เรื่อง การบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
ผูจ้ ัดทา
นายศิวชั ประเสริฐ เลขท่ี 13 ปวช.2/2
รายวิชาการพฒั นาคุณภาพชีวิต
ศูนยก์ ารเรียนปัญญาภิวฒั น์ สุราษฎรธ์ านี
การบาดเจบ็ จากการเล่นกีฬา
ในการออกกาลงั กายน้นั หากออกกาลงั กายไม่ถกู วธิ ี ไม่เหมาะสมกบั
สภาพร่างกายของผเู้ ล่น หรือออกกาลงั กายในสภาพแวดลอ้ มที่ไมเ่ หมาะสม
กอ็ าจทาใหเ้ กิดการบาดเจบ็ ได้ ต้งั แต่เกิดจากบาดเจบ็ เลก็ นอ้ ยถึงบาดเจบ็ ที่
รุนแรงถึงข้นั เป็นอนั ตรายต่อชีวิต แตห่ ากการบาดเจบ็ ที่เกิดข้ึนความรุนแรง
ไม่มากนกั ประชาชนกค็ วรท่ีจะสามารถดูแลตนเองได้ ดงั น้นั การใหค้ วามรู้
ในการดูแลตนเองสาหรับประชาชนเมื่อเกิดการบาดเจบ็ จากการออกกาลงั
กายและเลน่ กีฬาจึงเป็นเรื่องท่ีสาคญั และจาเป็นที่ประชาชนควรจะรู้ไว้
การบาดเจบ็ จากการออกกาลงั กายและเลน่ กีฬา โดยทว่ั ไปมกั เกิดจาก 2 สาเหตุ
หลกั คือ
1. การกระแทกอยา่ งรวดเร็วและรุนแรง (contact and acute injury)
2. การใชง้ านอวยั วะมากเกินหรือซ้าซาก (overused injury)
สาหรับการดูแลผทู้ ี่ไดร้ ับการบาดเจบ็ จากการเล่นกีฬาเบ้ืองตน้ จะดูแลใน
ส่วนการบาดเจบ็ ท่ีเกิดทนั ทีในสนามเป็นส่วนใหญ่ ความรุนแรงของการบาดเจบ็
สามารถแบง่ ไดห้ ลายระดบั
ความรุนแรงของการบาดเจบ็ สามารถแบง่ ไดห้ ลายระดบั
1. การบาดเจ็บเลก็ นอ้ ย เช่น การมีแผลถลอก ผิวหนงั ฉีกขาด มีอาการตะคริว และมีการ
ยดื ของเอน็ ยดึ ขอ้ มากเกินไป (sprains)
2. การบาดเจ็บรุนแรงปานกลาง เช่น เอน็ ยดึ ขอ้ มีการฉีกขาดบางส่วน (sprain) ส่วนท่ี
ไดร้ ับบาดเจ็บบวม (swelling) และมีอาการปวด (pain) มีอาการบาดเจบ็ เมื่อ
เคลื่อนไหวอวยั วะดงั กล่าว รวมท้งั การเคล่ือนไหวทาไดน้ อ้ ยลง (decrease range of
motion)
3. การบาดเจ็บรุนแรงมาก (severe injuries) เช่น มีกระดูกหกั หรือขอ้ เคล่ือน มีการเสียรูป
ของอวยั วะและมีอาการปวดอยา่ งมาก
4. การบาดเจ็บที่เป็นอนั ตรายตอ่ ชีวิต (life threatening) เช่น มีการบาดเจ็บท่ีรุนแรงต่อ
บริเวณลาคอหรือศีรษะ มีอาการหมดสติ มีอาการแสดงความผดิ ปกติของการทางาน
ของหวั ใจ (heart attact
อุบตั ิเหตจุ ากการออกกาลงั กายและเลน่ กีฬาทีต่ อ้ งนาส่งสถานพยาบาลหรือ
โรงพยาบาล มีดงั น้ี
1. หมดสติเพราะถูกกระแทก (ถึงแมจ้ ะฟ้ื นคืนสติแลว้ ก็ตาม)
2. กระดูกหกั ทุกชนิด
3. ขอ้ เคลื่อน ขอ้ หลดุ ทุกชนิด
4. การตกเลือดจากอวยั วะภายใน (ทรวงอก ช่องทอ้ ง เชิงกราน และบ้นั เอว)
5. บาดเจบ็ ท่ีตา
6. บาดแผลลึกท่ีมีเลอื ดออกมาก
7. สิ่งแปลกปลอมเขา้ ทางทวารที่เอาออกไมไ่ ด้
8. บาดเจบ็ ท่ีไม่ทราบสาเหตุแตผ่ ปู้ ่ วยมีอาการมาก
หลกั สาคญั ในการปฐมพยาบาลเมื่อไดร้ ับบาดเจ็บ ควรปฏิบตั ิดงั น้ี
1. อยา่ ตื่นเตน้ หรือตกใจ พยายามต้งั สติใหม้ น่ั เพอื่ การติดสินใจท่ีถูกตอ้ ง แลว้ จึงทาการ
พยาบาลตามลาดบั ความสาคญั ก่อนหลงั ดว้ ยความรวดเร็ว พร้อมท้งั พดู จาปลอบโยนและ
ใหก้ าลงั ใจแก่ผบู้ าดเจ็บไปพร้อมกนั ดว้ ย
2. รีบใหก้ ารปฐมพยาบาลต่อการบาดเจ็บที่อาจเป็นอนั ตรายต่อชีวติ ก่อนอ่ืนโดยเร็ว เช่น
หวั ใจหยดุ เตน้ การหายใจขดั การตกเลือด เป็นตน้
3. ใหผ้ ทู้ ี่ไดร้ ับบาดเจ็บนอนราบและเอียงศีรษะไปขา้ งใดขา้ งหน่ึง ยกเวน้ ในกรณีที่มี
หลกั ฐานหรือเกิดการบาดเจบ็ บริเวณลาคอ ใหน้ อนศีรษะตรง โดยมีหมอนหรือวสั ดุอ่ืนใด
ที่คลา้ ยๆ กนั ประกบศีรษะ เพื่อประคองใหศ้ ีรษะอยใู่ นท่าตรงตลอดเวลา
4. ถา้ มีผบู้ าดเจ็บหลายๆ รายพร้อมกนั ใหพ้ จิ ารณาดูความสาคญั วา่ รายใดควรไดร้ ับการปฐม
พยาบาลก่อน
5. ทาการปฐมพยาบาลอยา่ งนุ่มนวลและรวดเร็วดว้ ยเครื่องมือ เครื่องใชท้ ่ีสะอาด อยา่ นาเอา
ความสกปรกมาเพ่มิ
6. ปลดเปล้ืองเครื่องนุ่งห่มที่ทาใหก้ ารปฐมพยาบาลทาไดไ้ มส่ ะดวกหรืออาจ
รัดแน่นเกินไป แลว้ ใชผ้ า้ คลมุ หรือห่มแทนเพอ่ื ความอบอนุ่
7. อยา่ ใหน้ ้า อาหาร หรือยาแก่ผปู้ ่ วย โดยเฉพาะผทู้ ี่ไดร้ ับการบาดเจบ็ ที่ช่อง
ทอ้ งหรือหมดสติ เพราะอาจจะทาใหอ้ าเจียน สาลกั ก่อใหเ้ กิดอนั ตรายร้ายแรงยงิ่ ข้ึน
8. ไมค่ วรใหย้ าแกป้ วดแก่ผทู้ ่ีไดร้ ับการกระทบกระเทือนที่สมอง เพราะจะทา
ใหบ้ ดบงั อาการทางสมอง
9. ก่อนเคล่ือนยา้ ยผปู้ ่ วยตอ้ งใหก้ ารปฐมพยาบาลเรียบร้อยก่อนทกุ คร้ัง
10. การเคล่ือนยา้ ยผปู้ ่ วยตอ้ งทาใหถ้ กู ตอ้ งตามลกั ษณะการบาดเจบ็ น้นั ๆ เช่น
อาจใชก้ ารประคอง หาม อุม้ หรือใชเ้ ปล และควรติดตามดูแลในระหวา่ งทาง
จนกระทงั่ ถึงมือแพทย์
หลกั การปฐมพยาบาลการบาดเจบ็ จากการออกกาลงั กายและเล่นกีฬา
เริ่มจากการตรวจร่างกายเพ่อื ประเมินลกั ษณะความรุนแรงของบาดแผลหรือการ
บาดเจบ็ ท่ีไดร้ ับ รวมท้งั ซกั ถามอาการจากนกั กีฬา เช่น มีบวมหรือกดเจ็บ มีอาการปวดขณะ
เคล่ือนหรือขยบั ส่วนน้นั ๆ หรือไม่ หลงั จากไดข้ อ้ มูลการบาดเจ็บแลว้ ใหเ้ ร่ิมทาการปฐม
พยาบาลโดยปฏิบตั ิตามอกั ษรภาษาองั กฤษในคาวา่ "RICE" โดยที่
R ใชแ้ ทนคาวา่ Rest
I ใชแ้ ทนคาวา่ Ice
C ใชแ้ ทนคาวา่ Compression
E ใชแ้ ทนคาวา่ Elevation
รายละเอียดของการปฏิบตั ิตามแนวทาง RICE มีดงั น้ี
1. การพกั (Rest) การหยดุ ใชง้ านส่วนของร่างกายที่ไดร้ ับบาดเจบ็ ทนั ที นน่ั คือใหห้ ยดุ การเล่นกีฬา
โดยเฉพาะในช่วง 6 ชว่ั โมงแรกของการบาดเจบ็ ซ่ึงถือวา่ เป็นช่วงท่ีสาคญั ควรมีการไดพ้ กั การใชง้ าน
อยา่ งไรก็ตามส่วนใหญแ่ ลว้ การบาดเจบ็ จากการเลน่ กีฬาหรือออกกาลงั กายตอ้ งการเวลาพกั ประมาณ
48 ชวั่ โมง ก่อนที่จะมีการเริ่มเคล่ือนไหว (mobilization) อีกคร้ัง
2. การใชค้ วามเยน็ (Ice) โดยการประคบเยน็ ซ่ึงมีจุดมุง่ หมายเพ่อื ลดการมีเลือดออกบริเวณเน้ือเยอ่ื ลด
บวม และอาการปวดได้ ระยะเวลาการประคบเยน็ ตอ้ งกระทาใหเ้ หมาะสมกบั บริเวณท่ีไดร้ ับการ
บาดเจ็บ โดยทวั่ ไปการประคบเยน็ ใหป้ ระคบนานคร้ังละ 10 ถึง 20 นาที หยดุ ประคบ 5 นาที ทาเช่นน้ี
ไปเร่ือยๆ จนกระทงั่ ไมบ่ วม หรือทาวนั ละ 2 ถึง 3 คร้ัง วธิ ีที่นิยมใชใ้ นการประคบเยน็ ไดแ้ ก่
2.1 การใชเ้ ป็นถงุ เยน็ (ice pack) ซ่ึงจะคงความเยน็ ไดป้ ระมาณ 45-60 นาที และตอ้ งมีผา้ ห่อไวไ้ มใ่ ห้
ถุงเยน็ สมั ผสั โดยตรงกบั ผิวหนงั
2.2 การใชถ้ งุ ใส่น้าแขง็ ผา้ ชุบน้าเยน็ ในกรณีที่ไม่มีถงุ เยน็ หรือบริเวณของการบาดเจ็บกวา้ งเกินขนาf
ของถุงเยน็
2.3 การพ่นดว้ ยสเปรยเ์ ยน็ (cooling spray) อาจใชล้ ดปวดเฉพาะที่ไดช้ วั่ คราว สามารถ
ใชไ้ ดก้ บั บริเวณที่เน้ือเยอื่ ใตผ้ ิวหนงั ไม่หนา เช่น คาง สันหมดั ขอ้ เทา้
3. การพนั ผา้ ยดื (Compression) เพอ่ื กดไม่ใหม้ ีเลือดออกในเน้ือเยอ่ื มาก มกั ใชร้ ่วมกบั
การประคบเยน็ เพื่อใหไ้ ดป้ ระโยชนจ์ ากท้งั สองดา้ นร่วมกนั การพนั ผา้ ยดื ควรพนั ให้
กระชบั ส่วนที่บาดเจบ็ และควรใชผ้ า้ สาลีผนื ใหญ่รองไวใ้ หห้ นาๆ โดยรอบก่อนพนั
ดว้ ยผา้ ยดื ควรพนั ผา้ ยดื คลุมเหนือและใตต้ ่อส่วนที่บาดเจบ็
4. การยก (Elevation) ส่วนของร่างกายท่ีไดร้ ับบาดเจบ็ ใหส้ ูงกวา่ ระดบั หวั ใจ เพอ่ื ให้
เลือดไหลกลบั สู่หวั ใจไดส้ ะดวก เช่น การนอนวางขาหรือเทา้ บนหมอน ในกรณีท่ีนง่ั
ใหว้ างเทา้ บนเกา้ อ้ี เป็นตน้ ในกรณีบาดเจ็บรุนแรงควรยกสูงไวป้ ระมาณ 24-48
ชวั่ โมง นอกจากน้ีการยกส่วนของร่างกายท่ีไดร้ ับบาดเจบ็ ใหส้ ูง ยงั ช่วยในการลดการ
กดของน้านอกเซลลท์ ี่หลง่ั ออกมาสู่เน้ือเยอื่ บริเวณน้นั ทาใหล้ ดการบวมลงได้