ปกครองท้งั สนิ้ ๙ พระองค์ สามารถติดตอ่ คา้ ขายกบั ต่างประเทศไดส้ ะดวก
อาชพี หลกั ของชาวสุโขทัย : เกษตรกรรม ๒.๖) การต้ังถน่ิ ฐานและการดำเนนิ ชีวติ
สร้างทำนบกน้ั นำ้ : สรดี ภงส์ ของคนสมัยรัตนโกสนิ ทร์
สินสำคญั : เครื่องสังคโลก
พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกทรงสถาปนา
๒.๔) การต้ังถน่ิ ฐานและการดำเนินชีวิต กรงุ เทพมหานครเป็นราชธานี เมอ่ื พ.ศ.๒๓๒๕ ตงั้ อยู่
ของคนสมยั อยธุ ยา บริเวณฝ่งั ตรงขา้ มกบั กรงุ ธนบุรี มภี มู ิประเทศเปน็ ที่ราบ
กรงุ ศรอี ยุธยาเปน็ อาณาจกั รทม่ี ีศนู ย์กลางอยบู่ ริเวณลุ่มแม่นำ้ เจ้าพระยาตอนล่าง ลมุ่ ปากแมน่ ำ้ เจ้าพระยา
ใน พ.ศ. ๑๘๙๓ สมเด็จพระรามาธบิ ดีท่ี ๑ (พระเจ้าอูท่ อง) สถาปนาอยธุ ยาเปน็
คนไทยจงึ ได้ช่อื ว่าเปน็ คนมีวัฒนธรรม ซ่งึ มีลกั ษณะเฉพาะตน
ราชธานี สบื ทอดต่อมาเปน็ เวลา ๔๑๗ ปี มกี ษัตริย์ปกครอง ๓๓ พระองค์ คือ มนี ้ำใจ รูจ้ ักประสานผลประโยชน์ ไม่เหน็ แกต่ ัว
และมขี ันติธรรมในการอยรู่ ่วมกับผู้อนื่
หลักฐานสำคัญ เช่น วดั ไชยวัฒนาราม พระราชวงั นรายณ์ราช-นิเวศน์
หลกั ฐานเหล่านีท้ ำใหท้ ราบถึงความเช่ือเเละวิถชี ีวติ ของคนไทยในสมยั นน้ั
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ อาณาจกั รสโุ ขทัย ๒๔
๑.๑) การสถาปนาและการขยายอำนาจ อาณาจักรสโุ ขทัย ๑.๒) การปกครองในอาณาจักรสุโขทัย
ของอาณาจักรสุโขทัย
๑) พัฒนาการของอาณาจักรสโุ ขทัย สุโขทยั มลี ักษณะการปกครองแบบพอ่ ปกครองลูก ดังจะเหน็
๑.๑.๑) การสถาปนาอาณาจกั รสุโขทยั ไดจ้ ากการเรยี ก เชน่ พอ่ ขนุ ศรีอนิ ทราทิตย์ พ่อขุน
๑.๑.๒) การขยายอำนาจของอาณาจักรสุโขทยั
หลักฐานจากหลกั ศลิ าจารกึ วดั ศรชี ุมทำใหท้ ราบว่าก่อนสถาปนา รามคำแหง ในชว่ งปลายสมยั สุโขทัยประชาชนเรียกพระ
อาณาจักร พ่อขนุ ศรีนาวนำถมุ พระบิดาของพ่อขนุ ผาเมือง หลงั ในอดตี การขยายอำนาจไปยงั ดนิ แดนอืน่ ๆน้ันมีจุด มหากษัตรยิ ว์ า่ “พระยา” เชน่ พระยาเลอไทย พระยาลิไทย
พระองค์สวรรคต ขอมได้นำกำลังมายึดสุโขทยั ทำให้พอ่ ขนุ ผา มุง่ หมาย เพอ่ื ครอบครองทรัพยากรทม่ี ีคา่ และ - พระมหากษตั ริย์สุโขทัยทรงมีฐานะเป็นประมขุ ทำหนา้ ท่ี
เมืองเเละพ่อขุนบางกลางหาว ซึง่ เปน็ พระสหายช่วยกนั ยดึ เพื่อควบคมุ เสน้ ทางการค้า ตลอดจนสร้างความ
สโุ ขทยั คืนมา หลังจากนน้ั พอ่ ขนุ ผาเมืองได้อภเิ ษกพอ่ ขนุ บาง ปลอดภยั ใหเ้ มอื งหลวงของอาณาจักร เชน่ เดยี ว ปอ้ งกันบา้ นเมือง ดูแลความสงบสขุ และตดั สินคด
กลางหาวข้นึ เปน็ พระมหากษัตรยิ ์ปกครองสุโขทยั กับสโุ ขทยั ซึง่ เป็นศนู ยก์ ลางอำนาจแห่งหนง่ึ
๑.๓) เศรษฐกิจในอาณาจกั รสุโขทยั
ชาวสุโขทยั ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ดังขอ้ ความในจารึกสุโขทัย
หลกั ที๑่ ท่ีว่า “ในน้ำมีปลา ในนามขี า้ ว” ขอ้ ความในจารกึ ยังบอกอีก
ว่ามีการปลกู ไมย้ ืนตน้ หลายชนิด ไดแ้ ก่ ต้นตาล มะพรา้ ว มะมว่ ง นา
ทำสวน และยงั ทำการค้าอกี ดว้ ย
๑.๔) สังคมและวฒั นธรรมในอาณาจกั รสุโขทัย
สงั คมสุโขทยั มีโครงสรา้ งการจดั ลำดบั ช้ันของคนในสังคม
ลดหลน่ั กันไป ประกอบดว้ ย กษตั รยิ ์ ขนุ นาง ไพร่ และขา้
๒๕
๒) ประวตั ิและผลงานของบคุ คลสำคัญในสมยั สโุ ขทัย อาณาจกั รสุโขทยั ๓) ภูมปิ ัญญาไทยสมัยสโุ ขทัย
๒.๑) พอ่ ขนุ ศรอี ินทราทิตย์ (ประมาณ พ.ศ. ๑๗๙๒ ไม่ปรากฎปีที่สวรรคต) ๓.๑) การประดษิ ฐ์ตัวอกั ษรไทย
พระราชประวัติ พอ่ ขุนศรีอินทราทติ ยม์ ีพระนามเดิมว่า “พ่อขนุ บางกลางหาว” ๒.๓) พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไทย) พ่อขนุ รามคำแหงมหาราช ทรงประดษิ ฐ์ตัวอกั ษรไทยท่เี รียกว่า
ทรงเป็นปฐมบรมกษัตรยิ ์ของราชวงศพ์ ระรว่ ง อภเิ ษกสมรสกับพระนางเสือง (พ.ศ. ๑๘๙๑-๑๙๑๒) “ลายสือไทย” เมือ่ พ.ศ. ๑๘๒๖ ท่จี ารึกไว้ในศลิ าจารึกสโุ ขทยั
หลักท่ี ๑ และได้ถกู ปรบั ปรงุ จนกลายเปน็ ภาษาไทยในปจั จุบนั
(พระธดิ าของพ่อขนุ ศรนี าวนำถุม) มีพระโอรส คือ ทรงเป็นพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยท่ีมี
พ่อขนุ บางเมืองและพอ่ ขนุ รามคำแหง พระราชศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนา ทำใหค้ นไทยสามารถรักษาความรู้
ความคิดและภมู ิปญั ญาในด้านต่างๆ
พระราชกรณยี กจิ ทส่ี ำคญั เมอ่ื ครงั้ ยังเปน็ พอ่ ขนุ บางกลางหาวไดร้ วมกำลังพล พระราชกรณียกจิ คอื ทำนุบำรงุ พระพทุ ธศาสนา รวมทงั้ เหตกุ ารณ์ที่เกิดขน้ึ ในอดีต
กบั พ่อขนุ ผาเมอื งต่อสขู้ ับไลพ่ วกขอมและทรงสถาปนากรุงสโุ ขทัยเปน็ ราชธานี เชน่ สรา้ งวดั สร้างพระพุทธบาท พระพทุ ธรปู
๓.๒) ศลิ ปกรรมท่ไี ด้รับการยกยอ่ งเป็นมรดกโลก
สร้างความเปน็ ปึกแผ่นให้กบั สุโขทัย
ศิลปกรรมสมัยสุโขทยั เป็นศลิ ปะทเี่ กิดจากความเล่อื มใสในพระพทุ ธ
๒.๒) พอ่ ขนุ รามคำแหงมหาราช (พ.ศ. ๑๘๒๒-๑๘๔๑) ศาสนาและไดร้ ับการถา่ ยทอดมาจากวัฒนธรรมภายนอก
พอ่ ขุนรามคำแหงมหาราชทรงเปน็ พระราชโอรสของพ่อขนุ ศรีอินทราทิตย์ - แบบศลิ ปะเฉพาะตัว เชน่ พระพทุ ธชนิ ราช เเละพระพทุ ธรูปปาง
ทรงข้ึนครองราชต่อจากพอ่ ขุนผาเมืองซ่ึงเป็นพระเชษฐาธิราช ลีลาท่ีมีความงดงามและเป็นเอกลักษณ์ของสมัยสุโขทยั
ทรงใชว้ ธิ ีปกครองบา้ นเมืองแบบพ่อปกครองลกู ทรงทำนบุ ำรุง
พระพทุ ธศาสนา เหน็ ไดจ้ ากการสร้างวัด เจดยี ์ และพระพุทธรูป
ตา่ งๆ ทำบุญทำทาน ฟังธรรมในวันสำคัญของศาสนา