The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by boonticha495, 2022-09-11 09:09:58

การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ

การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-book)


เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมที่ถูกควบคุม
ด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ

วิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ว30103


ผู้จัดทำ

นางสาว บุญธิฌา สิงห์ทอง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/14
ครูผู้สอน
นางสาว รัตนา หมู่โยธา

โรงเรียนสตรีราชินูทิศ

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมอุดรธานี

การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
ที่ถูกควบคุมด้วยยีนที่อยู่บน
โครโมโซมเพศ

คำนำ

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-book)เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ว30103
วิชา วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 เพื่อการศึกษาความรู้ที่ได้จาก
เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ
ซึ่งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)เล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับกับการถ่ายทอดพันธุกรรม

ผู้จัดทำหวังว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(E-book)เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้
อ่านหรือนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่ หากมีข้อแนะนำหรือ

ข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

โครโมโซมเพศ?

การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ

ยีนอยู่บนโครโมโซมเพศ (X หรือ Y)
โครโมโซมเพศหญิง
โครโมโซมเพศชาย

ลักษณะที่ถ่ายทอดบนโครโมโซมเพศ

ยีนเด่นบนโครโมโซม X ยีนด้อยบนโครโมโซม X
ตาบอดสี
เช่น มนุษย์หมาป่า ฮีโมฟีเลีย
โรคกล้ามเนื้อลีบ
ยีนเด่นบนโครโมโซม Y
เช่น ขนยาวที่ใบหู

โครโมโซม X ยังมียีนที่กำหนดลักษณะอื่นๆอีก เช่น ยีนที่กำหนดตาบอดสี การเจริญของกล้ามเนื้อ

ยีนที่กำหนดลักษณะเหล่านี้มีเฉพาะบนโครโมโซม X เท่านั้น
บนโครโมโซม Y ไม่มี จึงเรียกว่า ยีนที่เกี่ยวเนื่องกับโครโมโซม X

ดังนั้น ยีนของโครโมโซม X ในเพศชายจึงไม่มีคู่ทำให้มีโอกาสแสดงออกมาได้เต็มที่ต่างจากเพศหญิง
ที่มียีนเดียวจะไม่แสดงออก จะแสดงออกได้เมื่อม
ียีนทั้งคู่ เช่นโรคตาบอดสี

โรคตาบอดสี

โรคตาบอดสี

ซึ่งเป็นการมองเห็นสีผิดไปจากความเป็นจริง

เกิดจาก

ยีนที่ควบคุมลักษณะตาบอดสีนี้เป็นยีนด้อยที่อยู่บนโครโมโซม X
โครโมโซมเพศชายคือXY ซึ่งมี Xแค่ตัวเดียวอาการของตาบอดสีก็จะแสดงออกมาทันที
ซึ่งต่างจากของผู้หญิงที่มีโครโมโซม X ถึงสองตัว แม้ว่าจะมีโครโมโซม X หนึ่งตัวผิดปกติ

ก็ยังจะสามารถมองเห็นได้ตามปกติ ดังนั้นโรคตาบอดสีพบเห็นได้มากในเพศชาย

โรคฮีโมฟีเลีย

โรคฮีมอฟิเลีย

เป็นอีกโรคหนึ่งที่มีแบบแผนการถ่ายทอดทางพันธุกรรมเหมือนกับลักษณะตาบอดสี
โรคนี้เกิดจากความผิดปกติในการกลายเป็นลิ่มของเลือด
ผู้ที่เป็นโรคนี้เมื่อเกิดบาดแผลเลือดจะออกง่ายและหยุดยาก

โรคฮีโมฟีเลียเป็นความผิดปกติที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ซึ่งส่งผ่านมาจาก
บิดามารดาไปสู่บุตรและอยู่บนโครโมโซม X ในลักษณะยีนด้อย

สรุปเนื้อหา

* ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ
มีโอกาสพบได้ทั้งเพศชายและเพศหญิงไม่เท่ากัน เช่น ตาบอดสี และ ฮีโมฟีเลีย

* โครโมโซมภายในเซลล์แบ่งเป็นออโตโซมและโครโมโซมเพศ
ลักษณะทางพันธุกรรมส่วนใหญ่ ถูกควบคุมด้วยยีนบนออโตโซม
บางลักษณะถูกควบคุมด้วยยีนบนโครโมโซมเพศซึ่งจะถ่ายทอดต่างกันกับยีนออโตโซม

อ้างอิง

https://youtu.be/qNk42LzUtHA
คลิปสอนในyoutube

https://pubhtml5.com/owhq/szan/basic
หนังสือรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มัธยมศึกษาปีที่4


Click to View FlipBook Version