The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noo23nung, 2021-03-29 20:48:48

การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

การดแู ลสุขภาพ

ผู้สงู อายุ

อนกุ ูล สวนกูล เขียน

ความรูแ้ ละความเเข้าใจเรืองการดแู ลสุขภาพทถี กู วธิ ี
ส่งผลใหผ้ สู้ งู อายุมีสุขภาพทีดีสมวัย

คาํ นาํ

หนงั สอื เลมนจ้ี ัดทําเพื่อสงเสรมิ สุขภาพวัยผสู งู อายใุ ห
มีการดูแลทอ่ี ยา งถูกข้ันตอนและเปนผูสูงอายทุ มี่ สี ขุ ภาพ
รา งกายแข็งแรง เปน หนังสือสําหรบั ผูสูงอายแุ ละบคุ คล
ทว่ั ไปท่ีสนใจในเรอ่ื งสุขภาพ มีจุดประสงคคือตอ งการใหผ ู
สงู อายุและผทู ส่ี นใจไดม รี า งกายที่แขง็ แรงหา งไกลจากโรค
ภัย

ผจู ัดทําหวังวา หนังสือเลม น้จี ะมีประโยชนต อ ผอู านทุก
คนหากมีขอ ผดิ พลาดประการใดขออภยั ไว ณ ท่นี ี้ดวย

ผจู ดั ทํา

สารบัญ

0081 บ ท นํา

1062 ผู สู ง อ า ยุ

0 5 คาํ นิ ย า ย

24

0 7 โ ร ค ท่ี พ บ บ อ ย

3120 สุ ข ภ า พ จิ ต

17 โภชนาการ

38

2 5 อ อ ก กาํ ลั ง ก า ย

3 2 ค ร อ บ ค รั ว

3 8 ห ลั ก สุ ข ภ า พ 5 อ .

บ ร ร ณ า นุ ก ร ม

บทนํา

ในชวงหลายปท ่ีผานมาจะพบวา การสงู วยั ของประชากรเปน
ปรากฏการณทเ่ี กิดขึ้นในประเทศตางๆทวั่ โลกสะทอนใหเ ห็นวาโลก
ในปจจบุ นั ไดก า วสสู ังคมผูส ูงอายุ จะเห็นไดวา ประชากรในยคุ
ปจจุบนั หันมาคุมกาํ เนดิ และใสใจสุขภาพมากยงิ่ ขึ้นและมีความ
เจรญิ เติบโตของเทคโนโลยดี านการแพทยทําใหประชากร ทว่ั ไป
มอี ายยุ นื ข้ึนจึงทําใหประชากรไมค ิดที่จะแตง งาน สง ผลใหทาํ อัตรา
การเกดิ ของประชากรรุน ใหมน อยลงมากจากคานยิ มและทัศนคตทิ ี่
เปลยี่ นไปหลายประเทศจงึ ไดออกกฏหมายสนบั สนุนการจา งงานผู
สูงอายุ

สาํ หรับประเทศไทยไดเ ขา สสู ังคมผูส งู อายเุ รยี บรอยแลว และ
กําลัง เขาสชู วงเปลี่ยนผานสงั คมผสู ูงอายโุ ดยสมบูรณซ ง่ึ คาดวาอีก
ไมก ปี่ โดยสดั สวนของประชากรผูส งู อายุจะเพ่ิมข้นึ อยา งรวดเรว็
รวมถงึ ภาระการรับผิดชอบท่ีเพ่มิ มากขึน้ ของภาครัฐชุมชน
ครอบครัวในการดแู ลและคา ใชจายเขา ตรวจสขุ ภาพ

1

ผูส้ ูงอายุ

ผูสูงอายถุ ือไดว า เปน ทรพั ยากรบคุ คลทีม่ ีคุณคา เน่อื งจากทาํ คุณ
ประโยชนใ หกบั ประเทศชาติมาเปนระยะเวลานานและไดส่ังสม
ประสบการณตา งๆ ทง้ั ในการทาํ งานและดาํ เนินชีวติ ซึง่ จะสามารถ
ถา ยทอด ประสบการณท่ีมคี ณุ คา ใหกบั บุคคลรนุ หลังไดป ระเทศไทย
ซ่ึงเปนสว นหนงึ่ ของสมัชชาองคการสหประชาชาติ ไดใหความสาํ คญั
ของผสู ูงอายุ และปฏบิ ัติตามสมชั ชาองคก ารสหประชาชาติทใี่ หสทิ ธิ
ผูสูงอายุในดานความเปนอิสระ การมสี วนรวม การดูแลเอาใจใส
ความพงึ พอใจในตนเองและศกั ด์ิศรี และไดกําหนดให วนั ท่ี 13
เมษายน ของทกุ ปเ ปน วนั ผสู งู อายแุ หง ชาติ นอกจากนี้ ใน
รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2540 ยงั ไดบ ญั ญตั ิสิทธิ
ของผูสูงอายุ โดยบรรจไุ วใ นหมวดของสทิ ธแิ ละเสรีภาพของชนชาว
ไทยและ หนาทีช่ นชาวไทยเพื่อใหผูส งู อายไุ ดรับความชวยเหลอื มี
คุณภาพชีวิตทด่ี แี ละพ่ึงตนเองไดอ ีกดว ย (กรมประชาสงเคราะห,
กระทรวงแรงงานและสวสั ดิการสังคม, 2542).

2

ในชอ งหลายปท่ผี านมาจะพบไดวา ประชากรในวัยผูสงู อายจุ ะเพิ่มขน้ึ
เรือ่ ยๆ เปน ปรากฏการณที่เกิดข้ึนในทุกประเทศทัว่ โลก สะทอ นให
เหน็ วา ประชากรจะเขาสูยุคผูสงู อายใุ นไมชา จากคา นยิ ม ทศั นคติ ท่ี
เปล่ยี นไปของประชากรที่จะเรม่ิ หนั มาใสใ จสขุ ภาพมากย่ิงขน้ึ รวมกบั
เทคโนโลยีทางการแพทยที่จะทาํ ใหมอี ายยุ นื ยาวมากยิ่งข้นึ การ
แตงงานลดนอยลงการเกดิ ใหมข องประชากรจงึ เปนไปไดย าก ตาง
จากประชากรผอู ายุท่มี อี ัตราเพมิ่ ขึน้ เรือ่ ง จึงทําใหร ฐั บาลตอ งหันมา
ใหค วามสาํ คญั กบั คณุ ภาพชวี ิตของกลุมผูสูงอายุ ทาํ ใหเกิดนโยบาย
ในการสงเสริมผสู งู อายมุ ากยิง่ ขึน้ มีการจางงานผูส ูงอายุมากข้นึ เปด
โอกาสใหผ สู งู อายไุ ดท ํางานตอ ในอายทุ ีเกินออกไปจากขอ กาํ หนด

จากสถานการณผูส งู อายไุ ทยมสี ัดสว นที่เพ่มิ สูงขน้ึ จากประชากร
ของประเทศท้ังหมด โดยในป พ.ศ. 2553 มีสัดสว นถึงรอ ยละ
11.90 และคาดวา ในป พ.ศ. 2573 จะมีสดั สวนทเี่ พิ่มสูงขึน้ ถึงรอ ย
ละ 25 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งจะทําใหป ระเทศไทยเปนสงั คมของ
ผสู ูงอายุในขณะเดยี วกนั ประชากรวยั แรงงาน ของไทยทีม่ หี นาทีเ่ กือ้
หนุนดูแลผสู ูงอายกุ จ็ ะลดลงเชนกนั เนอื่ งจากอตั ราการเกดิ ของ
ประเทศลดลงบวกกบั ประชากรวัยแรงงานสวนหนง่ึ ก็จะกลายเปนผู
สงู อายเุ สียเอง

3

ปญหาในอนาคตท่ีตามมาจากการเพิม่ ข้ึนของประชากรผสู ูงอายใุ น
ประเทศก็คืองบประมาณในการดแู ลและรักษาสขุ ภาพเนอื่ งจากผสู งู
อายุจะมกี ารเปล่ียนแปลงทางเสอ่ื มสภาพดา นรางกายทาํ ให
ประสิทธภิ าพการทํางานของระบบตางๆ ลดลง ความตานทานตอ
โรคลดลงผูสูงอายจุ งึ เกิดปญหาสขุ ภาพไดมากกวาวัยอนื่ และสว น
ใหญม ีปญ หาสุขภาพจาก การเจ็บปวยดวยโรคเรือ้ รงั (ธนายุส ธน
ธิติ, กนิษฐา จาํ ารญู สวัสดิ์, 2558)

จากการสํารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2550 ของ
สาํ นักงานสถิตแิ หง ชาติ พบวาผูส งู อายุมีปญ หาสขุ ภาพทเ่ี กิดจาก
การเจบ็ ปวยดวยโรคความดันโลหติ สงู ถึงรอยละ 31.7 โรคเบา
หวาน รอยละ 13.3 โรคหวั ใจ รอยละ 7.0 โรคหลอดเลอื ดใน
สมองตีบ รอยละ 1.6 โดยผูสูงอายเุ พศหญิงมสี ดั สวนการเจบ็ ปวย
ดว ยโรคเหลาน้สี งู กวา ผูส งู อายเุ พศชาย (มลู นธิ สิ ถาบนั วิจัยและ
พัฒนาผูส ูงอายไุ ทย, 2555)

4

คาํ นิยาม

“ผสู้ งู อายุ”

องคก ารสหประชาชาติ ไดใ หคํานิยามวา “ผสู งู อายุ” คือ
ประชากรท้ังเพศชายและเพศหญงิ ซ่ึงมีอายุมากกวา 60 ปข น้ึ ไปโดย
เปนการนิยามนับตง้ั แตเ กดิ “ผสู งู อายุ” เปนกลมุ วยั ท่คี วรไดร ับการ
ดูแลเปนพเิ ศษ เพราะผสู งู อายสุ ว นมากนอกจากจะมคี วามเสอ่ื มของ
รา งกายตามวัยแลว ยงั อาจมโี รคเรือ้ รงั ทตี่ องการดแู ล เชน เบา
หวาน, ความดนั โลหิตสงู , หัวใจและหลอดเลือด, โรคกระดกู พรนุ ,
โรคมะเรง็ นอกจากนปี้ ญหาทางดานสุขภาพอนามัยที่พบเสมอ คอื
การบาดเจบ็ จากการหกลมหรอื พลดั ตกทีส่ งู จากสถิตพิ บวา มากกวา
ครง่ึ หกลม ในตวั บา นและในบรเิ วณรวั้ บา น อาทิ หอ งนอน หอ งครวั
และหอ งนาํ้

สาเหตุหลกั ของการหกลม สวนใหญม าจาก พืน้ ล่ืน สะดดุ สิง่
กดี ขวาง การเสยี การทรงตวั สาเหตหุ ลักของการหกลมสวนใหญ

5

มาจาก พืน้ ล่ืน สะดุดสงิ่ กีดขวาง การเสียการทรงตวั พ้ืนตางระดบั
หนา มดื วงิ เวยี น รวมถงึ สาเหตุจากส่ิงแวดลอมอยา งถกู กระแทกหรือ
ตกบันได ซ่ึงภายหลังการพลดั ตกหกลม แลว ประมาณครึง่ หนึง่ มี
อาการฟกช้าํ รองลงมาคอื มอี าการปวดหลงั และรนุ แรงจนกระดูก
หกั รวมท้งั เกิดความพกิ ารและเสียชวี ติ ตามมา

6

โรคทพี บบอ่ ย

“ผู้สูงอาย”ุ

โรคความดนั โลหิตสงู ถงึ รอยละ 31.7 โรคเบาหวาน รอยละ
13.3 โรคหวั ใจ รอ ยละ 7.0 โรคหลอดเลอื ดในสมองตบี รอ ยละ 1.6
โดยผูสูงอายเุ พศหญงิ มสี ดั สวนการเจบ็ ปวยดว ยโรคเหลา น้ีสูงกวา ผสู ูง
อายเุ พศชาย (มลู นิธิสถาบนั วิจัยและพัฒนาผูสงู อายไุ ทย, 2555)

โรคความดนั โลหิตสูง สภาวะผดิ ปกติทบ่ี คุ คลมีระดบั ความดัน
โลหิตสงู ขึน้ กวาระดับปกติของคนสว นใหญ และถือวาเปนสภาวะทตี่ อ ง
ควบคมุ เนือ่ งจากความดันโลหติ สงู ทาํ ใหเกิดความเสียหาย และการ
เสอ่ื มสภาพของหลอดเลือดแดงนาํ ไปสสู ภาวะการแข็งตวั ของหลอด
เลอื ดการอุดตนั ของหลอดเลือด หรอื หลอดเลือดแตกได นอกจากน้ี
ความดนั โลหิตสงู ยังเปนปจ จัยเสย่ี งทําใหเกดิ โรคแทรกซอ นอ่ืนๆ ตาม
มาไดเ ชน โรคหวั ใจวาย โรคอัมพาต โรคสมองเส่อื มหรอื โรคไตวาย
เร้อื รัง

7

โรคเบาหวาน เปนภาวะทีร่ างกายมีนํา้ ตาลในเลอื ดสูงกวา ปกติ
เน่อื งจากการขาดฮอรโ มนอินซูลนิ หรอื การด้อื ตอ ฮอรโมนอนิ ซลู ิน สง
ผลใหกระบวนการดดู ซึมน้าํ ตาลในเลือดใหเ ปน พลงั งานของเซลลใน
รา งกายมีความผิดปกติหรือทาํ งานไดไมเ ต็มประสทิ ธภิ าพ จนเกิด
น้ําตาลสะสมในเลือดปริมาณมาก หากปลอยใหรางกายอยูใ นสภาวะนี้
เปน เวลานานจะทําใหอ วัยวะตาง ๆ เสอ่ื ม เกิดโรคและอาการ
แทรกซอ นขึน้

โรคหวั ใจ ความเปนจรงิ แลว คาํ วา "โรคหวั ใจ" มคี วามหมายกวา ง
มากอาการทเี่ กดิ จากโรคหวั ใจหรือสัมพนั ธก บั หัวใจนั้นมีไมมากนกั ตั้ง
อาการขา งลา งน้ี แตอยางไรกต็ ามอาการดงั กลาวกม็ ไิ ดเ กิดขึน้ กับผปู วย
โรคหัวใจเทาน้นั ยงั มีโรคอ่ืน ๆ ท่ีใหอ าการคลายกัน ดงั น้ันการท่ีแพทย
จะพจิ ารณาใหก ารวนิ ิจฉัยนน้ั จาํ เปนตอ งอาศัยประวตั ิอาการโดย
ละเอียดรวมกบั การตรวจรางกายบางคร้งั ตองอาศัยการตรวจพิเศษตาง
ๆ เชน ตรวจเลือด ตรวจปส สาวะ เอกซเรย เปน ตน

เพ่ือแยกโรคตา งๆท่มี ีอาการคลายกนั สว นมากเกดิ จากการอดุ ตนั
ของหลอดเลือด เม่อื หลอดเลือดอุดตนั มนั ก็ไมสามารถท่ีจะสูบฉีด
เลอื ด เพือ่ สงสารอาหารไปยังสว นอนื่ ๆ ของรา งกายไดอยางสมบูรณ
และเม่อื กาลเวลาผานไปการอุดตนั ของเสนเลอื ดกย็ ิง่ เร่ิมมมี ากข้นึ และ
นานวนั เขาหลอดเลอื ดตางๆ ของหวั ใจกจ็ ะเริม่ หนา และแข็งขนึ้ จนเปน
สาเหตุ ที่ทาํ ใหเ กิดโรคหวั ใจ

8

โรคหลอดเลอื ดในสมองตบี โรคหลอดเลือดสมองตบี ตัน เปน
สาเหตุหลกั ทท่ี าํ ใหเ กดิ อัมพฤกษ อมั พาต ผูที่เปนมกั มอี าการอยาง
เฉยี บพลนั บางรายโชคดถี งึ มือแพทยเ รว็ ทนั เวลาก็อาจรกั ษาใหหาย
เปนปกตไิ ด แตบ างรายตองกลายเปนอมั พาตไปตลอดชีวิต และบาง
รายตอ งเสยี ชีวติ อยางกะทนั หนั สง ผลใหเกิดความสูญเสียทง้ั ตอ ตัวผู
ปวยเอง คนใกลช ดิ ไปจนถงึ ผลกระทบตอ ภาวะเศรษฐกจิ และสงั คม

พดู ไมชัด ปากเบ้ียว ขยับปากไดไ มปกติ นํ้าลายไหล กลืน
ลําบาก ปวด หรือเวยี นศรี ษะเฉียบพลนั เดนิ เซ ทรงตวั ลาํ บาก ชา
ตามสว นตา งๆ หรอื ออ นแรงที่ใบหนา หรือบรเิ วณแขนขาครง่ึ ซีกของ
รางกาย ความดันโลหิตไมป กติ ปวดหวั รนุ แรง หากมเี พียงหน่ึง
อาการที่กลา วมา มันชดั เลยวา คณุ เปนโรคเสนเลอื ดตบี หากรกั ษา
ไมทนั หรือสง รพ. ไดไมท ันอาจเสียชวี ติ ทนั ที หรอื อาจจะพิการ
อมั พฤกษ อัมพาต ไปตลอดชวี ติ

9

สุขภาพจิต

“ผ้สู งู อายุ”

สภาพจติ ใจที่เปนสุข สามารถมีสมั พันธภาพและรักษา
สมั พันธภาพกับผอู นื่ ไวไดอยา งราบรืน่ สามารถทําตนใหเ ปน
ประโยชนไ ดภ ายใตภาวะสิ่งแวดลอ มท่ีมีการเปลี่ยนแปลงทงั้ ทาง
สงั คม และลักษณะความเปนอยูใ นการดาํ รงชีพ วางตัวไดอยา ง
เหมาะสม และปราศจากอาการปวยของโรคทางจิตใจและรางกาย
องคประกอบของสขุ ภาพจติ

1.ปจ จยั ทางรา งกาย รา งกายแขง็ แรง ปราศจากโรค
2.ปจจยั ทางจติ ใจ ประกอบดว ย

- ความคดิ คดิ ดี คิดเปน คดิ สรางสรรค
- อารมณห รอื ความรสู กึ สดชืน่ ราเริง สนกุ สนาน ปติ มี
ความสขุ สงบ
- จติ วิญญาณ พอใจตนเอง เมตตาผูอ่ืน สํานกึ ในส่ิง
แวดลอม

10

3.ปจจัยทางสงั คมและสง่ิ แวดลอ ม มสี มั พันธภาพทดี่ ีและ
ยง่ั ยนื กบั ผูอน่ื วางตวั เหมาะสม มอี าชีพและการดาํ เนินชีวิตทด่ี ี เปน
ประโยชนต อผอู ื่น
ความสัมพนั ธร ะหวา งสุขภาพจติ กับความเครยี ด

ชีวติ คนตั้งแตเกิดมาตองมกี ารปรับตัวใหเกิดความสมดลุ ในการ
ดํารงชวี ติ ความเครียด คือผลรวมของปฏิกิรยิ าตามธรรมชาตขิ อง
มนษุ ย ทีเ่ กดิ ข้ึนเม่อื ตองเผชิญกับปญ หา การเปล่ยี นแปลง หรือ
สถานการณตางๆ ความเครียดที่เหมาะสม จะกระตุนใหเกิดการปรับ
ตวั แกไ ขปญหา เกิดการพฒั นาและสรา งสรรค แตค วามเครียดทม่ี าก
เกนิ ไปเปน ผลเสียตอ รางกาย และจติ ใจ เกิดความไมส บายใจ ทําให
เกิดอาการตางๆ ทําใหปรบั ตัวไมไ ด แกไ ขปญ หาไดต าํ่ กวา ความ
สามารถท่แี ทจรงิ หรือเกดิ โรคทางรางกายหลายโรคทีอ่ าการเกดิ ขึน้
สัมพันธก ับความเครยี ด

ความเครียดจงึ เปน สว นหน่ึงของชวี ติ ทท่ี ุกคนจะตอ งเผชญิ และ
ฝกฝนเอาชนะ แกไขปญหาไมเ กดิ อาการของความเครียด คนที่
สขุ ภาพจิตดคี อื คนทมี่ ีวธิ กี ารปรบั ตัวกบั การเปลี่ยนแปลงตางๆหรือ
ความเครียดไดดี

11

ปจจัยทีท่ ําใหเกดิ ปญ หาสขุ ภาพจติ
ปญหาสขุ ภาพจติ เกดิ จากปจจัยหลายประการ ดงั ตอ ไปน้ี
1.ปจ จยั ทางรา งกาย รา งกายท่อี อนแอ ปรบั ตวั ไดน อ ย เกิด

อาการทางรางกายและจิตใจไดงาย เชน ผูท ี่ปวย มโี รคประจําตวั
โรครายแรงหรอื เรอื้ รัง ทําใหเกดิ ความเครียดสงู

รางกายท่ีแขง็ แรงทําใหสมองสดชื่นแจม ใส กลามเนอ้ื ตน่ื ตัว
พรอมใชง าน การแกปญหาทําไดดี ไมค อยเครียด สคู วามเครยี ดได
มากกวา รา งกายทอ่ี อนแอ การทํางานของอวัยวะตา งๆมีการ
ประสานงานกนั ดี มีความยดื หยนุ สูง

การใชยาหรอื สารเสพติด อาจเกิดอาการเครียดกังวลสูง โดย
เฉพาะเวลาขาดยา การรักษารา งกายใหแ ขง็ แรง จึงปองกันและลด
ความเครียดได เชน การออกกําลังกายสม่ําเสมอ ดแู ลสุขภาพใหถูก
สขุ ลักษณะ มีเวลาพกั ผอ นเพียงพอ หลีกเล่ยี งปจจยั เสยี่ งตางๆ เชน
เหลา บุหรี่ ควรแบง เวลาในแตล ะวนั ดังน้ี เวลาเรยี นหรือทํางาน 8
ชวั่ โมง เวลาพกั ผอนออกกําลังกาย 8 ช่วั โมง เวลาพักผอนนอน
หลบั 8 ชว่ั โมง

12

2. ปจจัยทางจิตใจ คนแตล ะคนมพี ้นื อารมณต อบสนองตอ สิ่ง
เราแตกตา งกนั บางคนเครียดงาย บางคนเครยี ดยาก บางคนปรับ
ตัวเกง การตอบสนองน้ีสว นหนึ่งเปน คณุ สมบตั ิตดิ ตัวมาต้ังแตเกดิ
บางสวนเกิดจากการเลยี้ งดูภายในครอบครวั การโอกาสเผชญิ
ปญ หาและแกไ ขปญ หาจนสาํ เรจ็ การไดฝกฝนจนเกิดความชาํ นาญ
คนุ เคยชนิ กบั ปญ หา ทาํ ใหเ ผชิญความเครยี ดเกง การปรบั ตัวได
รวดเรว็ และมีประสิทธภิ าพ

บางคนเครียดจากวิธีคิดของตนเอง เชน ชอบคดิ ลวงหนา มาก
เกินไป คิดในทางราย มองโลกในแงร า ย ไมม วี ิธีหยุดคิด คาดหวงั
ชยั ชนะมากจนเกนิ ไป คาดหวงั ความสาํ เรจ็ เพื่อคนอนื่ ไมรสู กึ ยินดี
กับชัยชนะของคนอน่ื บางคนคดิ วาถาแพค นอ่ืนจะดูถูกเยย หยนั
ไมมคี นสนใจคนพายแพ บางคนคดิ วาการพายแพเ ปนสิ่งทีน่ า
อบั อาย คดิ วาตนเองไมด ี ไมมีคุณคา เปนตนเหตุใหค รอบครัวเสีย
ชอื่ เสียง บางคนคิดวา พอ แม เพอ่ื นฝงู รสู กึ อับอายไปดวย คาด
หวังกบั ผลตอบแทน เชน เงินรางวัล รายได ตําแหนง ถกู คาดหวงั
มากจากเพื่อน

13

ความคดิ ทีไ่ มสมเหตผุ ล ไดแ ก การคิดวาตวั เองตองทาํ ใหทกุ
คนพอใจ ฉนั ตองเปนที่รักของทกุ คน คนท่ไี มท กั ทายฉันเปนท่เี กลียด
ฉัน นอกจากการคดิ ไมด ไี มสมเหตผุ ลแลว คนทส่ี ุขภาพจิตไมด มี กั
ขาดการคดิ แกปญหา คดิ ไมเปนระบบ ขาดการคดิ สรางสรรค

3. ปจ จยั สง่ิ แวดลอมภายนอก สงิ่ แวดลอมภายนอก ทม่ี ีผล
ตอ สขุ ภาพจิต ไดแกครอบครวั เพื่อน เพอื่ นรว มงาน ทีอ่ ยอู าศยั ท่ี
ทาํ งานชมุ ชน และประเทศชาติ เปนตวั กระตุนสาํ คญั ทท่ี ําใหจิตใจมี
ความเครียด วติ กกังวลแตกตางกนั

การทํางานทมี่ ีอันตราย ความเส่ียงสงู ไมแ นน อน งานท่ตี อ ง
อดนอน เวลานอนไมแ นนอน เกิดอบุ ตั ิเหตสุ ูง การทํางานนา เบอ่ื
ขาดการพักผอ นหรอื ผอ นคลาย งานทม่ี คี วามคาดหวงั สูง ตองใช
พลงั กาย พลังใจ สายตาหรือสมาธิสงู ๆ อากาศรอ นหรอื หนาวเกนิ
ไป เสียงดัง สีทที่ าํ งานทคี่ นใกลช ดิ ที่เครยี ดสขุ ภาพจติ ไมดี
บรรยากาศที่เรง รบี ไมเปน กนั เอง การแขงขันสูง มกี ารตั้งเปา หมาย
จากภายนอกสูง มีการแบงพรรคพวก จอ งจับผดิ ทําลายกัน

14

ลวนเปนเหตุภายนอกที่รบกวนสุขภาพจิต การเลือกส่ิง
แวดลอมทด่ี ี เหมาะกับตัวเอง หรอื ปรบั เปลีย่ นสง่ิ แวดลอมใหม ี
บรรยากาศผอนคลาย เปนมติ รกัน ชวยเหลอื กัน ส่อื สารกนั ดา น
บวก ชว ยปอ งกนั หรือสงเสริมสุขภาพจติ ได

การเลือกงานทเี่ หมาะกบั ตนเอง การวางแผนงานหรือการ
แบงงานทีพ่ อดี ไมม ากเกนิ ไป ไมนาเบ่อื สนุก ชวยเหลือกัน เลือก
งานหรอื สรา ง

15

4. ความสามารถในการปรบั ตวั คนมีวิธีการปรบั ตวั แตกตาง
กนั ขนึ้ อยกู ับพนื้ ฐานบคุ ลิกภาพ ถา ไมมีการฝกในการเผชิญ
ความเครียดอยา งถูกตอ ง จะใชว ิธีการแกไ ขปญหาแบบเดิม ซึ่งอาจ
ไมถกู ตอง และเปนผลเสียตอสมรรถภาพ เชน บางคนใชว ธิ โี หมทํา
งานมากๆ โดยคดิ วา ยิง่ หนกั ยิง่ ดี แตความจริงแลว ควรมีความพอ
ดๆี หนักมากเกินไปรา งกายทรุดโทรม จติ ใจตงึ เครยี ด ทําใหย ิ่งผล
งานแยลง บางคนเวลาเตรยี มหรือซอ มทําไดด ี แตเวลาทาํ จริงเกดิ
ความเครยี ด ตื่นเตน จนทาํ ไดตํ่ากวา ความสามารถทีแ่ ทจ รงิ บางคน
มอี าการของความเครียดออกมาทางรางกาย ทําใหเหง่ือออกมาก
ใจเตน ใจส่ัน มือสน่ั รบกวนการทาํ งาน บางคนหลบเลี่ยง บางคน
ยอมเส่ยี งมากเกินไปจนเปน อันตราย

การฝกตวั เองใหม ีความสามารถในการปรับตวั เผชิญปญหาได
ชว ยปองกนั ความเครียดได การพัฒนาตวั เองใหป รบั ตวั ไดด ี มักเรม่ิ
ตนต้ังแตเดก็ ฝกใหเผชิญปญหา ไมช ว ยเหลอื มากเกนิ ไป จะมีทักษะ
ในการแกป ญหาดี เมือ่ เผชิญปญหาจะทาํ ไดดีไมเ กดิ ความเครยี ด

16

โภชนาการ

“ผู้สงู อาย”ุ

ความตองการสารอาหารในผสู งู อายโุ ดยทวั่ ไปใน 1 วันผูสงู
อายุควรรบั ประทานอาหารใหครบทงั้ 5 หมแู ละหลากหลายชนดิ ใน
ปริมาณที่เพียงพอตอ ความตองการของรางกายเพอื่ ใหน า้ํ หนักอยูใน
เกณฑท ่เี หมาะสมดงั ตอไปน้ี (Leehahul, Buddhadejakham, &
Thaweeboon, 2002)

1. พลังงาน ผูสงู อายุมคี วามตองการพลังงานนอยกวา คนวยั
หนุมสาวเนอ่ื งจากผูสูงอายุมีเนอ้ื เยื่อทีค่ อนขา งปราศจากไขมนั และ
ทาํ กจิ กรรมตาง ๆ ลดลงซ่งึ ความตองการพลงั งานขึ้นอยูกบั กิจกรรม
ทที่ ําและสว นประกอบของรางกายความตองการพลงั งานในวยั ผูใหญ
ประมาณ 1.5 เทา ของความจะลดลงรอ ยละเม่ืออายุ 51-75 ป
ความตอ งการจะลดลงรอยล 10 ของพลงั งานทัง้ หมดและเพิ่มขน้ึ
นรอ ยละ 10-15 เมอื่ อายุมากกวา 75 ปขอกําหนดความตอ งการ
สารอาหารท่ีควรไดรบั ประจําวนั ของผูสงู อายุ

17

ไดก ําหนดใหผ สู งู อายชุ ายและหญิงไดรับพลังงานจากอาหารไม
เกินวนั ละ 2,250 และ 1,850 กโิ ลแคลอรีท้ังนี้ข้นึ อยูก บั กจิ กรรมท่ี
ทาํ สารอาหารที่ใหพ ลังงาน ไดแ ก โปรตนี คารโบไฮเดรตและไขมันงกา
รพลังงานพน้ื ฐาน

2. โปรตนี ผูสูงอายุตอ งการสารอาหารโปรตีนไมลดลงจากวัย
หนุมสาวบางคร้ังอาจจะตองเพ่มิ ข้นึ โดยผสู งู อายคุ วรไดรับสารอาหาร
โปรตนี 1 กรมั ตอ น้าํ หนักตัว 1 กโิ ลกรัมตอ วนั จงึ จะเพยี งพอตอ
สมดุลของไนโตรเจนไดดีทีส่ ดุ ความตองการโปรตีนจะเพม่ิ มากขึน้ ถา
รางกายมคี วามเครียดจากการไดรบั บาดเจ็บการติดเชอื้ การผา ตัด
หรอื การเจ็บปวยโดยอาหารที่ใหโปรตนี คณุ คาสงู ไดแ ก เนอื้ สตั วน ม
ไขถัว่ เหลืองเปนตน ผูส งู อายคุ วรด่ืมนมอยา งนอยวันละ 1 แกวและ
รับประทานไขส ัปดาหล ะ 3 ฟอง

3. ไขมัน อาหารไขมนั โดยเฉพาะไขมันจากสัตวเ ปน สาเหตุ
ทําใหคอเลสเตอรอลในเลือดสงู ขน้ึ และเส่ยี งตอการเกิดหลอดเลือด
หวั ใจรางกายจึงตองการไขมนั ในปรมิ าณทนี่ อยเนอื่ งจากการยอ ยไข
มนั ในผูส งู อายลุ ดลงความตอ งการสารอาหารไขมนั ของผูสูงอายุจงึ ไม
ควรเกินรอ ยละ 30 ของพลงั งานท้งั หมดและมีกรดไขมันไมอม่ิ ตัวไม
เกินรอยละ 10 ของพลังงานทั้งหมดคอเลสเตอรอลในอาหารไมควร
เกิน 300 มิลลกิ รมั ตอวัน

18

4. คารโบไฮเดรต ปริมาณคารโบไฮเดรตทีค่ วรไดรบั ในผสู งู อายุ
ควรเปน รอยละ 55 ของพลังงานท้งั หมดและควรเปน คารโบไฮเดรต
เชิงซอ นเชน ขาวกลอ งขาวซอ มมอื ธัญพืชไมขดั สขี นมปงโฮลวีท
เปนตน มากกวานา้ํ ตาลเชิงเด่ียว (simple sugar) เนอื่ งจากพบวา
น้ําตาลในเลือดสูงโดยเฉพาะซโู ครสกอ ใหเ กิดปญหาภาวะนํา้ ตาลใน
เลือดสูง และภาวะดือ้ ตออินซูลนิ นอกจากนี้ ปญ หา an Lactose
intolerance อาจเกิดไดใ นผสู ูงอายุบางรายอนั เน่อื งมาจากระดับ
ของเอนไซมแ ลคเตสในลาํ ไสเล็กทีล่ ดลงในผูสูงอายทุ ่ีไมไ ดมกี ารดื่ม
นมเปน ประจําทําใหเ กดิ ทอ งอืดหรอื ทอ งเดนิ ซง่ึ เปน ผลจากรา งกาย
ไมส ามารถยอ ยคารโบไฮเดรตทเ่ี ปนน้ําตาลแลคโตสได
(Thunthlsirin & Yamborisuth, 2018)

19

5.วติ ามินและเกลือแร ผสู ูงอายุมคี วามตองการวติ ามนิ บาง
ตวั ในปริมาณไมม าก แตวติ ามินทกุ ตัวมีบทบาทสาํ คัญโดยเฉพาะทาํ
หนา ท่ีเปนโคเอนไซมใ นเมตราบอลซิ มึ ตา ง ๆ และแรธาตทุ ําหนา ที่
เปนสวนประกอบของเซลลเน้ือเยอ่ื กระดกู หรอื ทาํ หนาท่ีเปนโคแฟค
เตอรใ นปฏิกิริยาตาง ๆ ในรา งกาย ซ่ึงผสู ูงอายมุ กั รับประทาน
อาหารไดน อ ยจึงทาํ ใหเกิดความบกพรอ งของวติ ามนิ และแรธาตุใน
รางกายผสู ูงอายมุ กั มีปญหาการขาดวิตามนิ บีสิบสองธาตุเหล็กและ
แคลเซยี มอันเนอ่ื งมาจากรบั ประทานอาหารนอ ยลงและ
ประสทิ ธภิ าพการดูดซมึ อาหารในลําไสสตลงรวมทงั้ การสูญเสีย
อาหารตา ง ๆ จากการเปนโรคเรื้อรงั ดงั นนั้ การจดั หมอู าหารใหม ี
ความหลากหลาย และในปรมิ าณเหมาะสม จะชว ยใหภาวะ
โภชนาการ วิตามนิ และแรธ าตุของผสู งู อายใุ นสภาวะทสี่ มดลุ
วติ ามินทผ่ี สู งู อายุตองการ ไดแก (Thunthisirin & Yamborisuth,
2018)

20

- วติ ามินเอ ความตองการวติ ามนิ เอของผสู ูงอายเุ พศชาย
และเพศหญิงคือวนั ละ 700 และ 600 ไมโครกรมั เรตนิ อลอคี วิวา
เลนทแหลงอาหารท่ีใหว ติ ามินเอ ไดแก เน้ือสัตวเ ชนน้ํามันตับปลา
อาหารประเภทเนอ้ื ไขต บั เครอื่ งในในผกั เชน ตาํ ลงึ แครอทฟงทอง
คะนาผักโขมเปน ตน วิตามินดีความตองการ

- วติ ามนิ ดี ของผสู งู อายคุ ือวนั ละ 5 ไมโครกรับสําหรบั ผูส งู
อายุทีอ่ ยูในบานหรือสถานพยาบาลควรไดรบั วติ ามันดีเสริมวนั ละ
10 ไมโครกรมั ในรปู แบบของยาเม็ตโนอาหารพบวิตามินดีมากใน
ปลาทีม่ ีไขมันสูงเชน ปลาแซลมอนปลาทูนา ปลาทูปลาซารด ีนไชแกะ
นม เปน ตน

- วติ ามินอี ความตองการวติ ามนิ อีของผสู งู อายุเพศชายและ
เพศหญงิ คอื วนั ละ 10 และ 8 มิลลิกรัมแอลฟาโทโคเฟอรอลอีควิวา
เลนทพบในอาหารประเภทนํ้ามนั พชื ผกั ใบเขยี วตับและไขเปน ตน

- วิตามนิ เค ความตองการวติ ามินเคของผูสงู อายุเพศชาย
และเพศหญิงคอื วันละ 80 และ 65 ไมโครกรมั พบในอาหาร
ประเภทผักใบเขียวผลไมธ ญั พชื เน้อื นมและผลิตภัณฑของนม
เปนตน

21

- ไฮอะมีน (thiamin) ความตอ งการใธอะมนี ของผูสูงอายุ
เพศชายและเพศหญงิ คือวนั ละ 1.2 และ 1.0 มลิ ลกิ รมั อาหารที่
เปน แหลง ไขอะมิน ไดแก เนอ้ื หมูเนื้อววั นมและธญั พืชอาหารทม่ี ี
สารทาํ ลายหรอื ขัดขวางการดูดซมึ ของไฮอะมนิ ไดแ ก ปลาดิบใบชา
และหมาก เปน ตน

- ไรโบฟลาวนิ (riboflavin) ความตองการไรโบฟลาวินของผู
สูงอายเุ พศชายและเพศหญงิ คอื วนั ละ 1.4 และ 1.2 มิลลิกรัม
แหลง อาหารท่ใี หไรโบฟลาวนิ ไดแ ก เนือ้ นมไขและผักใบเขยี ว
เปนตน

- วติ ามินซี ความตอ งการวิตามนิ ซีของผสู ูงอายคุ อื วันละ 60
มิลลกิ รมั ปจ จยั ทท่ี าํ ใหความตองการวติ ามนิ ซีเพ่ิมมากขน้ึ ไดแ ก
การสูบบหุ รกี่ ารด่ืมแอลกอฮอลยาบางชนิดเชน ยาแอสไพรินหรอื อยู
ในภาวะเครียดผกั และผลไมท ี่มีวติ ามนิ ซสี ูง ไดแ ก สม แตงโมมะละ
กออนุนฝร่ังมะมวงลิ้นจี่มะนาวผกั คะนากะหลํ่าปลีมะเขอื เทศ
เปน ตน

22

- วติ ามนิ บี 6 ความตอ งการวิตามนิ บี 6 ของผสู งู อายเุ พศ
ชายและเพศหญิงคือวันละ 2.2 และ 2 มิลลกิ รัมแหลงอาหารท่ใี หวิ
ตามินบี 6 ไดแก เนอื้ หมูธัญพืชปจ จยั ท่ที ําใหม กี ารสญู เสียวิตามินบี
6 ไดแ ก การหุงขาวแบบเชด็ นาํ้ การใชย าบางชนดิ เชน INH จึงควรให
วติ ามินบี 6 เสริม

- วติ ามนิ บี 12 ความตอ งการวติ ามนิ บี 12 ของผสู งู อายุคอื
วนั ละ 2.0 ไมโครกรัมในผสู งู อายุท่ีมีภาวะ atrophic gastritis ควร
ใหวิตามนิ บี 12 เพ่มิ ขนึ้ แหลง อาหารทใ่ี หว ิตามินบี 12 สวนใหญพบ
ในผลิตภณั ฑจากสตั วเชน อาหารทะเลเนอ้ื สัตวไขน ม เปน ตน

- โฟเลต (folate) ความตอ งการโฟเลตของผูสงู อายุเพศชาย
และเพศหญงิ คือวันละ 175 และ 150 ไมโครกรมั เพอื่ ปอ งกนั ภาวะ
ซดี และล้นิ อกั เสบแหลงอาหารท่ใี หโ ฟเลต ไดแ ก ผักใบเขยี วตับเนื้อ
สัตวถ ่ัวตาง ๆ ยสี ตแ ละธัญพชื

23

- ไนอะซนิ (niacin or vitamin B3) ความตอ งการในอะซิ
นของผสู ูงอายุไมแตกตางจากวัยผใู หญท ้ังในเพศชายและเพศหญิงคือ
วนั ละ 16 และ 13 มลิ ลิกรัมแหลง อาหารที่ใหใ นอะซิน ไดแก นมไข
เน้ือสตั วและโปรตีนจากพชื เชน ถวั่ ตาง ๆ ธญั พืช

- แคลเซียม (Calcium) การสูญเสียเนือ้ กระดูก
(osteoporosis) พบไดบอ ยในผูสงู อายโุ ดยเฉพาะเพศหญงิ การดูด
ซมึ แคลเซยี มท้ังในเพศชายและเพศหญิงจะสดลงตามอายุความ
ตองการแคลเซียมสาํ หรบั ผหู ญงิ วัยหมดประจําเดือนเปนวันละ
1000-1500 มลิ ลกิ รมั แหลงอาหารทพ่ี บแคลเซียม ไดแก กะหลํา่
ปลกี ลวยเดาหนมถวั่ เหลอื งผกั คะนานมพรอ งมนั เนยเมล็ดงากงุ แหง
ปลาเลก็ ปลานอ ยเปน ตน

24

ออกกาํ ลังกาย

“ผู้สงู อาย”ุ

การออกกาํ ลังกายสาํ หรับผูสูงอายุควรคํานึงถึงอะไรบา ง
เน่ืองจากผสู งู อายุจาํ นวนมากไมค อ ยออกกาํ ลังกายหรือไมชอบออก

กําลงั กายตั้งแตวยั หนุมสาวทําให้ขาดความเขาใจในเรอื่ งการดแู ลสุขภาพ
รา งกาย เม่อื อายุมากข้ึนก็สงผลใหร า งกายออ นแอหรือมปี ญ หาทางสขุ ภาพ
ไดง า ย อยา งไรก็ตามปจจบุ นั ผูสงู อายสุ ว นใหญจะไดรับคําแนะนําท้ังจาก
แพทย อาสาสมัครผูนาํ ชมุ ชน หรือเจา หนาทเี่ ก่ียวกับสุขภาพ เกี่ยวกบั การ
ออกกาํ ลังกาย ทาํ ใหห ลายๆ ทานเริ่มหันมาสนใจสุขภาพของตนเองมาก
ข้ึน อยา งในเรอ่ื งของการออกกาํ ลงั กายสําหรับผูสงู อายุน้นั จะมสี ิง่ ทคี่ วร
คาํ นงึ คอื

- ควรเริ่มจากการยดื กลามเน้ือและอบอนุ รา งกายกอ นออกกําลงั
กายทุกครั้ง เพราะเมอ่ื เขาสูวัยสูงอายุ รางกายจะเรมิ่ เส่อื มสภาพลงทําให
การออกแรงมากๆ เปนเรอ่ื งยากและกอใหเกิดอาการบาดเจ็บของกลา ม
เนื้อได

25

- เลอื กสวมรองเทา ออกกําลังกายท่เี หมาะสมเพอื่ ชว ยในการ
เคล่ือนไหวรางกาย

- เลอื กกิจกรรมท่ีทาํ ติดตอ กนั ได 10-15 นาที
- เลือกกิจกรรมท่ไี มท าํ ใหเ กดิ ความเครียด
- ควรมีเพื่อน หรือคนในครอบครัวรวมออกกําลังกายอยา ง
นอ ย 1 คน
รปู แบบการออกกาํ ลงั กายที่เหมาะสําหรับผูส งู อายุ
1.การเดนิ หรือว่ิงชา ๆ ผสู งู อายคุ วรเริ่มออกกาํ ลงั กายจาก
เบาไปหนกั โดยเริม่ จากการเดินชาๆ เพ่อื ใหรา งกายปรับสภาพสกั
ระยะหนึ่ง จนรา งกายเคยชนิ กบั การเดนิ แลวคอยเพ่มิ ความเร็วข้ึน
เปนการเดินเรว็ หรอื การวิ่ง สาํ หรบั ผทู ่ีมีปญหาเกี่ยวกับขอ เขาหรือ
ขอ เทากไ็ มค วรวิง่ เนื่องจากจะสง ผลใหเ กดิ อาการบาดเจบ็ มากขึน้
การเดนิ หรือวง่ิ สามารถทาํ ไดท ่ีสนามหรอื สวนสุขภาพ ที่มีอากาศ
ปลอดโปรง มีพน้ื ผวิ ทเี่ รยี บเพื่อไมใ หสะดดุ ลม นอกจากนีค้ วรเลือก
สวมรองเทาผา ใบทกี่ ระชบั เพ่อื รกั ษาขอ ตอตา งๆ ไมใหไ ดรับแรง
กระแทกมากเกนิ ไป

26

2.กายบริหาร ทางเลอื กสําหรบั ผูท่ีตอ งการออกกําลังกายท่ี
บา น โดยสามารถออกกําลงั กายไดทกุ สดั สว น พรอมทัง้ ฝก ความ
อดทน การทรงตัว และความยืดหยนุ ของรา งกาย ซ่ึงกายบรหิ ารมี
หลายทาใหเ ลอื กตามความเหมาะสม เชน เหยยี ดนอ ง เขยง ปลาย
เทา ยอเขา โยกลําตัว เปนตน

3.วา ยนาํ้ หรอื เดินในน้าํ การออกกาํ ลังกายในน้ําสําหรบั ผสู ูง
อายุ เหมาะกับผทู ม่ี ีขอ เขา เส่ือมเพราะการวายนํา้ ชวยลดแรง
กระแทกโดยตรงกบั พ้นื แขง็ ชว ยในการฝกกลามเนื้อในทกุ สว นของ
รา งกายและฝกการหายใจอยา งเปน ระบบได สาํ หรบั ผูส งู อายุทวี่ า ย
นํา้ ไมเปน สามารถออกกาํ ลงั กายไดโ ดยการเดนิ ในน้ําไปมาเพื่อให
กลา มเนื้อไดออกแรงมากขน้ึ

4. ขจี่ ักรยาน การขีจ่ ักรยานเหมาะสําหรับผูสงู อายุทมี่ คี วาม
แขง็ แรง เนอ่ื งจากตอ งควบคุมจักรยานและออกแรงมากกวา ปกติ
การขจี่ ักรยานชวยเสรมิ ความแขง็ แรงของกลา มเนอื้ ขามากขึน้ อกี ท้งั
ยงั ทาํ ใหไดรบั ความเพลิดเพลินจากการขไี่ ปยงั สถานทตี่ างๆ และ
เหมาะกบั การไปเปน หมูคณะ

27

5. รํามวยจนี ราํ มวยจนี เปน การออกกาํ ลงั กายทีเ่ หมาะกับผู
สูงอายุท่ีใหท้ังความอดทน ความแข็งแรง ความยืดหยนุ ซง่ึ
นอกจากทางดานทางกายแลว ยังชวยในการฝกจติ ใจ และการหายใจ
ใหเปน ไปตามธรรมชาติ
การราํ มวยจนี ทาํ ใหผ สู งู อายไุ ดเ ขาสังคมมากข้นึ เน่อื งจากจะไดมา
รวมออกกําลงั กายกันเปนกลมุ และชว ยสรางสังคมผูสงู อายุทม่ี ี
ความชอบในการดแู ลตวั เองอีกดวย

6. โยคะ โยคะเปน วทิ ยาศาสตรแขนงหนึ่งท่ีสงผลใหผทู ี่
ปฏิบตั ิมีสขุ ภาวะที่ดีข้นึ ท้ังดานรา งกายและจติ ใจ แตก ารออกกําลัง
กายดวยโยคะจะตองมีการฝก ฝนอยา งถูกวธิ ีถงึ จะไดผ ลดีตอรางกาย

28

5 ขอดจี ากการออกกาํ ลงั กายสาํ หรับผูสูงอายุ
1. ชว ยตานทานโรคและรักษาโรคได การไดออกกาํ ลังกาย

อยางตอเนอ่ื งและถกู วธิ สี งผลใหม ีโอกาสการเกิดโรคภัยไขเจ็บลดลง
ได เนื่องจากรา งกายมีความแขง็ แรงและระบบการทาํ งานภายใน
รา งกายท่ียงั ทาํ งานไดเ ปน ปกติ นอกจากน้กี ารออกกําลังกายเปน
ประจํายังชว ยรกั ษาในผูป ว ยโรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง ให
ระดบั น้าํ ตาลและไขมันในเลือดลดลงได

2. ชะลอการเส่ือมของอวัยวะ เมือ่ เขาสูช วงวัยสูงอายุระบบ
การทาํ งานของรา งกายจะเรม่ิ มีความออ นแอลง รวมถงึ อวยั วะ
ภายในท่อี าจทํางานไดไมเปน ปกติ การออกกาํ ลังกายจงึ ชวยใหค วาม
แขง็ แรงของระบบการทํางานรางกายไดท ํางานเปน ปกติอกี ครงั้ ท้งั น้ี
กข็ น้ึ อยูกบั ความเหมาะสมของการออกกําลงั กายของแตละบคุ คล
ดวย ถาผูส งู อายุออกกาํ ลังกายอยางเปน ประจําก็จะชวยในการชะลอ
การเสอ่ื มของอวยั วะไดม ากขนึ้

3. ชว ยในการทรงตวั และมรี ปู รา งดขี ึ้น เม่ือเขา สูชว งวยั สูง
อายจุ ะมีปญ หาในเร่อื งของกระดูกท่ีเรม่ิ ไมแ ขง็ แรง ทอ่ี าจมาจาก
ปญหาการมนี ํา้ หนกั ตัวมากเกินไปสงผลใหกระดกู ออนแอและมี
อาการเจบ็ ปวดตามขอตอ รางกายไดบอ ยๆ รวมถึงอาจเกิดการ
ทรงตัวท่ไี มค อ ยดี

29

การออกกําลังกายจะชวยเพม่ิ การยืดหยุนของกลามเนอ้ื หรือ
การฝก ฝนกลามเนอื้ ใหแ ขง็ แรงจงึ เปน สง่ิ จาํ เปนท่ีจะชวยเพิม่
ประสิทธภิ าพของการทรงตวั ใหดีขึน้ ซงึ่ นอกจากนัน้ แลวผสู งู อายุ
ควรรบั ประทานอาหารทด่ี ีตอสุขภาพและครบ 5 หมูด ว ย เพ่อื ชว ย
ในการลดนา้ํ หนักตัวท่ีจะทําใหม ปี ญหาเรื่องการทรงตวั ได

4. ชว ยสรา งสขุ ภาพจดิ ที่ดีขึน้ การออกกําลงั กายนอกจากจะ
ชวยใหผูสูงอายุมีรา งกายและระบบภายในทแี่ ขง็ แรงแลว ยังชวยใน
การสรา งสุขภาพจิตทด่ี ขี ้นึ ดวย เมือ่ ไมม โี รคภัยหรอื อาการเจ็บปว ย
มารมุ เรา ก็จะชว ยลดความกงั วลดานสุขภาพของผูสงู อายุดว ย
นอกจากนแี้ ลว เมอื่ ผูส ุงอายไุ ดม าออกกาํ ลงั กายรวมกนั ตามสวน
สขุ ภาพ กจ็ ะชว ยสรางสงั คมผูสูงอายุที่ชอบดูแลตัวเอง ทําใหเ กิด
สังคมใหมขน้ึ มาได

30

5. สงผลดีตอ การใชช วี ติ ประจําวัน เม่อื เขาสูว ัยสูงอายสุ ง่ิ ที่
เคยทาํ ไดอยางรวดเร็วในตอนที่ยังหนมุ ก็จะทําไดช า ลง ไมว าจะ
เปน การเดนิ การลกุ การน่งั หรอื กิจกรรมทอ่ี าศยั การเคล่อื นไหวรา ง
กายมากๆ ก็จะทาํ ไดไมไหว ดังน้นั การออกกาํ ลังกายจึงชว ยใหผ ูส งู
อายุยังสามารถทํากจิ กรรมในชวี ติ ประจาํ วนั ไดเปน ปกติหรอื ลดความ
ลาํ บากในการทาํ กิจกรรมเหลาน้นั ลงได เน่อื งจากการมรี างกายที่แขง็
แรงมากขึ้น

สรปุ การออกกาํ ลงั กายในผสู งู อายุใหไ ดผ ลดีนั้น จะตองสง ผล
ตอระบบรา งกาย จติ ใจใหมีความสมบรู ณแข็งแรงและลดโอกาสของ
การเจ็บปว ยไดมากขนึ้ โดยจะขึ้นอยูกบั ความถใ่ี นการออกกาํ ลังกาย
เพ่อื ใหรางกายเคยชนิ และไมไดรับการบาดเจ็บจากการออกกําลังกาย
ทัง้ นี้ควรผูสงู อายุควรออกกําลงั กายตามความเหมาะสมของตนเอง
ไมหักโหมจนเกนิ ไป และรับประทานอาหารใหค รบ 5 หมใู นแตละวัน
กจ็ ะชว ยใหผ ูสงู อายุมสี ขุ ภาพรา งกายทีด่ ียงิ่ ข้นึ

31

ครอบครัว

“ผ้สู ูงอายุ”

ผูสงู อายใุ นปจ จบุ ันมีจํานวนเพิ่มขึ้นอยางเห็นไดช ดั พบถงึ รอย
ละ 8 ของ ประชากรและมีแนวโนม ทีจ่ ะเพ่มิ ขึ้นอยางรวดเร็ว
อยา งไรกต็ ามดวยวฒั นธรรมไทย ในการปฎบิ ัตติ อผูสงู อายหุ รือ
บุพการีทเี่ นน ในเร่ืองความกตญั ญกตเวที และผสู ูงอายุสวนใหญ ยัง
คงอยกู บั ลกู หลาน ซงึ่ มักเปนบุตรสาวทค่ี อยชวยเหลือเก้อื กูลในเรือ่ ง
ตางๆ ดังน้ันครอบครวั ญาตหิ รอื ครอบครัวจงึ มีบทบาทท่สี าํ คญั ตอ
การดูแลผใู หมีความสุขทัง้ รา งกายและจติ ใจ มคี ุณภาพชีวิตท่ีดี แตก็
ยงั พบวาผูสงู อายมุ ีปญ หา ทงั้ ดา นรา งกายและจิตใจ ย่งิ อายุเพม่ิ
มากขน้ึ ก็ยิง่ พบปญ หาสขุ ภาพมากท้งั สุขภาพกายและสุขภาพจติ ขน้ึ

ปญ หาสุขภาพจติ ในผสู ูงอายุทีพ่ บไดบ อย ไดแ ก อาการซมึ
เศรา อาการเหงาและวาเหว ซง่ึ อาการทางจิตใจเหลาน้ี มผี ลกระ
ทบตอ รา งกายได รวมทง้ั มสี าเหตุมาจากการเจ็บปวยทางกายไดเ ชน
กัน เราจงึ มักพบเปนประจาํ วาผูสูงอายุ มารับการรกั ษาที่โรง
พยาบาลดวยอาการทองผกู ทอ งอดื ทอ งเฟอ เบื่ออาหาร แทนท่ี

32

จะมาดวยอาการเหงา หรอื วาเหว การทผ่ี สู งู อายมุ ีความเหงาและ
วา เหวเ ปน เพราะ การขาดปฏสิ มั พนั ธก ับลกู หลาน ขาดการพบปะ
พดู คยุ กบั เพื่อนฝงู อาจเน่อื งจากการถดถอยจากสังคมดวยตวั ผูส ูง
อายุเอง หรือลกู หลานไมมีเวลาเอาใจใสด ูแล หรือเพอื่ นฝงู เริ่มลม
หายตายจากไปทําใหโ อกาสที่จะมีความสมั พนั ธก บั สังคม ภายนอก
ลดนอ ยลงไปเรอ่ื ยๆ

ดังน้ัน สงั คมที่มีความใกลชิดกบั ผูส ูงอายุมากท่ีสุดก็คือ
ครอบครัวนั่นเอง ลกู หลานหรือสมาชิกในครอบครวั จึงตอ งมีความ
เขา ใจในปญหา ความตองการ และ อาการเปล่ียนแปลงทางจติ ใจท่ี
เกิดขน้ึ ในผูสูงอายุ รวมทง้ั ควรจะตอ งทราบกลวิธี ในการสราง
เสรมิ สุขภาพจติ ผสู ูงอายุ เพ่อื เปน การปอ งกันปญ หาการเจบ็ ปวย
ทางจิตท่ีอาจเกดิ ขึน้ ตามมาไดเ ชน อาจเกิดอาการซมึ เศรา มากขน้ึ
จนตองเขารักษา ซงึ่ จะทาํ ใหก ารดูแลมคี วามยุงยากมากข้นึ การ
ปอ งกนั ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพจงึ มีความจําเปนอยา งย่งิ

33

จึงเปนบทบาทท่สี าํ คัญของลกู หลานหรอื ครอบครวั ท่ีจะดแู ล
สรา งเสรมิ ความแขง็ แกรงทางจติ ใจใหผ สู งู อายุ วธิ ีการสรางเสริมทด่ี ี
ประการหน่งึ คือ การสรา งเสรมิ ใหผูสูงอายุมีความรูส กึ มีคณุ คา ใน
ตนเอง มคี วามภาคภูมิใจ เนือ่ งจาก เม่ือเขาสวู ัยสงู อายุ จะเกิดการ
สูญเสีย การถดถอยในหลายๆ เรือ่ ง เชน สุขภาพ เส่อื มถอย เพือ่ น
ฝงู ลดลง ความสามารถ ความมัน่ ใจท่ีจะทําอะไรดว ยตนเอง เร่ิมลด
ลง ยง่ิ ถาหากปลอยไปตามกาลเวลาหรอื สถานการณทเี่ ปน อยูจะย่ิง
เกิดความถดถอยจากสังคมไปเร่ือยๆ จนตัวผูสูงอายเุ กิดความรสู กึ
เหงา วา เหว มีความเศราตามมา

บทบาทของลูกหลานในการที่จะสรา งความรูส กึ มีคณุ คา ในตัว
เองของผูสูงอายุ ไดแ ก การยอมรับสภาพความเปนผสู งู อายุ การยงั
คงใหผสู ูงอายปุ ฏิบัตหิ นาทภ่ี าระกจิ การงานในครอบครวั เหมอื นเชน
เดิมท่ีเคยปฏบิ ัติมา การสอบถาม ความคิดเหน็ พูดคุย ขอคาํ
ปรึกษา ลูกหลานไมควรไปคาดคิดวาจะเปน การทําใหผสู งู อายุทาํ งาน
ในบานมากเกนิ ไป หรือไมค วรคาดคดิ วาผูสงู อายจุ ะไมทราบในเร่ืองท่ี
จะปรกึ ษา ความจรงิ แลว เพียงแตก ารมปี ฏสิ ัมพันธท ีด่ ตี อ กนั ในเชงิ
การใหเ กยี รติ ยกยองดังกลา วกท็ าํ ใหผ ูส งู อายรุ สู กึ ดีมากแลว

34

นอกจากนี้การไดมีโอกาสพดู กบั ผสู งู อายทุ ุกวนั จะทาํ ใหญ าติ
สามารถสังเกตเหน็ การเปลย่ี นแปลงทางพฤตกิ รรมตางๆ ท่ีจะนาํ ไปสู
การเจบ็ ปว ยได รวมท้ังสามารถใหก ารชว ยเหลือผสู ูงอายุ โดยการพา
ไปตรวจสุขภาพประจาํ ปเ ปน การเบ้ืองตนกอนกอ นท่อี าการเจบ็ ปวย
จะมคี วามรนุ แรงมากขน้ึ ในท่ีสดุ ผสู งู อายุจะยงั คงมคี วามรูสกึ ทีด่ ตี อ
ตนเองรูสกึ ไดร บั ความเอาใจใส ดแู ลจากลกู หลาน ทําใหเ กิดความ
ภูมใิ จในเกียรตศิ กั ด์ิศรแี หง ตน โดยเฉพาะความเปน ผอู าวโุ สของ
ครอบครวั การเจบ็ ปวยเลก็ ๆ นอ ยๆ ทางกาย อนั มผี ลจากปญ หา
ทางจิตใจก็จะบรรเทาเบาบางลง กระบวนการปฏสิ มั พันธตอกนั ดัง
กลาว ยังสงผลใหท กุ คนในครอบครวั ทัง้ ลูกหลานและตวั ผสู ูงอายุ
สามารถดาํ รงชีวติ รวมกนั อยา งเปนสุข ดังคาํ วา “ครอบครวั สดใส
ดว ยการใสใ จผสู ูงอาย”ุ

35

สิ่งท่คี นในครอบครัวควรปฏิบตั ิ
- ชวยนําใหผ สู ูงอายรุ ูสกึ วา ตนเองยงั มคี ุณคา มีความสําคัญ

และมีความหวังในชวี ิต เชน ขอคําแนะนําตา ง ๆ ขอความชว ยเหลือ
จากผสู ูงอายใุ หควบคมุ ดูแลบา นเรือน เปนที่ปรกึ ษาอบรมเล้ียงดูลูก
หลาน

- วรระมัดระวงั คาํ พดู หรอื การกระทําที่แสดงออกตอ ผสู ูงอายุ
เนนความสาํ คญั ของผสู ูงอายเุ ปน อนั ดับแรก ยกตวั อยา งเชน เวลา
รบั ประทานอาหารเชญิ ชวนใหร บั ประทานอาหารกอนและตกั ขา วให

- ชวนผสู งู อายเุ ลา เรอื่ งเหตกุ ารณป ระทบั ใจในอดีตของทานให
ฟง และรับฟงอยางตงั้ ใจ จะทาํ ใหผ ูส งู อายรุ ูสึกวา ยงั มคี นช่นื ชมใน
บางสว นของชีวติ ของตนอยู

- อํานวยความสะดวกใหผ ูสงู อายุปฏิบัตกิ ิจกรรมที่นา สนใจตาง
ๆ เชน เมอ่ื ผสู ูงอายุตองการไปวัดหรือศาสนสถานตา ง ๆ ลกู หลาน
ควรจัดเตรียมขา วของตาง ๆ ให และจดั การรับสงหรอื เปนเพื่อน

- เอาใจใสด แู ลเร่อื งอาหาร และการออกกําลังกายหรือทํางาน
ตามความถนัดใหเหมาะสมกับวัย

36

- ทีพ่ กั อาศัย หากผสู ูงอายตุ องการแยกบา นอยู หรอื ตองการ
ไปอยูสถานทีท่ ร่ี ัฐจัดใหกค็ วรตามใจ และพาลกู หลานไปเย่ยี มเมอ่ื มี
โอกาส ถาหากผสู ูงอายุรสู ึกเปน สขุ และตอ งการอยรู วมกับลูกหลาน
กใ็ หอยูบ า นเดยี วกนั เพอ่ื เกดิ ความรสู ึกอบอนุ

- ชวยใหผ ูส งู อายมุ ีโอกาสพบปะสังสรรคกับญาตสิ นทิ และ
เพื่อนรวมวัยเดียวกนั โดยการพาไปเย่ียมเยยี น หรอื เชิญเพื่อนฝูง
ญาติมิตร มาสงั สรรคทบ่ี านเปน ทีค่ ลายเหงา พาไปสถานทท่ี ี่เปน
ศูนยรวมของผูสงู อายุ เชน วัด หรอื ชมรมผสู ูงอายใุ นชมุ ชน

- ใหค วามสําคญั เห็นคณุ คา และเคารพยกยอ งนบั ถือ ดวย
การเชื่อฟง คาํ ส่งั สอนและขอแนะนาํ จากผูส ูงอายุ รวมมอื กันรักษา
ฟน ฟูขนบธรรมเนยี มประเพณีเดิมของไทย เชน ประเพณีรดน้าํ ดําหัว
ผูสูงอายุเนือ่ งในวนั สงกรานต เปน ตน

- ใหอ ภัยในความหลงลมื และความผิดพลาดที่ผูสงู อายุ
กระทาํ และยงิ่ กวา น้นั ควรแสดงความเหน็ อกเห็นใจทีเ่ หมาะสม
ดวย

- ชว ยเหลอื ดแู ลรกั ษาพยาบาลยามเจบ็ ปวย หรือพาไปตรวจ
สุขภาพใหก ารดแู ลอยางใกลช ดิ เม่อื เจบ็ ปว ยหนัก เร้ือรงั

37

หลกั สขุ ภาพ
5 อ.

การดูแล พอ แม และผูสูงอายุ นอกจากความรกั ความใสใจ
แลว ควรตองเตรยี มรางกาย สุขภาพ และจติ ใจของผูส งู อายุให
พรอม ทาํ ไดด ว ยหลกั การ 5 อ. หลักการงา ยๆ ทีไ่ มต อ งรอใหแก
ใครๆก็สามารถทาํ ได ในปจ จุบัน หลายประเทศทั่วโลกรวมถึง
ประเทศไทย กําลงั จะเขา สสู งั คมผสู งู อายอุ ยางสมบรู ณแบบ คือ
การที่ประเทศมสี ดั สวนผูส งู อายุทอ่ี ายเุ กนิ 60 ป สงู ทาํ ใหอ ัตราการ
เกดิ นอ ยลง และประชากรมีอายยุ นื ยาวมากขน้ึ ซ่งึ ประเทศไทยมี
สัดสว นผสู งู อายุสูงทีส่ ุดในอาเซียน จึงคาดการไดวา ในอกี 20 ป
ขา งหนา ประเทศไทยจะเขา สูก ารเปนสงั คมสูงวยั ระดบั สดุ ยอด จงึ
ควรใหความสําคัญ และเตรยี มพรอมใหผ ทู จี่ ะเขาสูวยั ผสู ูงอายุมี
ความพรอ มในการดูแลตนเอง และมพี ฤตกิ รรมสขุ ภาพถูกตอ งสง
เสรมิ ใหความรใู หมีสขุ ภาพแขง็ แรง และปองกนั ลดความเส่ยี ง
ชะลอการเกดิ โรคเรอื้ รงั และ ดูแลผสู งู อายทุ ีเ่ จบ็ ปว ยใหส ามารถ
รักษาตนเอง ดูแลและบรรเทาอาการเจบ็ ปวยใหดขี นึ้ ได

38

สงู วยั แข็งแรง หางไกลโรคดวย หลักการ 5 อ การดแู ลผสู งู
อายุไมเ พียงแตเ ปนหนา ท่ขี องลูกหลาน และคนใกลชิดในครอบครัว
เทานั้น คนทก่ี าํ ลังทีจ่ ะเขา สวู ัยสูงอายเุ องกค็ วรที่จะตอ งเรม่ิ ดูแล
ตนเองต้ังแตเ นนิ่ ๆ เตรียมความพรอมของรา งกายไว และลดความ
เสี่ยงในการเกดิ โรคเร้ือรังตา ง ๆ เนื่องจากวัยสูงอายตุ ้ังแต 60 ปข ้ึน
ไปนัน้ จะมีความเปลี่ยนแปลงสงู ทงั้ ทางดานรางกาย และจติ ใจ

หลักการดแู ลสขุ ภาพ 5 อ. เปนหลกั การดแู ลสขุ ภาพพ้นื ฐาน
ทท่ี าํ และปฏิบัติไดงาย ใหผลดกี บั สุขภาพโดยรวม หลักการ 5 อ.
สามารถใชไ ดก บั คนทุกเพศ ทุกวัย ไมเ พยี งแตผ ูส งู อายุเทานน้ั เพยี ง
หม่นั ทาํ ใหเปนนสิ ัย กส็ ามารถชว ยทาํ ใหรางกายแขง็ แรง ลดความ
เสี่ยงการเกิดโรค และยงั ชวยใหมสี ุขภาพจติ ท่ีดีอกี ดว หลกั การ 5 อ.
นั้นประกอบดว ยการดแู ลสขุ ภาพในดานตา งๆ ทงั้ โภชนาการ การ
ออกกาํ ลงั กาย การทาํ กิจกรรมงานอดิเรก และการดูแลดา นจิตใจ

1.อ.อาหาร การดแู ลโภชนาการ อาหารการกนิ เปนส่ิงสําคัญ
อันดับตนๆ เพราะอาหารท่ีเรากนิ เขา ไปนนั้ เปนสารอาหารทสี่ งผล
ตอสุขภาพโดยตรง หากกนิ ดี กินอยางระมดั ระวงั ควบคุมปรมิ าณให
เหมาะสม ก็จะชว ยใหหางไกลโรคได สาํ หรบั ผสู งู อายุ

39

การเผาผลาญพลงั งาน ระบบการยอ ย และการดซู มึ อาจทาํ งานได
ไมดเี ทา ตอนหนุมสาว จึงควรเลือกกินอาหารใหหลากหลาย ได
สัดสวน ในปรมิ าณที่พอเหมาะ กําหนดใหเพยี งพออิ่ม กนิ ครบ 5
หมู โดยเนน อาหารที่ยอยงาย และควรหลกี เลี่ยงอาหารทมี่ ีไขมนั สงู
หวานจดั เค็มจัด และเครือ่ งดืม่ ท่ีมแี อลกอฮอลตางๆ

2.อ.ออกกําลงั กาย กจิ กรรมทต่ี อ งทาํ ถาตองการใหรา งกาย
แขง็ แรง และมสี ขุ ภาพทด่ี ี การออกกาํ ลงั กายน้ัน เปนกิจกรรมท่ชี ว ย
ทาํ ใหร ะบบตางๆ ของรางกายแข็งแรงข้นึ ทงั้ กลา มเนือ้ ปอด หวั ใจ
สมองปลอดโปรง โดยการออกกาํ ลังกายของผูสูงอายุน้นั จะแตกตาง
จากวยั หนมุ สาวตรงที่ ตอ งเลือกกจิ กรรมทเ่ี หมาะสม ไมก ระเทก
และออกตามกําลงั ไมห นกั ไมหกั โหมจนเกนิ ไป เนน ทีค่ วาม
สมํา่ เสมอ อาจเลอื กกจิ กรรมเบาๆ อยางการยดื เสนยืดสาย ยืด
เหยยี ด เพ่อื ชวยใหกลา มเนื้อแขง็ แรง หรือจะเดินเร็ว ขจี่ กั รยาน
และวายน้าํ ทาํ ครั้งละ 30-40 นาที 3-4 วนั ตอสปั ดาห ก็ได

3.อ.อารมณ เรอ่ื งจิตใจกเ็ ปน เรอ่ื งสําคญั สําหรบั ผสู ูงอายุ
เน่อื งจากเปนวยั ที่มคี วามเปลี่ยนแปลงมากมาย ทั้งทางดานรางกาย
สังคม และส่งิ ตา งๆ รอบตวั

40

จึงแนะนาํ ใหท ําอารมณใหร นื่ เริง สดใสดวยรอยย้มิ มองโลกในแง
บวก ไมเครียด และทาํ ใจยอมรับการเปล่ียนแปลงตา งๆ รอบตัว

4.อ.อดเิ รก การบริหารจัดการเวลาวา งใหเ กิดประโยชน ดว ย
การทาํ งานอดิเรกตางๆ ไมเพียงแตชวยใหผ ูสูงอายุมีกิจกรรม
สนุกสนาน เพลดิ เพลิน ไมเหงาแลว ยงั ชว ยใหเกิดความภูมิใจใน
ตนเองไดอกี ดว ย หากิจกรรมงานอดเิ รกทีช่ อบ ทาํ แลว เพลดิ เพลนิ
และมคี ุณคา ทางจติ ใจ เชน การอา นหนังสอื ธรรมะ ฟงเทศนฟ ง
ธรรม พบปะสงั สรรค ใหคําปรึกษาแนะนําลกู หลาน ฟงเพลง หรือ
ปลูกตน ไม เปน ตน

5.อ.อนามยั ดแู ลสุขอนามยั ผสู งู อายุ สรางอนามัยดี สราง
เสริมพฤตกิ รรมสขุ ภาพท่ีดี โดยหมน่ั ตรวจ และรกั ษาสขุ ภาพเปน
ประจํา หรืออยา งนอ ยปล ะคร้ัง ดแู ลตรวจสุขภาพชอ งปากและฟน
งด ละ เลกิ อบายมุขตา งๆ บุหรี่ เหลา ของมนึ เมา และสารเสพตดิ
หลกั การสุขภาพ 5 อ. เปนหลักการทม่ี ีประโยชน ไมว าใครก็
สามารถทาํ ได ไมจาํ เปนตอ งรอใหแก สําหรบั ผูส งู อายุ กค็ วรไดร ับ
การดูแล สง เสริม ชวยเหลอื จากลกู หลาน และคนในครอบครัว เก้ือ
หนุนใหเ กดิ สงั คมสขุ ภาพดๆี โดยเร่ิมจากตนเองและครอบครัวของ
เรา

41

42

บรรณานุกรม

กรมประชาสงเคราะห กระทรวงแรงงานและสวัสดกิ ารสังคม. (2542).
ปฏญิ ญาผูสงู อายไุ ทย. กรงุ เทพมหานคร: กรมประชาสงเคราะห
กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม.

ธนายสุ ธนธติ . (2558). “การพัฒนาพฤตกิ รรมการดูแลสขุ ภาพทีพ่ งึ
ประสงคข องผสู ูงอายใุ นชมรมผสู งู อายุตําบลบางเตย อาํ เภอ
สามพราน จังหวัดนครปฐม,” พยาบาลสงขลานครินทร,

35(3), 58.
มลู นธิ ิสถาบนั วจิ ัยและพฒั นาผสู งู อายไุ ทย. (2555). รายงาน

สถานการณผ ูสงู อายุไทย ประจํา ป 2553.กรงุ เทพมหานคร:
มลู นธิ ิสถาบันวิจัยและพฒั นาผสู งู อายุไทย กระทรวงการพัฒนา
สงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย.
โรงพยาบาลเปาโล. สืบคน เม่อื วนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2563 จาก
https://www.paolohospital.com
สืบคน เมือ่ วนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2563 จาก lovefittwww.lovefitt.com
โรงพยาบาลนนทเวช. สบื คนเมือ่ วนั ที่ 28 มีนาคม 2563 จาก

https://www.nonthavej.co.th
สบื คนเม่อื วันที่ 28 มนี าคม 2563 จาก https://www.pobpad.com

สบื คนเมือ่ วันที่ 28 มีนาคม 2563 จาก http://ko-blood-
systems.lnwshop.com

สมาคมแพทยโรคหัวใจแหงประเทศไทย. สืบคน เมอ่ื วันท่ี 28 มีนาคม
2563 จาก http://www.thaiheart.org

โรงพยาบาลนนทเวช. สบื คน เมอ่ื วันที่ 28 มนี าคม 2563 จาก
https://www.nonthavej.co.th/HYPERTENSION.php

สบื คนเมอ่ื วันท่ี 28 มีนาคม 2563 จาก
https://olisa.highclass2u.com

พนม เกตมุ าน. การสง เสรมิ สุขภาพจติ ใจ. กรุงเทพฯ : ศริ ริ าชพยาบาล.
สบื คนเมอื่ วนั ที่ 28 มนี าคม 2563 จาก
https://www.vejthani.com

สบื คน เมื่อวนั ที่ 28 มนี าคม 2563 จาก
https://www.healthcarethai.com

Leehahul, V., Buddhadejakhum, S., & Thaweeboon, T. (2002).
Nutritional nursing care. Bangkok: Boonsiri.

Thunthisirin, K., & Yamborisuth, A. (2018). Nutrition and
health in the elderly. 28 March 2021 Retrieved from
http://advisor.anamai.moph.go.th/main.php?
filename=JHealthVol20No2 03

เพราะ สขุ ภาพเปน เรอ่ื งใกลต ัวโดยเฉพาะวยั ผูส ูงอายทุ ่ี
ตองมีการดแู ลเปนพิเศษเราจึงตองใหค ําแนะนํากบั เรื่อง

การดแู ลสขุ ภาพทีถ่ ูกตอง

139 ฿


Click to View FlipBook Version