รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ถือกำเนิดมาจากวิทยาลัยวิชาการศึกษา เมื่อวันท่ี 27 มีนาคม 2511 ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็น
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตมหาสารคาม เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2517 จากนั้นได้แยกตัวเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศ
ภายใต้ชื่อ “มหาวิทยาลัยมหาสารคาม” เมื่อวันท่ี 9 ธันวาคม 2537 โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธย
ในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลยั มหาสารคาม ซ่งึ ไดม้ กี ารประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เล่มที่ 111 ตอนท่ี 54 ก นับเปน็ มหาวิทยาลัย
ของรัฐแห่งที่ 22 ของประเทศไทย มีศูนย์กลางการบริหารงานเดิมอยู่ที่เลขท่ี 269/2 ถนนนครสวรรค์ ตำบลตลาด อำเภอเมือง
จังหวัดมหาสารคาม บนเนื้อที่ 368 ไร่ (รวมพื้นที่ซื้อจากวิทยาลัยคณาสวัสดิ์ เพิ่มเติม ในปี 2548 จำนวน 171 ไร่) ห่างจาก
กรุงเทพมหานครประมาณ 470 กิโลเมตร ในปี พ.ศ. 2541 ได้ย้ายศูนย์กลางการบริหารงานมาอยู่ในที่ตั้งแห่งใหม่ เลขท่ี 40/21
ตำบลขามเรียง อำเภอกนั ทรวชิ ัย จงั หวัดมหาสารคาม บนเนื้อท่ี 1,300 ไร่ ห่างจากท่ีต้ังเดิม ประมาณ 7 กิโลเมตร นอกจากที่ตั้งเดิม
และท่ีตงั้ แห่งใหม่แลว้
มหาวิทยามหาสารคามยังมีพื้นที่อื่นๆ ที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรมทางการเรียนการสอน และการวิจัยอีกหลายแห่ง
ได้แก่ พื้นที่อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม เนื้อท่ี 650 ไร่ พื้นที่ตำบลเกิ้ง อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม เนื้อท่ี ประมาณ
273 ไร่ และพ้ืนที่บา้ นนาสีนวน อำเภอกันทรวิชยั จงั หวัดมหาสารคาม เน้อื ทีป่ ระมาณ 1,000 ไร่
ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหาสารคามมีหน่วยงานในระบบราชการระดับคณะหรือเทียบเท่าคณะรวม 9 หน่วยงาน ได้แก่
คณะศึกษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยี สำนักคอมพิวเตอร์ สำนักวิทยบริการ
สถาบนั วิจยั วลยั รุกขเวช สถาบันวิจัยศิลปะและวฒั นธรรมอสี าน และสำนกั งานอธกิ ารบดี
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
ตราสญั ลักษณ์มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
ตราสญั ลักษณ์ คอื “ตราโรจนากร” ซึ่งมีความหมายว่า
ดวงตราแห่งความเจรญิ รงุ่ เรือง มอี งค์ประกอบ
เปน็ รปู ใบเสมา ภายในมีสัญลักษณ์ของ
องค์พระธาตุนาดูน ด้านลา่ งมสี ุรยิ รังสีทแ่ี ผ่ขน้ึ
จากลายขิดซึ่งอยูเ่ หนอื คำขวัญ ภาษาบาลี
“พหูนํ ปณฺฑิโต ชเี ว” มีความหมายว่า
“ผู้มปี ญั ญาพึงเป็นอย่เู พื่อมหาชน”
ใบเสมา หมายถงึ ความรู้หรือภมู ิปญั ญา องคพ์ ระธาตุ
นาดูนเปน็ ปชู นียสถาน อันเป็นสัญลักษณ์แทน
คณุ ธรรมและความดีงาม
สรุ ิยรังสี หมายถงึ ความเจรญิ รงุ่ เรอื ง
ลายขดิ หมายถึง ภมู ิปัญญาและมรดกทางวัฒนธรรม
แหง่ อีสาน
สปี ระจำมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
สเี หลอื ง : ความเจริญรุง่ เรอื ง ความดีงาม
ความสมบรู ณ์
สเี ทา
สเี หลอื งเทา : ความคดิ หรือปัญญา
: การมปี ัญญาและความคดิ ที่ดีงาม
อันนำไปส่คู วามเจรญิ รงุ่ เรือง
ต้นไม้ ประจำมหาวทิ ยาลยั
ต้นราชพฤกษ์ หรือต้นคนู : ความคำ้ คนู หรือ ความรงุ่ เรือง
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
วิสัยทัศน์ ปรัชญา
มหาวิทยาลยั ชัน้ นำของเอเชีย ผู้มีปญั ญาพงึ เปน็ อยเู่ พื่อมหาชน (พหนู ํ ปณฑฺ โิ ต ชเี ว)
คําอธิบายวิสัยทัศน : มหาวิทยาลัยไดรับการจัดอันดับ ปณธิ าน
ในระดับนานาชาติ โดยการจัดอันดับของ Times Higher
Education Asia University Rankings อันดับที่ (351-400) มหาวิทยาลัยมหาสารคามเป็นสถาบันที่มุ่งม่ัน
หรอื Scim36ago Institutions Rankings อันดบั ที่ (250-350) ในการสั่งสมแสวงหาความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยศึกษา
หรือQS Asia University Rankings อนั ดบั ที่ (301-400) หรอื ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผสมผสานกับวิทยาการ ที่เป็นสากลให้
Times Higher Education University Impact Rankings เกิดความงอกงามทางสติปัญญา สามารถพัฒนาตนเองให้
(Sustainable Development Goals –SDGs) อันดับท่ี เพยี บพรอ้ มดว้ ยวชิ าการ จรยิ ธรรม
(301-400)
เอกลกั ษณ์
พันธกจิ
การเปน็ ทีพ่ ึง่ ของสังคมและชุมชน
1) จัดการศึกษาและวิชาชีพชั้นสูงโดยมุ่งเน้นพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษาการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน
และมีคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์
2) สร้างผลิตผลจากงานวิจัยที่เป็นองค์ความรู้ใหม่
และมีคุณภาพในทุกสาขาวิชา เพื่อสนับสนุนการเรียน
การสอน การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
และนำไปใชป้ ระโยชน์ตามความเหมาะสม
3) ให้บริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคมเพื่อให้ชุมชน
และสงั คมสามารถพงึ่ พาตนเองได้อย่างยั่งยนื
4) อนุรักษ์ ฟื้นฟู ปกป้อง เผยแพร่และพัฒนาศิลป
วฒั นธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของอีสาน
อตั ลักษณ์ M = Maturity
นสิ ิตกับการช่วยเหลอื สงั คมและชมุ ชุน S = Social Responsibility
U = Unity
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
สมรรถนะหลัก M
S
M : Morality and Multidisciplinary
การผลติ บณั ฑิตทีม่ ีคณุ ธรรม จริยธรรม และการใชอ้ งค์ความรู้ U
ทีห่ ลากหลายมาผสมผสาน เป็นองคค์ วามรู้ ใหม่เพื่อการพฒั นา
ทีย่ ่งั ยืน
S : Social Engagement and Sustainability
การบริการวิชาการรว่ มกับชมุ ชนและสังคมเพ่อื ให้เกดิ ความยงั่ ยนื
ในอนาคต
U : Universal Integration and Unity
การบูรณาการองคค์ วามรจู้ ากทอ้ งถ่ินสสู่ ากล และความเป็นนำ้ หนงึ่
ใจเดียวกนั
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
รายนามผู้บริหารมหาวิทยาลยั
กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
รายชอ่ื ตำแหน่ง
นายสราวุธ เบญจกุล นายกสภามหาวิทยาลยั มหาสารคาม
รองศาสตราจารย์จรลั เล็งวิทยา กรรมการสภามหาวิทยาลยั มหาสารคาม ผทู้ รงคุณวุฒิ
นายบญุ ศกั ดิ์ เจียมปรีชา
นายประสงค์ พนู ธเนศ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม โดยตำแหนง่
ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ ดร.ประเสรฐิ โศภน กรรมการสภามหาวิทยาลยั มหาสารคาม ประเภทผูบ้ ริหาร
นายพันธศ์ กั ด์ิ ศิริรัชตพงษ์ กลมุ่ รองอธกิ ารบดี
ศาสตราจารยน์ ายแพทยม์ นตรี ตจู้ นิ ดา
นางเมธินี เทพมณี
คุณหญิงลักษณาจนั ทร เลาหพันธุ์
นายวรวทิ ย์ เจนธนากุล
นายวชิ าญ ธรรมสจุ รติ
ศาสตราจารย์ ดร.วชิ ยั บุญแสง
นางวภิ าจรีย์ พุทธมลิ นิ ประทีป
ศาสตราจารย์ ดร.วิสทุ ธิ์ ใบไม้
นายวรสิทธิ์ โรจนพานิช
นายจรัญ ววิ ัฒนเ์ จษฎาวุฒิ
รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรวี ไิ ล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วริ ัติ ปานศิลา
ศาสตราจารย์ ดร.ปรชี า ประเทพา
(ธนั วาคม 2562 – กนั ยายน 2563)
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
รายช่ือ ตำแหน่ง
รองศาสตราจารย์ ดร.นติ ยา วรรณกติ ร์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประเภทผบู้ รหิ าร
(มถิ ุนายน 2563 – ปจั จุบัน) กลมุ่ คณบดี
รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชยั สงิ หย์ ะบุศย์
รองศาสตราจารย์ ดร.นสพ.วรพล เองวานชิ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม ประเภทผ้บู ริหาร
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นิติพงษ์ ส่งศรโี รจน์ กลุม่ ผ้อู ำนวยการสถาบัน-สำนัก-ศนู ย์
รองศาสตราจารย์ ดร.พชรวิทย์ จนั ทรศ์ ริ ิสิร
ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ ประมวล กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
ผูช้ ่วยศาสตรจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์ ประเภทผแู้ ทนคณาจารย์
นางพรพิมล มโนชยั กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
ศาสตราจารย์ ดร.ปฐม หงส์สุวรรณ ประเภทผูแ้ ทนข้าราชการ
(พฤศจิกายน 2561 – กุมภาพันธ์ 2563)
อาจารยท์ ม เกตวุ งษา กรรมการและเลขานุการสภามหาวทิ ยาลยั
(มนี าคม 2563 – พฤศจิกายน 2563)
รองศาสตราจารย์ ดร.ประยูร วงศจ์ ันทรา
รองศาสตราจารย์ ดร.ภาคภูมิ หรรนภา
ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.นริศ สนิ ศิริ
รองศาสตราจารย์ ดร.สงครามชัยย์ ลีทองดีศกุล
รองศาสตราจารย์ ดร.อรวชิ ญ์ กุมพล
นางสาวธญั ภา สอนสา
นางสาวพตั ชบลู กง่ิ พุ่ม
นายศรเี กื้อกูล ดวงจนั ทรท์ ิพย์
นางฉนั ทลักษณ์ สาชำนาญ
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มลฤดี เชาวรตั น์
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
กรรมการส่งเสรมิ กิจการมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
รายชื่อ ตำแหน่ง
นายจรญั ววิ ฒั นเ์ จษฎาวุฒิ ประธานกรรมการสง่ เสรมิ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
กรรมการส่งเสริมมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
พลเอกศกั ดา เปรุนาวิน
พลเรอื โทบำรงุ รัก สรคั คานนท์ กรรมการและเลขานุการ
นายทศพล กฤตวงศว์ มิ าน กรรมการส่งเสริมมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
นายกฤษฎา ทองธรรมชาติ
นายธนะพงษพ์ ฒั น์ ธนะโสภณ
นายอรุนัย ชาญศิริวริ ยิ กุล
นายนันทภพ ปอ้ งจนั ทร์
นายโฆษิต เหลา่ สวุ รรณ
นางสาวกมลลกั ษณ์ เตชธุวานนั ท์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มลฤดี เชาวรตั น์
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
กรรมการบริหารมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม ตำแหน่ง
รายชอ่ื
รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดมี หาวทิ ยาลยั
ศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา ประเทพา รองอธกิ ารบดี
(พฤศจิกายน 2562 – ตลุ าคม 2563) คณบดี
รองศาสตราจารย์ ดร.เทียนศักดิ์ เมฆพรรณโอภาส
(พฤศจิกายน 2562 – กุมภาพันธ์ 2563)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มลฤดี เชาวรัตน์
รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์ฤทธ์ิ แข็งแรง
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกพร รัตนสุธีระกุล
(พฤศจิกายน 2562 - ปัจจุบัน)
รองศาสตราจารย์ ดร. พชรวิทย์ จนั ทรศ์ ิรสิ ริ
คณบดคี ณะศึกษาศาสตร์
ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ ประมวล
คณบดีคณะวทิ ยาศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.อนชุ ิตา มุ่งงาม
คณบดีคณะเทคโนโลยี
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.ชนัตถา พลอยเลอ่ื มแสง
คณบดีคณะเภสัชศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.สมจติ แดนสแี ก้ว
คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร์
ผูช้ ่วยศาสตรจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์
คณบดคี ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผงั เมอื งและนฤมิตศลิ ป์
รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ชยั สงิ หย์ ะบศุ ย์
คณบดคี ณะศิลปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร์
อาจารย์อรรถวทิ ศลิ านอ้ ย
คณบดีคณะการทอ่ งเที่ยวและการโรงแรม
รองศาสตราจารย์ นสพ.ดร.วรพล เองวานิช
คณบดคี ณะสตั วแพทยศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารยศ์ ศิธร แก้วมัน่
คณบดคี ณะวิทยาการสารสนเทศ
รองศาสตราจารย์ ดร.กริสน์ ชยั มูล
คณบดีบณั ฑิตวิทยาลยั
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
รายชอ่ื ตำแหน่ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ.ดร.เทพลักษ์ ศิรธิ นะวุฒชิ ยั คณบดี (ต่อ)
คณบดีคณะแพทยศาสตร์
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์เชิงชาญ จงสมชยั
คณบดีวิทยาลยั การเมืองการปกครอง
รองศาสตราจารย์ ดร.อดิศกั ดิ์ สงิ หส์ โี ว
คณบดคี ณะสิ่งแวดล้อมและทรพั ยากรศาสตร์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.คมกริช การินทร์
คณบดีคณะคณบดีวิทยาลัยดุรยิ างคศลิ ป์
รองศาสตราจารย์ ดร.เกยี รติศักด์ิ ศรีประทีป
คณบดคี ณะวศิ วกรรมศาสตร์
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกพร รัตนสธุ รี ะกลุ
(กุมภาพนั ธ์ 2562 - พฤศจกิ ายน 2562)
รองศาสตราจารย์ ดร.นิตยา วรรณกติ ร์
(มีนาคม 2563 – ปัจจบุ นั )
คณบดคี ณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นติ ิพงษ์ สง่ ศรีโรจน์
(กันยายน 2559 – กันยายน 2563)
อาจารย์ ดร.ชลธิชา ธรรมวิญญู
(กันยายน 2563 – ปัจจุบัน)
คณบดีคณะการบญั ชีและการจัดการ
รองศาสตราจารย์ ดร.วทิ ยา อย่สู ขุ
(เมษายน 2559 – เมษายน 2563)
รองศาสตราจารย์ ดร.สุมัทนา กลางคาร
(เมษายน 2563 – ปจั จบุ ัน)
คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อสิ ระพัฒน์ ธรี พฒั นส์ ิริ
(มกราคม 2559 – ธันวาคม 2562)
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล
(มกราคม 2563 – กมุ ภาพนั ธ์ 2563)
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ พงษพ์ ันธ์ บปุ เก
(กมุ ภาพันธ์ 2563 – ปัจจุบนั )
คณบดีคณะนิตศิ าสตร์
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
รายช่ือ ตำแหนง่
ศาสตราจารย์ ดร.ปฐม หงส์สวุ รรณ ผอู้ ำนวยการสถาบัน – สำนัก -ศูนย์
(กมุ ภาพนั ธ์ 2559 – กุมภาพนั ธ์ 2563)
ประธานสภาคณาจารย์
อาจารยท์ ม เกตวุ งศา
(กมุ ภาพันธ์ 2563 – ปัจจุบัน)
ผู้อำนวยการสถาบันวิจยั ศลิ ปะและวฒั นธรรมอีสาน
รองศาสตราจารย์ ดร.วรี ะชยั สายจันทา
(สิงหาคม 2559 – กันยายน 2563)
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สดุ ารตั น์ ถนนแก้ว
(สงิ หาคม 2563 –ปัจจบุ นั )
ผอู้ ำนวยการสถาบันวิจัยวลัยรกุ ขเวช
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฉตั รเกล้า เจริญผล
(เมษายน 2559 – มีนาคม 2563)
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จรวย สาวิถี
(เมษายน 2563 – ปจั จบุ ัน)
ผู้อำนวยการสำนักคอมพวิ เตอร์
รองศาสตราจารย์ ดร.เกยี รติศักดิ์ ศรปี ระทีป
(สิงหาคม 2559 – มีนาคม 2563)
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จนิ ดาพร จำรัสเลศิ ลักษณ์
(มิถนุ ายน 2563 – ปจั จุบัน)
ผ้อู ำนวยการสำนกั ศึกษาทั่วไป
รองศาสตราจารย์ ดร.มงคล อุดชาชน
ผ้อู ำนวยการศูนย์วจิ ัยและการศึกษาบรรพชีวินวิทยา
นางพรพิมล มโนชยั
ผู้อำนวยการสำนกั วทิ ยบริการ
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วริ ัติ ปานศลิ า
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
รายชอ่ื ตำแหน่ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มลิจันทร์ ทองคำ ผู้ชว่ ยอธิการบดี
(ผ้ชู ่วยอธิการฝา่ ยพฒั นาระบบการเงนิ การคลัง
และบรหิ ารทรพั ย์สนิ ) ผู้อำนวยการสำนกั /สถาบัน/ศูนย์ (สว่ นราชการ)
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมุ ลวรรณ ชมุ่ เช้อื
(ผู้ช่วยอธกิ ารฝ่ายวิชาการและนวตั กรรมการเรียนรู้
รองศาสตราจารย์ ดร.สนุ นั ท์ สายกระสุน
(ผ้ชู ว่ ยอธิการฝ่ายพัฒนานวตั กรรมและการสร้างรายได้
จากเทคโนโลยี
รองศาสตราจารย์ ดร.อรวิช กมุ พล
ผู้ชว่ ยอธกิ ารฝา่ ยนโยบายและแผน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนกานต์ อินทรกำแหง
ผูช้ ว่ ยอธกิ ารฝ่ายนวัตกรรมการเกษตรและพื้นที่
นาสนี วน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐวฒุ ิ สวุ รรณทา
ผู้ชว่ ยอธิการฝ่ายสาธารณูปโภคและอาคารสถานท่ี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์นบปนม แก้วหานาม
ผชู้ ว่ ยอธกิ ารฝา่ ยสาธารณปู โภคและอาคารสถานท่ี
อาจารย์อังคณา พรมรกั ษา
ผชู้ ่วยอธิการฝา่ ยพัฒนาและสร้างอัตลกั ษณ์นิสติ
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จุลสชุ ดา ศิริสม
ผชู้ ว่ ยอธกิ ารฝ่ายพัฒนาและบริหารระบบการเงิน
และพสั ดุ
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พนารตั น์ มาศฉมาดล
ผชู้ ว่ ยอธิการฝา่ ยกฎหมาย
อาจารยท์ ม เกตุวงศา
ผอู้ ำนวยการสถาบันวจิ ัยศิลปะและวฒั นธรรมอีสาน
รองศาสตราจารย์ ดร.วรี ะชยั สายจันทา
ผอู้ ำนวยการสถาบนั วจิ ยั วลัยรกุ ขเวช
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จรวย สาวิถี
ผูอ้ ำนวยการสำนักคอมพิวเตอร์
นางพรพิมล มโนชยั
ผอู้ ำนวยการสำนักวทิ ยบรกิ าร
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
รายชอื่ ตำแหน่ง
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จนิ ดาพร จำรัสเลศิ ลักษณ์ ผู้อำนวยการสำนกั /สถาบนั /โรงเรียน/ศูนย์
ผู้อำนวยการสำนกั ศกึ ษาท่ัวไป (ส่วนงานภายใน)
รองศาสตราจารย์ ดร.มงคล อุดชาชน
ผูอ้ ำนวยการศูนย์วิจัยและการศกึ ษาบรรพชวี ินวิทยา
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ธีรยทุ ธ ชาตชิ นะยืนยง
ผู้รกั ษาการผ้อู ำนวยการสำนกั บรกิ ารวชิ าการ
รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลติ ชกู ำแพง ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น
ผู้อำนวยการโรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
(ฝ่ายมัธยม)
รองศาสตราจารย์ ดร.สนุ ันท์ สายกระสนุ
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
(ฝา่ ยประถม)
นายศรีเก้ือกูล ดวงจันทรท์ ิพย ผอู้ ำนวยการกอง
ผู้อำนวยการกองกลาง
นางสิรพิ ร ศิระบูชา
ผอู้ ำนวยการกองแผนงาน
นายสวสั ดิ์ วชิ ระโภชน์
ผูอ้ ำนวยการกองทะเบียนและประมวลผล
นางทพิ วรรณ เจริญศักดิ์
ผู้อำนวยการกองบรกิ ารการศึกษา
นายสนุ ทร เดชชัย
ผอู้ ำนวยการกองกิจการนสิ ิต
นายจักริน เพชรสังหาร
ผู้อำนวยการกองคลังและพสั ดุ
นางฉนั ทลักษณ์ สาชำนาญ
ผู้อำนวยการกองอาคารสถานที่
นางฉววี รรณ อรรคะเศรษฐงั
ผู้อำนวยการกองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวิชาการ
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
รายช่อื ตำแหน่ง
นางณฐั ยา จอมพทุ รา ผู้อำนวยการกอง (ต่อ)
ผู้อำนวยการกองประชาสัมพันธ์และกจิ การต่างประเทศ
นางสาวอทุ ยั รัตน์ แกว้ กู่
ผ้อู ำนวยการสำนักตรวจสอบภายใน
นางสาวพนมพร ปจั จวงษ์
ผอู้ ำนวยการศนู ย์พฒั นาและประกันคุณภาพการศกึ ษา
กรรมการสง่ เสรมิ กิจการมหาวิทยาลัย แผน
สภาคณาจารย์ สภามหาว
มหาวทิ ยาลัยมห
สำนักงานอธกิ ารบดี คณะ/วทิ ยาลัย สถาบัน/สำนัก (เทียบ
กอง ภาควิชา/หลกั สตู ร/ สำนกั งานเลขา
ศูนย์ (เทยี บเท่ากอง) สาขาวิชา
สำนกั งานเลขานกุ าร
นภมู ิโครงสรา้ งการบรหิ ารหน่วยงานมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
วิทยาลยั คณะกรรมการท่สี ภามหาวทิ ยาลัยแตง่ ตงั้
หาสารคาม
คณะกรรมการตรวจสอบประจำสถาบนั อุดมศกึ ษา
สำนักตรวจสอบภายใน
บเทา่ คณะฯ) ศนู ย์ (เทยี บเท่าคณะฯ) หนว่ ยงานส่งเสริม/สนบั สนนุ
(หน่วยงานในกำกบั )
านกุ าร สำนกั งานเลขานกุ าร
สำนกั บรกิ ารวิชาการ
แ
กรรมการส่งเสรมิ กจิ การมหาวทิ ยาลัย กรรมการสภาม
ประธานสภาคณาจารย์
อธิการบ
รองอธิการบดี/ผู้ช
ผอู้ ำนวยการสำนกั งาน คณบดี ผ้อู ำนวยการสำนกั
อธิการบดี
หัวหนา้ สำนกั งานเลขานกุ าร
ผ้อู ำนวยการกอง/ สำนัก
ศนู ย์
หวั หนา้ สำนกั งานเลขานกุ ารคณะ/ หวั หน้าภาควิชา/ผปู้ ระสานสาขาวิชา
วิทยาลัย หัวหน้ากลุม่ สาขาวชิ
แผนภมู ิโครงสรา้ งการบริหารงานมหาวิทยาลยั มหาสารคาม
มหาวทิ ยาลยั กรรมการที่สภามหาวทิ ยาลยั แต่งต้งั
บดี กรรมการตรวจสอบประจำสถาบนั อุดมศกึ ษา
ช่วยอธิการบดี ผู้อำนวยการสำนกั ตรวจสอบภายใน
ผู้อำนวยการสถาบัน ผู้อำนวยการศนู ย์ ผู้อำนวยการ
หัวหน้าสำนักงานเลขานกุ าร หัวหนา้ สำนักงาน
สถาบนั เลขานุการศนู ย์
า/ประธานหลักสตู ร/
ชา
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 พฒั นาการผลิตบณั ฑติ ทมี่ คี ณุ ภาพภายใต้การจัดเรยี นการสอนในหลักสูตร
ทีท่ นั สมยั ตามเกณฑ์คณุ ภาพและมาตรฐานของชาตแิ ละสากล
มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีเป้าประสงค์ในการพัฒนาการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพภายใต้การจัดเรียน
การสอนในหลักสูตรที่ทันสมัยตามเกณฑ์ คุณภาพและมาตรฐานของชาติและสากล โดยได้จัดทำแผนพัฒนา
การศึกษา ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) เพื่อเป็นแผนพัฒนามหาวิทยาลัยในระยะยาว และได้แบ่งแผน
พัฒนามหาวิทยาลัยออกเป็น 4 ช่วงแผน คือ แผนพัฒนาการศึกษา ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 –2564) แผนพัฒนา
การศึกษา ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 - 2569) แผนพัฒนาการศึกษา ฉบับท่ี 14 (พ.ศ. 2570 -2574) และแผนพัฒนา
การศึกษา ฉบับที่ 15 (พ.ศ.2575 - 2579 ) มหาวิทยาลัยได้มีการวิเคราะห์สภาวการณ์ปัจจุบันและแนวโน้ม
การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ในอนาคต ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ที่ส่งผลกระทบให้แวดวงการศึกษาเกดิ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งระดับประเทศและระดบั โลก มหาวิทยาลยั
มหาสารคามในฐานะองค์กรที่ขับเคลื่อนการศึกษาจึงต้องมีการปรับตัวให้ทันกับกระแสพลวัตที่เปลี่ยนแปลง
โดยเฉพาะการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะที่โดดเด่นในวิชาชีพและภาษาสากล
เพอื่ ตอบสนองตอ่ การเปลยี่ นแปลงระบบเศรษฐกิจ ระบบอุตสาหกรรม ระบบสังคมและวฒั นธรรม
มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้มกี ารส่งเสริม พัฒนาและปรบั ปรงุ หลกั สตู รให้ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยมีนโยบายกำหนดให้หลักสูตรใหม่จะต้องได้รับอนุมัติ
ในแผนหลักสูตรของมหาวิทยาลัย และหลักสูตรที่ครบวงรอบการปรับปรุงทุกหลักสูตรจะต้องมีการปรับปรุง
หลักสูตรทุก 5 ปี ตามประกาศเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร พ.ศ.2558 เพื่อให้สอดคล้องตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ของเกณฑ์การประกันคุณภาพภายในระดับหลักสูตร โดยใน
ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 มหาวิทยาลยั มหาสารคามได้จัดโครงการ/กจิ กรรมพฒั นาและปรบั ปรงุ หลักสูตร ดังน้ี
โครงการ/กิจกรรม ดำเนินการ
โครงการประชมุ แลกเปลยี่ นเรยี นรหู้ ลักสตู รทไี่ ดร้ บั ความเหน็ ชอบใหร้ ับการเผยแพรห่ ลกั สตู ร วนั ท่ี 13 ธ.ค. 62
ทีม่ ีคณุ ภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (TQR)
จากคณะกรรมการประเมนิ หลักสตู ร ปกี ารศึกษา 2561
โครงการขบั เคลอื่ นหลักสตู รเพ่อื รบั การเผยแพรเ่ ปน็ หลักสตู รทมี่ ีคณุ ภาพและมาตรฐาน ครั้งที่ 1 วันที่ 8 ม.ค. 63
ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ (Thai Qualifications Register : TQR) ครง้ั ท่ี 2 วันที่ 7 ก.พ. 63
ดำเนนิ การจดั 3 ครง้ั ในแตล่ ะกลมุ่ สาขาวิชา ครั้งที่ 3 วนั ที่ 12 ก.พ. 63
โครงการส่งเสริมและสนบั สนุนการพฒั นามหาวทิ ยาลัยสมู่ าตรฐานการอุดมศกึ ษา พ.ศ. 2561 วนั ที่ 9 ม.ี ค. 63
หวั ขอ้ “อบรมใหค้ วามรู้ดา้ นการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน”
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
หลักสตู รการเรียนการสอน
ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีการจัดการเรียนการสอนทั้งสิ้น 3 ระดับ คือ ปริญญาตรี
ปริญญาโท และปริญญาเอก จำนวน 194 หลักสูตร/สาขาวิชา โดยจำแนกเป็นระดับปริญญาตรี จำนวน 88 หลักสูตร
ระดบั ปรญิ ญาโท จำนวน 64 หลกั สูตร และระดบั ปรญิ ญาเอก จำนวน 42 หลกั สูตร ตามรายละเอียด ดงั นี้
คณะ ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก รวมทั้งส้นิ
ไทย นานาชาติ
ไทย นานาชาติ ไทย นานาชาติ
1. คณะเทคโนโลยี 64 21 13
2. คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 11 1 5 3 20
3. คณะวิทยาศาสตร์ 79 31 20
4. คณะศกึ ษาศาสตร์ 98 6 23
5. คณะพยาบาลศาสตร์ 14 - 5
6. คณะการบัญชแี ละการจดั การ 98 5 22
7. คณะเภสัชศาสตร์ 13 1 5
8. คณะวศิ วกรรมศาสตร์ 93 3 15
9. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมอื ง และนฤมติ ศิลป์ 6 1 - 7
10. คณะศลิ ปกรรมศาสตร์และวฒั นรรมศาสตร์ 4 4 2 10
11. คณะวทิ ยาการสารสนเทศ 74 3 14
12. คณะสาธารณสุขศาสตร์ 42 2 8
13. วทิ ยาลัยการเมืองการปกครอง 11 1 3
14. คณะแพทยศาสตร์ 3 1111 7
15. คณะการทอ่ งเทย่ี วและการโรงแรม 2 1* 1 1 5
16. คณะสิ่งแวดลอ้ มและทรัพยากรศาสตร์ 3 3 3 9
17. คณะสตั วแพทยศาสตร์ 1- 1 2
18. วิทยาลัยดรุ ยิ างคศลิ ป์ 11 1 3
19. สถาบนั วจิ ัยวลัยรุกขเวช -1 1 2
20. คณะนิติศาสตร์ 1- - 1
รวมทง้ั สิ้น 86 2 63 1 39 3 194
* ใชค้ ำวา่ หลกั สตู รภาษาอังกฤษ (เฉพาะคณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม) : จดั การเรยี นการสอนเป็นภาษาองั กฤษ
ทมี่ า : งานทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
จำนวนหลักสตู ร ปีการศกึ ษา 2563 จำแนกตามระดบั การศกึ ษา
ภาษาไทย ปริญญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก
ภาษาอังกฤษ/นานาชาติ 87 63 41
1 1 1
จำนวนหลักสตู รท่ีเปิดสอน ปีการศึกษา 2563 จำแนกตามกลุ่มสาขาวชิ า
กลมุ่ สาขาวชิ า กลุ่มสาขาวชิ า
วทิ ยาศาสตร์และ วทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ
เทคโนโลยี 27 หลักสูตร
80 หลักสูตร
12.82 %
42.05 %
กลุม่ สาขาวิชามนุษยศาสตร์
194 หลกั สตู ร และสงั คมศาสตร์
87 หลกั สตู ร
45.13 %
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
การปรบั ปรงุ หลกั สูตรและหลกั สตู รใหม่
หลักสูตรเป็นสิ่งสำคัญยิ่งของการศึกษาที่ใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน เพื่อสร้างคุณลักษณะของบัณฑิต
ใหม้ คี ุณภาพต่อสังคม ประเทศชาติในอนาคต ในปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั มหาสารคาม มกี ารสรา้ งหลักสูตรใหม่เพ่ือรองรับ
ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน จำนวน 16 หลกั สูตร และหลกั สตู รปรับปรุง จำนวน 14 หลักสูตร
คณะ ช่ือหลักสตู ร
หลกั สตู รใหม่ ศศ.ม. ภาษาอังกฤษ
คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ปร.ด การสอนภาษาอังกฤษ
กศ.ม. การศกึ ษาปฐมวยั
คณะศึกษาศาสตร์ กศ.ม. วทิ ยาศาสตรศึกษา
คณะวทิ ยาศาสตร์ วท.บ. เทคโนโลยีนวัตกรรมสำหรบั ธุรกิจสมยั ใหม่
คณะวิทยาการสารสนเทศ ปร.ด. สือ่ นฤมติ
วท.ม. การจดั การสมารต์ ซติ ีแ้ ละนวตั กรรมดจิ ิทลั
คณะการบญั ชแี ละการจดั การ ปร.ด. การจดั การสมาร์ตซติ ี้และนวัตกรรมดจิ ิทลั
พย.ม. การพยาบาลเวชปฏบิ ตั ชิ มุ ชน
คณะพยาบาลศาสตร์ พย.ม. การพยาบาลผู้ใหญ่และผสู้ งู อายุ
พย.ม. การผดงุ ครรภ์
คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ วท.ม. เทคโนโลยีทางสขุ ภาพและความปลอดภัย
ปร.ด. เทคโนโลยีทางสขุ ภาพและความปลอดภัย
คณะวทิ ยาศาสตร์ วท.ม. วิทยาศาสตรศึกษา
คณะแพทยศาสตร์ วท.ม. นวตั กรรมสุขภาพเขตร้อน (หลักสตู รนานาชาต)ิ
คณะสตั วแพทยศาสตร์ ปร.ด. วิทยาศาสตรก์ ารสัตวแพทย์
หลักสตู รปรบั ปรงุ
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ศศ.บ. ภาษาตะวันออก
วท.บ. ภมู ศิ าสตร์
คณะวิทยาศาสตร์ วท.ม. คณิตศาสตร์
คณะเทคโนโลยี วท.ม. เทคโนโลยีชวี ภาพและธุรกจิ ชวี ภาพ
วท.ม. เกษตรศาสตร์
คณะการบญั ชแี ละการจดั การ ศ.ม. เศรษฐศาสตรธ์ รุ กจิ และนวตั กรรมธรุ กิจ
บธ.ม. การจัดการเชงิ กลยุทธ์
สถาบนั วจิ ัยวลยั รกุ ขเวช บธ.ม. การจัดการการตลาดสมัยใหม่
คณะศลิ ปกรรมศาสตร์และวฒั นธรรมศาสตร์ บธ.ม. ธรุ กิจดิจิทลั และระบบสารสนเทศ
กจ.ม. การจดั การมหาบณั ฑติ
ปร.ด. การจัดการการตลาดสมยั ใหม่
วท.ม. ความหลากหลายทางชีวภาพ
ศศ.ม. วฒั นธรรมศาสตร์
ปร.ด. วัฒนธรรมศาสตร์
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
การผลติ บัณฑิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีระบบการจัดการศึกษาแบบทวิภาค ในแต่ละภาคการศึกษา มีระยะเวลาการเรียน
การสอน 16 สัปดาห์ โดยมีการจัดการเรยี นการสอนในระดับปริญญาตรี ระดบั ปรญิ ญาโท และระดบั ปรญิ ญาเอก
ระบบการรบั นสิ ิตเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรีมี 5 รอบ คือ
รอบที่ 1 การรบั ด้วย Portfolio โดยไมม่ ีการสอบข้อเขยี น
ดำเนินการรบั สมัครช่วง เดอื นธันวาคม ของทุกปี
รอบท่ี 2 การรับแบบโควตาที่มกี ารสอบข้อเขียนหรือข้อสอบปฏิบตั ิ
ดำเนนิ การรับสมัครช่วง เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ของทุกปี
รอบท่ี 3 การรับตรงรว่ มกนั
ดำเนนิ การรับสมัครชว่ ง เดอื นเมษายน ของทุกปี
รอบท่ี 4 การรับแบบ Admission
ดำเนินการรบั สมัครช่วง เดอื นพฤษภาคม ของทุกปี
รอบท่ี 5 การรับตรงอสิ ระ
ดำเนินการรับสมัครชว่ ง เดือนพฤษภาคม ถึง มถิ ุนายน ของทกุ ปี
มหาวิทยาลัยมหาสารคามรบั นกั ศึกษาเข้าศึกษาโดย ระบบ TCAS
1 2 3 4 5
การรับดว้ ย การรับแบบ การรบั ตรง การรบั แบบ การรับตรง
Portfolio โควตา รว่ มกัน Admission อิสระ
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
แผน/ผลการรบั นสิ ติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 มหาวิทยาลัยมหาสารคามเปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ในปีการศึกษา 2563
โดยมี แผนการรับเข้าศึกษา จำนวน 12,330 คน ทั้งนี้ มีผู้เข้าสมัครเพื่อเข้าศึกษาต่อในภาคการศึกษาที่ 1 จำนวน
11,523 คน (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 28 ธันวาคม 2563) ดงั ตาราง
คณะ แผน ผล ส่วนตา่ ง (+/-) %แผนเทยี บผล
1. คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 1,029 1,025 -4 99.61
2. คณะศึกษาศาสตร์ 985 975 -10 98.98
3. คณะการบญั ชีและการจัดการ 3,562 2,081 -1,481 58.42
4. คณะศิลปกรรมศาสตร์ 280 262 -18 93.57
5. คณะการท่องเท่ียวและการโรงแรม 640 776 136 121.25
6. วทิ ยาลยั การเมืองการปกครอง 945 1,224 279 129.52
7. คณะวฒั นธรรมศาสตร์ 130 95 -35 73.08
8. วิทยาลัยดรุ ิยางคศิลป์ 145 196 51 135.17
9. คณะนิติศาสตร์ 400 656 256 164.00
10. คณะวทิ ยาศาสตร์ 589 616 27 104.58
11. คณะเทคโนโลยี 470 301 -169 64.04
12. คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ฯ 323 359 36 111.15
13. คณะวิศวกรรมศาสตร์ 623 952 329 152.81
14. คณะวทิ ยาการสารสนเทศ 945 807 -138 85.40
15. คณะสง่ิ แวดลอ้ มและทรัพยากรศาสตร์ 254 180 -74 70.87
16. สถาบนั วิจัยวลยั รกุ ขเวช 10 4 -6 40.00
17. คณะพยาบาลศาสตร์ 150 160 10 106.67
18. คณะเภสัชศาสตร์ 113 118 5 104.42
19. คณะสาธารณสุขศาสตร์ 490 524 34 106.94
20. คณะแพทยศาสตร์ 177 165 -12 93.22
21. คณะสัตวแพทยศาสตร์ 70 47 -23 67.14
รวมทั้งสิ้น 12,330 11,523 -807 93.45
หมายเหตุ : ข้อมูลจำนวนนสิ ิตใหม่ จากระบบ MIS งานทะเบียน มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ณ วันท่ี 28 ธันวาคม 2563
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
จำนวนนิสิตใหม่ นสิ ติ รวม จำแนกตามระดับการศึกษา นิสติ ใหม่ นสิ ติ รวม
ปกี ารศึกษา 2563 ปกี ารศกึ ษา 2563
คณะ/หนว่ ยงาน
3,219 10,689
กลมุ่ สาขาวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 616 2,122
คณะวทิ ยาศาสตร์ 952 2,964
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 301 1,249
คณะเทคโนโลยี 807 2,448
คณะวิทยาการสารสนเทศ 180 706
คณะสิ่งแวดล้อมและทรพั ยากรศาสตร์ 359 1,178
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผงั เมือง ฯ 4 22
สถาบันวจิ ัยวลัยรุกขเวช 1,014 3,580
กลมุ่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ 160 500
คณะพยาบาลศาสตร์ 118 642
คณะเภสัชศาสตร์ 524 1,454
คณะสาธารณสุขศาสตร์ 165 741
คณะแพทยศาสตร์ 47 245
คณะสตั วแพทยศาสตร์ 7,290 24,998
กลุ่มสาขาวชิ ามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 1,025 3,546
คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 975 3,466
คณะศึกษาศาสตร์ 357 1,195
คณะศิลปกรรมศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมศาสตร์ 2,081 7,440
คณะการบญั ชีและการจัดการ 776 2,973
คณะการทอ่ งเที่ยวและการโรงแรม 1,224 3,546
วทิ ยาลัยการเมืองการปกครอง 196 671
วิทยาลัยดุริยางคศลิ ป์ 656 2,161
คณะนิติศาสตร์ 11,523 39,269
รวมทั้งส้ิน
ข้อมลู : ข้อมลู นสิ ติ จากกองทะเบยี นและประมวลผล ณ วันท่ี 28 ธนั วาคม 2563
(ข้อมูลพนื้ ฐาน มหาวทิ ยาลยั กองแผนงาน มหาวิทยาลยั มหาสารคาม)
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
ผ้สู ำเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปกี ารศึกษา 2562
9,586 คน รวมระดบั ประกาศนยี บตั ร 1 คน (คณะพยาบาลศาสตร)์
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
นิสิตตา่ งชาติ จำแนกตามระดับการศึกษา ระดับการศกึ ษา (คน) รวม
ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก
ทวปี /ประเทศ 118
23 22 73 5
ทวีปเอเชีย 14
สาธารณรฐั ประชาชนจนี 32 47
สาธารณรัฐสังคมนยิ มเวยี ดนาม 2
สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 635 1
ราชอาณาจักรกัมพชู า 1
สาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมา 40 4 3 2
สาธารณรัฐอินโดนเี ซยี 1
สาธารณรฐั ฟลิ ิปปนิ ส์ 11 1
สาธารณรัฐอนิ เดยี 2
สาธารณรฐั ประชาชนบังคลาเทศ 1
สาธารณรฐั อิสลามปากสี ถาน 1
ราชอาณาจกั รภูฏาน 1 1
ทวีปยุโรป 2 1
สหราชอาณาจักร 197
ราชอาณาจกั รเดนมาร์ก 1
ทวีปแอฟรกิ า 1
สาธารณรฐั แคเมอรูน
รวมทั้งสน้ิ 2
1
1
1
74 34 89
ทวีปเอเชยี 197 คน ทวีปยุโรป
194 คน 2 คน
98.48 % 1.02 %
ทวีปแอฟรกิ า
1 คน
0.51 %
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การพัฒนานิสติ ตามทักษะมาตรฐานการพฒั นานสิ ิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้กำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการพัฒนาทักษะที่ควรมี
ในศตวรรษที่ 21 มีความรู้ ความสามารถและทักษะให้สอดคล้องกับความต้องการตลาดแรงงานทั้งในระดับชาติ
และนานาชาติ”โดยมุ่งเน้นการเรียนการสอนแบบเรียนรู้จริง เน้นการสร้างรูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบใหม่
ทั้งในรูปแบบปกติและรูปแบบออนไลน์ ไปสู่การเรียนรู้ที่พัฒนาสมรรถนะผู้เรียน (Competency-based
Learning) โดยต้องเชอ่ื มโยงทักษะคนและสังคม (soft skills) เพอ่ื ก้าวเขา้ สู่ศตวรรษที่ 21 ดงั นี้
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
ภาวะการมงี านทำของบณั ฑิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา รุ่นปีการศึกษา 2561 -2562 ทั้งในระดับปริญญาตรี
ปริญญาโทและปริญญาเอก จำนวน 9,585 คน เป็นบัณฑิตระดับปริญญาตรี จำนวน 9,080 คน ระดับปริญญาโท
จำนวน 364 คน และระดับปริญญาเอก จำนวน 141 คน ทั้งนี้ บัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้เข้ากรอกแบบสำรวจ
ในระบบภาวะการมีงานทำของบัณฑิต พบว่า ภาพรวมบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำภายใน 1 ปี คิดเป็น
รอ้ ยละ 70.94 ดงั นี้
คณะพยาบาลศาสตร์ 100
คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ฯ 99.03
98.57
คณะเภสชั ศาสตร์ 98.22
คณะส่งิ แวดลอ้ มและทรพั ยากรศาสตร์ 98.22
96.83
คณะเทคโนโลยี 92.31
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 90.14
คณะสตั วแพทยศาสตร์ 79.71
คณะสาธารณสุขศาสตร์ 76.62
76.09
คณะแพทยศาสตร์ 74.68
คณะวทิ ยาศาสตร์ 67.29
คณะวทิ ยาการสารสนเทศ 65.92
คณะการทอ่ งเท่ียวและการโรงแรม 65.71
62.53
คณะนิติศาสตร์ 60.47
คณะการบัญชแี ละการจดั การ 59.46
คณะศลิ ปกรรมศาสตร์และวฒั นธรรม… 46.84
คณะศกึ ษาศาสตร์
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
วทิ ยาลยั ดรุ ยิ างคศิลป์
วิทยาลยั การเมืองการปกครอง
การได้งานทำตรงสาขาของบัณฑติ 72.20
66.16 65.23
ทางานตรงสาขา กล่มุ มนุษยศาสตรแ์ ละ กลมุ่ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กล่มุ วทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ
สังคมศาสตร์ 65.23 72.20
66.16
ประเภทงานทีท่ ำของบณั ฑิต รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
2,782
1,258
541 77 28 16 476 17 4 1 315
392 260 357 131 54
97 115
ข้าราชการ/จนท. รัฐวสิ าหกจิ พนกั งานบริษทั / เจา้ ของกิจการ/ พนกั งานองคก์ ร อืน่ ๆ
หน่วยงานรฐั องคก์ รเอกชน ธุรกิจอสิ ระ ต่างประเทศ
77 476 315
กลมุ่ มนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 541 28 2782 17 131
16 357 54
กลมุ่ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 97 1258 4
115
กลมุ่ วทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ 392 260 1
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
ความพงึ พอใจผใู้ ช้บณั ฑติ ที่มตี ่อคุณภาพของบัณฑติ ระดับปรญิ ญาตรี โท และเอก ตามมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ รนุ่ ปกี ารศึกษา 2561 – 2562
มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้ดำเนินการติดตามผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อคุณภาพของ
บณั ฑิตระดับปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ร่นุ ปกี ารศกึ ษา 2560 - 2561
เพื่อเป็นการประเมินคุณภาพของผลการเรียนรู้จากบัณฑิตในมุมมองของผู้ ใช้บัณฑิตและเพื่อให้สอดคล้องกับ
การพัฒนาบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยการสำรวจความพึงพอใจของ
ผู้ใช้บัณฑิตเป็นการศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for
Higher Education : TQF) ซึ่งได้กำหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่พงึ ประสงคต์ ามท่ีหลักสูตรกำหนดไว้ใน มคอ.2 ครอบคลุม
ผลการเรียนรู้อย่างน้อย 5 ด้าน คือ ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม ดา้ นความรู้ ด้านทกั ษะทางปัญญา ด้านทกั ษะความสัมพันธ์
ระหวา่ งบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลขการส่ือสารและการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
จากการสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตระดับปริญญาตรี โท และเอก รุ่นปีการศึกษา
2561 – 2562 พบว่า ผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจต่อบัณฑิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท
และปริญญาเอก ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( ̅ = 4.41) คิดเป็นร้อยละ 88.20 สูงขึ้นจากปีที่ผ่านมา (รุ่นปีการศึกษา
2560 – 2561 ท่ีมีคา่ เฉลี่ย ( ̅ = 4.40)
รวม 4.41
คณะสตั วแพทยศาสตร์
4.56
คณะแพทยศาสตร์ 4.21
คณะสาธารณสุขศาสตร์ 4.23
4.54
คณะเภสชั ศาสตร์ 4.21
คณะพยาบาลศาสตร์ 4.30
สถาบนั วจิ ัยวลยั รุกขเวช 4.38
คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ ผงั เมอื งฯ 4.40
คณะสิง่ แวดลอ้ มและทรพั ยากรศาสตร์ 4.56
คณะวทิ ยาการสารสนเทศ 4.23
4.54
คณะเทคโนโลยี 4.46
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 4.51
4.41
คณะวทิ ยาศาสตร์ 4.41
คณะนติ ิศาสตร์ 4.24
4.40
คณะวัฒนธรรมศาสตร์ 4.32
วิทยาลยั ดรุ ยิ างคศลิ ป์ 4.41
วิทยาลยั การเมืองการปกครอง 4.53
คณะการทอ่ งเทย่ี วและการโรงแรม 4.38
คณะการบัญชแี ละการจัดการ
คณะศลิ ปกรรมศาสตร์
คณะศึกษาศาสตร์
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
012345
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การสง่ เสริม สนับสนุนกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรและกิจกรรมนอกหลกั สตู รและการพัฒนาคุณภาพบณั ฑติ
ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ
ในปีงบประมาณ 2563 มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมเสริมหลักสูตรและกิจกรรม
นอกหลักสูตร เพื่อการพัฒนาและผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะที่โดดเด่นเพื่อตอบสนองต่อ
การเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจ ระบบอตุ สาหกรรม ระบบสังคมและวฒั นธรรม ดงั น้ี
กจิ กรรมเสริมหลกั สตู รและกิจกรรมนอกหลักสูตร จำนวน จำนวน งบประมาณ
โครงการ (คน) (บาท)
1. ด้านกจิ กรรมวชิ าการท่ีสง่ เสริมบณั ฑติ ที่พงึ ประสงค์ 70,928
2. ด้านกจิ กรรมกีฬาหรือการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ 30 8,813 1,895,440
3. ด้านกจิ กรรมบำเพ็ญประโยชน์หรือรกั ษาสงิ่ แวดล้อม 15 2,749 2,664,020
4. ด้านกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจรยิ ธรรม 20 1,808 495,400
5. ด้านกจิ กรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม 14 12,061 502,400
18 96,359 1,438,550
97 6,995,810
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
สวัสดกิ ารและส่ิงอำนวยความสะดวกแก่นิสติ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ให้บริการและจัดสวัสดิการต่าง ๆ แก่นิสิต ทั้งด้านที่พักอาศัยการรักษาพยาบาล
การคมนาคม การสนบั สนนุ ทนุ การศึกษา รวมถงึ การเตรยี มความพร้อมใหแ้ ก่ผสู้ ำเร็จการศึกษาก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน
ดา้ นทุนการศกึ ษา
มหาวทิ ยาลัยมหาสารคามมีนโยบายในการใหค้ วามช่วยเหลอื นสิ ติ ด้านทนุ การศึกษา โดยได้สนับสนนุ และจดั ให้มี
ทนุ การศึกษาสำหรับนิสติ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ดังนี้
ประเภททุนการศกึ ษา จำนวน (ทนุ ) จำนวนเงนิ (บาท)
ทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษาของรัฐบาล 7,710 395,255,250
ทุนการศึกษารายปี 319 1,323,000
ทุนการศึกษาต่อเนือง 217 5,703,000
8,246 402,281,250
รวม
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้รับสนับสนุนจากทั้งกองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา กยศ. และทุนการศึกษาให้เปล่า
ทั้งประเภทต่อเน่ืองและรายปี จากทุนการศึกษาของมหาวิทยาลัย ทุนจากหน่วยงานท้ังภาครฐั และภาคเอกชน เพื่อเป็น
การชว่ ยเหลอื และสนบั สนุนการศึกษาของนสิ ติ
ทนุ การศกึ ษาให้เปล่าสำหรับนิสิตทงั้ ทุนรายปีและทุนต่อเน่ืองโดยเป็นทุนรายปี จำนวน 1,323,000 บาท มีผู้ได้รับ
ทุน จำนวน 319 คน และเปน็ ทนุ การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง จำนวน 5,703,000 บาท มีผู้ได้รบั ทุน จำนวน 217 คน
ทนุ การศึกษา
ทนุ ภายใน/ภายนอก ทนุ ตามนโยบายรฐั
มหาวทิ ยาลยั
ทุนการศกึ ษารายปี ทนุ การศึกษา ทุนก้ยู มื เพื่อ
ตอ่ เนอ่ื ง การศกึ ษา (กยศ.)
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
ด้านที่พกั อาศยั และการคมนาคม
มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้พัฒนาพื้นที่การเรียนรูภ้ ายในมหาวิทยาลัยและจัดสรรพืน้ ทีเ่ พือ่ ใหบ้ ริการท่ี
พักแก่นิสิต นักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อการใช้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพด้านที่พัก
อาศัย โดยจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้ออำนวยให้นิสิตใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยได้อย่างมีความสุข และจัด
อาคารหอพกั ให้มีสิ่งแวดล้อมที่สะอาด เหมาะสมตอ่ การเรียนรูแ้ ละมีคุณภาพชวี ิตทดี่ ี รวมทง้ั การจดั สงิ่ อำนวยความ
สะดวกต่าง ๆ ไว้ให้บริการ อาทิ รถรางไฟฟ้าสำหรับบริการรับ – ส่งนิสิต ระบบอินเตอร์เน็ตในอาคารหอพัก
อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า ร้านอาหารและร้านบริการซักอบรีด รถจักรยานสำหรับปั่นออกกำลังกาย โดยในปี
การศึกษา พ.ศ. 2563 มีหอพักให้บริการนิสิตและนักเรียนโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 24
หลัง และสามารถรองรบั นิสิต นกั เรยี นโรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ได้ 5,203 คน
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ดา้ นกฬี าและสขุ ภาพ
มหาวิทยาลยั มหาสารคามได้ตระหนักถึงการสนับสนนุ ส่งเสรมิ ให้นสิ ิตได้มสี ุขภาพพลานามยั ท่ดี ีและใช้เวลาว่าง
ให้ถูกต้องเหมาะสม จึงได้มีสนามกีฬา อาคารอเนกประสงค์ที่มีมาตรฐาน พร้อมอุปกรณ์ที่เพียงพอต่อการให้บริการ
ด้านกฬี าและสขุ ภาพแกน่ สิ ติ บคุ ลากรและประชาชนทั่วไป
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 พฒั นาการวิจัยและสรา้ งสรรค์เพ่อื สร้างองค์ความรแู้ ละนวัตกรรม
ทส่ี รา้ งคุณค่าทางวชิ าการและมลู ค่าเพม่ิ ให้กับชุมชนและสงั คม
มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีการดำเนินงานด้านการวิจัยที่มีพัฒนาการดีขึ้นตามลำดับ ไม่ว่าจะเป็น
ผลงานวิจัยของอาจารย์หรือผลงานวิจัยของนิสิต ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาศักยภาพทางด้านการวิจัยให้มีประสิทธิภาพ
เพิ่มมากขึ้น มหาวิทยาลัยได้วางระบบกลไกในการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาศักยภาพ
ทางด้านการวิจัยให้อาจารย์และนิสิตอย่างต่อเนื่อง เช่น การปรับระบบการตั้งงบประมาณเงินรายได้ เพื่อรองรับ
เกณฑ์การประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาด้านการวิจัย การจัดหาทุนทั้งภายในและภายนอก เพื่อสนับสนนุ
การผลิตผลงานวจิ ยั ของอาจารย์และนิสิต การจัดสรรทุนสำหรับเป็นคา่ ตอบแทนการตีพิมพ์ผลงานวจิ ยั การส่งเสริม
และพัฒนาทักษะด้านการวิจัยใหแ้ ก่อาจารย์นกั วจิ ยั และบคุ ลากรสายสนับสนุนการจัดทำวารสารของมหาวิทยาลยั
เพื่อรองรับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ผลงานวิจัย การจัดประชุมวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ การสร้าง
เครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยเพื่อนำไปสู่การสร้างผลงานวิจัยที่สามารถสร้างมูลค่าให้กับชุมชนและประเทศ
หรือการสร้างคุณค่าต่อชุมชนและสังคมอย่างยั่งยืน การส่งเสริมงานวิจัยสถาบันเพื่อนำไปสู่การพัฒนาและ
แกไ้ ขปญั หาในการบริหารและพัฒนามหาวทิ ยาลยั เปน็ ตน้
ด้านทุนวิจัย
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้รับการจัดสรรทุนเพือ่ สนับสนุนการวิจัยทง้ั
ที่เป็นเงินภายในมหาวิทยาลัยและภายนอกมหาวิทยาลัย ทั้งสิ้นจำนวน 272 โครงการ รวมเป็นเงินทั้งหมด
86,210,234 บาท โดยเป็นทุนวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ จำนวน 201 โครงการ งบประมาณ จำนวน
17,220,000 บาท (ร้อยละ 19.97) ได้รับทุนสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอก จำนวน 71 โครงการ งบประมาณ
จำนวน 68,990,234 บาท (ร้อยละ 80.03) ดังน้ี
เงนิ ทุนวจิ ยั ท่ีมหาวทิ ยาลัยได้รับ ปี 2559 - 2563
86,210,234
จานวนเ ิงน ( ้ลานบาท) 63,633,933 59,851,836
55,285,192
46,100,628
2559/2016 2560/2017 2561/2018 2562/2019
2563/2020
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
จำนวนโครงการและงบประมาณการวิจัย ประจำปีงบประมาณพ.ศ.2563 จำแนกตามกลุ่มสาขาวิชา
และคณะ/หนว่ ยงาน
กลุม่ สาขาวิชา/คณะ จำนวนโครงการ งบประมาณ (บาท) ร้อยละ
กล่มุ สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 161 51,939,716 60.25
คณะวิทยาศาสตร์ 82 19,915,578 23.10
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 7 2,746,500 3.19
คณะเทคโนโลยี 22 4,850,363 5.63
คณะวทิ ยาการสารสนเทศ 13 1,130,000 1.31
คณะส่งิ แวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ 15 3,428,779 3.98
คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ ผงั เมอื งและนฤมิตศลิ ป์ 6 16,424,096 19.05
สถาบันวจิ ัยวลัยรกุ ขเวช 16 3,444,400 4.00
กล่มุ สาขาวิชาวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ 63 21,447,444 24.88
คณะพยาบาลศาสตร์ 2 1,075,000 1.25
คณะเภสชั ศาสตร์ 20 11,344,310 13.16
คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ 4 440,000 0.51
คณะแพทยศาสตร์ 27 7,448,134 8.64
คณะสตั วแพทยศาสตร์ 10 1,140,000 1.32
กลุ่มสาขาวชิ ามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 30 8,806,860 10.22
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 2 3,177,600 3.69
คณะศกึ ษาศาสตร์ 12 790,000 0.92
คณะศลิ ปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร์ 11 1,690,000 1.96
คณะการบญั ชแี ละการจดั การ 1 200,000 0.23
คณะการท่องเทยี่ วและการโรงแรม 2 2,000,000 2.32
วทิ ยาลัยดุรยิ างคศิลป์ 1 700,000 0.81
วิทยาลยั การเมอื งการปกครอง 1 249,260 0.29
หนว่ ยวจิ ัย 8 3,816,215 4.43
สถาบันวิจัยศิลปะและวฒั นธรรมอีสาน 6 912,980 1.06
ศูนยว์ ิจัยและการศึกษาบรรพชวี นิ วิทยา 2 2,903,235 3.37
หน่วยงานสนบั สนนุ การจัดการเรยี นการสอน 10 200,000 0.23
กองคลงั และพัสดุ 6 120,000 0.14
กองทะเบียนและประมวลผล 1 20,000 0.02
กองบรกิ ารการศึกษา 2 40,000 0.05
ศูนย์พัฒนาและประกนั คณุ ภาพการศึกษา 1 20,000 0.02
รวมทัง้ สิ้น 272 86,210,235 100.00
ทม่ี า : กองส่งเสริมการวจิ ยั และบรกิ ารวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
สัดสว่ นงบประมาณโครงการวจิ ัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2563
จำแนกตามกลุ่มสาขาวิชา
หน่วยงานวจิ ัย หนว่ ยงานสนบั สนนุ การเรียนการสอน
3,816,215 บาท 200,000 บาท
4.66 % 0.23 % กลมุ่ มนษุ ยศาสตร์และ
สงั คมศาสตร์
กลมุ่ วทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ 8,806,860 บาท
21,447,444 บาท
10.22 %
24.88 %
กลุ่มวทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
51,939,715 บาท
57.02 %
สดั ส่วนโครงการวิจยั ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 หน่วยงานวจิ ัย
จำแนกตามกลุ่มสาขาวิชา 8 โครงการ
กลุ่มวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ 2.94 %
63 โครงการ
หนว่ ยงานสนบั สนุน
23.16 % การเรยี นการสอน
กลมุ่ วิทยาศาสตรแ์ ละ 10 โครงการ
เทคโนโลยี
161 โครงการ 3.68 %
59.19 % กลุ่มมนษุ ยศาสตร์
และสังคมศาสตร์
30 โครงการ
11.03 %
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลยั มหาสารคาม 68,990,234
แหล่งเงนิ ทุนวจิ ัยปีงบประมาณ 2559 - 2563
50,218,936
จานวนเงิน (ล้านบาท) 17,307,928 36,516,692 28,411,000
27,972,700 33,982,933
17,578,500 17,220,000
820,000 1,190,000 1,240,000 5,882,900
3,750,000
งบประมาณเงนิ แผ่นดนิ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
งบประมาณเงินรายได้ 17,307,928 17,578,500 28,411,000 5,882,900
แหลง่ ทนุ ภายนอก 820,000 1,190,000 1,240,000 3,750,000 17,220,000
27,972,700 36,516,692 33,982,933 50,218,936 68,990,234
สัดส่วนเงินทุนวจิ ัยที่ได้รับจากแหล่งต่าง ๆ ปีงบประมาณ 2563
ผลงานวจิ ัยตีพิมพ์
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
ผลงานวิจัยที่ไดร้ บั การรับรองคณุ ภาพ
ผลงานวจิ ัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่และอา้ งอิงในฐานข้อมลู ISI Thomson Reuters
มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีผลงานวิจัยและบทความที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่และอ้างอิง
ในฐานข้อมูล ISI Thomson Reuters 10 ปีย้อนหลัง พบว่า มียอดรวมผลงานวิจัยและบทความที่ได้รับ
การตีพมิ พ์เผยแพร่ จำนวน 1,764 เรอ่ื ง และมผี ลงานวิจยั และบทความท่ีไดร้ บั การอ้างอิง จำนวน 13,257 เรือ่ ง
ปี จำนวนผลงาน จำนวนอ้างอิง
ตอ่ ปี สะสม ต่อปี สะสม
2554 129 475 3,167 9,421
2555 114 589 1,426 10,847
2556 142 731 1,591 12,438
2557 133 864 1,912 14,350
2558 153 1,017 1,213 15,563
2559 193 1,210 1,450 17,013
2560 202 1,412 1,136 18,149
2561 233 1,645 891 19,040
2562 257 1,902 394 19,434
2563 208 2,110 77 19,511
รวม 1,764 11,955 13,257 155,766
จำนวนบทความวิจัยมหาวทิ ยาลัยมหาสารคามในฐานขอ้ มูล SCOPUS
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคามมีจำนวนบทความวจิ ัยในฐานข้อมูล SCOPUS 10 ปีย้อนหลัง พบวา่
มจี ำนวนบทความวิจยั ในฐานข้อมลู SCOPUS จำนวน 2,726 เร่ือง
ปี จำนวนบทความวิจยั ในฐานขอ้ มูล SCOPUS
จำนวนบทความวิจยั (เรอื่ ง/ป)ี จำนวนบทความวิจยั สะสม(เรอ่ื ง)
2554 290 1,023
2555 303 1,326
2556 281 1,607
2557 227 1,834
2558 238 2,072
2559 251 2,323
2560 259 2,582
2561 318 2,900
2562 346 3,246
2563 213 3,459
รวม 2,726 22,372
ขอ้ มลู : กองสง่ เสรมิ การวจิ ัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
การยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปญั ญา
ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ฐานข้อมูลทรัพยส์ ินทางปัญญา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม มีการย่ืนคำขอจดทะเบียน
ทรัพย์สินทางปัญญา จำนวน 24 คำขอ โดยไดร้ ับการจดทะเบียนอนสุ ิทธบิ ัตร จำนวน 2 คำขอ
ฐานข้อมลู ทรัพยส์ นิ ทางปัญญา ปงี บประมาณ พ.ศ.2563
ลำดับ ประเภท จำนวนคำขอ จำนวนคำขอทีไ่ ดร้ บั จดทะเบียน
1 อนสุ ทิ ธิบัตร 16 2
2 ลิขสิทธิ์ 1-
3 เคร่ืองหมายการคา้ 7 -
รวม 24 2
ข้อมูล : ศูนย์ความรว่ มมอื ภาคอุตสาหกรรม (UIC ) กองสง่ เสริมการวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การนำทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาไปใชป้ ระโยชน์เชิงพาณชิ ย์ (อนสุ ิทธบิ ตั รที่ไดร้ บั การจดทะเบยี นแลว้ )
ประเภททรพั ย์สนิ ทางปัญญา ชือ่ เรือง/รายละเอียดการใชส้ ิทธิ์
ช่ือเรอ่ื ง “อุปกรณ์เฝา้ ตดิ ตามและประเมนิ การเคล่ือนไหว”
รายละเอียด
ผปู้ ระดิษฐ์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เกียรติสนิ กาญจนวนชิ กลุ
สังกัด คณะวศิ วกรรมศาสตร์
เลขที่คำขอ อนสุ ิทธบตั รคำขอเลขที่ 16618
เจา้ ของสิทธิ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ชือ่ เร่ือง “ระบบควบคุมอตั โนมตั ิแบบป้อนกลบั สำหรับ
ตู้อบลมร้อนโดยอาศัยคอมพิวเตอรว์ ิชัน่ ”
รายละเอยี ด
ผู้ประดษิ ฐ์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เกียรติสิน กาญจนวนิชกุล
สังกดั คณะวิศวกรรมศาสตร์
เลขท่คี ำขอ อนสุ ิทธบัตรคำขอเลขท่ี 16617
เจ้าของสิทธิ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
ผลงานวิจัยท่ีย่ืนจดทะเบยี นทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา (สิทธบิ ัตรและอนุสิทธบิ ตั ร)
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีงบประมาณ พ.ศ.2563
ลำดับ ชือ่ สิ่งประดิษฐ์ ช่อื เจา้ ของผลงาน คณะ/หน่วยงาน
1 สตู รสว่ นผสมสมนุ ไพรอบแห้งที่มสี ว่ นประกอบ ผศ.ดร.รัชนี นามมาตย์ สถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช
ของขิงอบแห้งและแกน่ ฝางอบแหง้ และกรรมวธิ ี
การทำ
2 สูตรสว่ นผสมสมนุ ไพรอบแห้งทมี่ สี ่วนประกอบ ผศ.ดร.รชั นี นามมาตย์ สถาบนั วิจัยวลยั รกุ ขเวช
ของชะเอมไทยอบแห้ง และกรรมวธิ ีการทำ
3 สูตรส่วนผสมสมนุ ไพรอบแห้งทีม่ ีสว่ นประกอบ ผศ.ดร.รชั นี นามมาตย์ สถาบนั วิจัยวลัยรกุ ขเวช
ของดอกคำฝอยอบแหง้ และตะไคร้อบแห้ง
และกรรมวิธกี ารทำ
4 สูตรสว่ นผสมสมนุ ไพรอบแห้งที่มสี ว่ นประกอบ ผศ.ดร.รชั นี นามมาตย์ สถาบนั วจิ ยั วลัยรกุ ขเวช
ของถวั ดาวอนิ คาอบแห้งและกรรมวธิ กี ารทำ
5 สูตรสว่ นผสมสมุนไพรอบแห้งทม่ี สี ่วนประกอบ ผศ.ดร.รชั นี นามมาตย์ สถาบนั วจิ ยั วลยั รุกขเวช
ของเห็ดหลนิ จืออบแหง้ และรางจดื อบแหง้
และกรรมวธิ กี ารทำ
6 สูตรส่วนผสมสมุนไพรอบแห้งทม่ี สี ว่ นประกอบ ผศ.ดร.รัชนี นามมาตย์ สถาบันวจิ ยั วลัยรกุ ขเวช
ของเห็ดหลินจืออบแหง้ และกรรมวธิ ีการทำ
7 เคร่อื งตรวจวดั สี กลิ่นและความเคม็ ผศ.ดร.สุภกร หาญสูงเนิน คณะวิทยาศาสตร์
เพ่อื ควบคุมเชงิ คุณภาพของปลารา้
8 เครอ่ื งสางไหมอีรี่ ผศ.เกสร วงษ์เกษม คณะวิศวกรรมศาสตร์
9 เคร่อื งทอผา้ ยกดอกลายโบราณควบคมุ ผศ.เกสร วงษเ์ กษม คณะวศิ กรรมศาสตร์
ด้วยพแี อลซี
10 กรรมวิธกี ารสกัดสารประกอบฟนี อลิกและ ผศ.ดร.ปริยาภรณ์ อิศรานุวัฒน์ คณะเทคโนโลยี
สารประกอบฟลาโวนอยด์จากดอกกหุ ลาบ
11 อุปกรณ์ตรวจจบั ความรอ้ นดว้ ยเทอรโ์ มอิเลก็ ท อ.กฤตานน ประเทพา คณะวศิ วกรรมศาสตร์
ริกไร้สาย - ไรพ้ ลังงาน
12 หฟู ังแปลภาษา รศ.ดร.ชลธี โพธ์ิทอง คณะวิศวกรรมศาสตร์
13 เครือ่ งกรอฟนั ชนดิ ดูดเศษผงแบบพกพา รศ.ดร.ชลธี โพธิท์ อง คณะวิศวกรรมศาสตร์
14 เครอ่ื งทำความเย็นโดยสารหอ้ งรถยนต์ รศ.ดร.ชลธี โพธิ์ทอง คณะวศิ วกรรมศาสตร์
แบบประหยัดพลังงาน
15 ตอู้ บแหง้ รวมแสงรว่ มกับการระบายความช้ืน รศ.ดร.ชลธี โพธท์ิ อง คณะวศิ วกรรมศาสตร์
พลงั งานแสงอาทติ ย์
16 สตู รและกรรมวธิ ีการผลิตผงโรยข้าวรสแจ่วบอง ผศ.ดร.ศรีนวล จันทไทย คณะเทคโนโลยี
และคณะ
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
ผลงานวิจัย/ส่งิ ประดษิ ฐท์ ่ไี ด้รบั รางวัล
รางวัลสุดยอดนวัตกรรมขา้ วไทย ปี 2562 จากผลงาน “ เครื่องเรง่
กระบวนการแชแ่ ละเพาะงอก ขา้ วเปลือกสำหรบั การผลิตข้าวฮางงอก”
“เครื่องเร่งกระบวนการแช่และเพาะงอกข้าวเปลือก สำหรับการผลิต
ข้าวฮางงอก” เป็นผลงานของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพรรณ ยั่งยืน,
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรมาศ เลาหวณิช จากคณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคามและผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เชิดพงษ์ เชี่ยวชาญ
วัฒนา จากคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น ได้รับรางวัลชนะเลิศนวัตกรรมข้าวไทย
ประจำปี 2562ในระดับอุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2562 ภายใน
งาน InnovationThailandExpo2019: ITE2019แก่สุดยอดนวัตกรรมของ
ประเทศ เชิดชูนักสร้างสรรค์นวัตกรรม ก่อเกิดคุณค่าทั้งระดับองค์กร
ระดับประเทศ และระดับโลก สื่อสารศักยภาพนวัตกรรมของคนไทย มุ่งสู่
การเปน็ “ประเทศแห่งนวัตกรรม”
ผลงานนี้เป็นนวัตกรรมระดับโลกด้านกระบวนเร่งการแช่
และงอกข้าวเปลือกสำหรับการผลิตข้าวฮางงอก ในการทำให้น้ำไหล
ด้วยการสเปรย์น้ำผ่านข้าวเปลือกในภาชนะบรรจุปิดสนิทเป็น
คาบเวลา 15-18 ชวั่ โมง ข้าวเปลอื กจะเร่ิมงอกเร็ว และบ่มงอกต่อโดย
ไม่สเปรยน์ ้ำ 2-3 ช่ัวโมง ช่วยลดระยะเวลาการงอกของข้าวลงจากเดิม
2-3 วัน เหลือเพียง 24 ชั่วโมง ลดปริมาณการใช้น้ำได้ถึง 5 เท่า
นอกจากนี้ทั้งกลิ่นของข้าวฮางงอกและเนื้อสัมผัสจะดีกว่า
กระบวนการแบบเดิม ชุมชนผู้ผลิตข้าวฮางงอกสามารถเข้าถึง
เทคโนโลยีนี้ได้ในราคาเริ่มต้นที่ 20,000 บาทซึ่งกำลังการผลิต
ประมาณ 100 กิโลกรัมต่อวัน โดยการประยุกต์ใช้ถังน้ำพลาสติก
ขณะที่การผลิตระดับอุตสาหกรรมซึ่งใช้วัสดุสแตนเลส ซึ่งมีกำลัง
การผลิต 600 กโิ ลกรัมต่อวัน จะมีราคาประมาณ 500,000 บาท โดย
มีจดุ คมุ้ ทนุ ของเคร่ืองขนาดอุตสาหกรรมอยู่ที่ 1.39 ปี
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
รางวัลผลงานประดิษฐค์ ิดค้น รางวลั ประกาศเกยี รติคุณ
สาขาสงั คมวทิ ยา จากผลงาน “ต้อู ัจฉรยิ ะรกู้ ฎหมาย”
“ตอู้ ัจฉริยะรกู้ ฎหมาย” ผลงานของอาจารย์ ดร.องอาจ ชาญประสิทธ์ิชัย
สังกัดคณะการบัญชีและการจัดการ พร้อมคณะ ได้รับรางวัล สภาวิจัย
แห่งชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น รางวัลประกาศเกียรติคุณ
สาขาสังคมวิทยา จากงาน “วันนักประดิษฐ์ ประจำปี 2563” ซึ่งจัดขึ้น
วันที่ 2 – 6 กุมภาพันธ์ 2563 เพื่อนำเสนอสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม
พร้อมใช้และความก้าวหน้าด้านการประดิษฐ์คิดค้นของประเทศให้เกิด
การขยายผล และนำไปใช้ประโยชน์ในมิติต่างๆ สอดคล้องกับเป้าหมาย
ของยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) และเป้าหมาย
ประเทศไทย 4.0 ในการนำการวิจัยและนวัตกรรม ซึ่งเป็นกลไกสำคัญ
ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคมของประเทศ ภายใต้
แนวคดิ “สิ่งประดษิ ฐ์สร้างสรรค์ พัฒนากา้ วไกล นวตั กรรมไทยย่งั ยืน”
ตู้อัจฉริยะรู้กฎหมาย คือ ตู้ปรึกษาทนายความสายด่วน
อัจฉริยะผ่านระบบ VDO Conference เพื่อให้บุคคลทั่วไปที่มีปัญหา
ข้อกฎหมายได้ปรึกษากับทนายความที่มีความรู้ ความสามารถ โดยไม่มี
คา่ ใช้จ่าย และเพื่อลดความเหลอ่ื มลำ้ ทางสงั คมในการเข้าถงึ กระบวนการ
ยุตธิ รรม โดยทนายความในระบบมีความเชยี่ วชาญเฉพาะทาง ผ่านระบบ
การคัดกรอง และแบ่งประเภทของคดีความอย่างชัดเจน ตู้อัจฉริยะรู้
กฎหมาย จึงเป็นเสมือนสำนักงานทนายความเคลื่อนที่ ซึ่งทำให้
การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ความรู้ด้านกฎหมาย เป็นเรื่องง่าย
สะดวก รวดเรว็ มากขึ้นสำหรับทุกคน
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
รางวัลชนะเลศิ จากผลงาน “รถเก่ียวนวดข้าวแบบต่อ
พว่ งรถแทรกเตอร์ขนาดเล็ก”
“รถเกี่ยวนวดข้าวแบบต่อพ่วงรถแทรกเตอร์ขนาดเล็ก”
ผลงานวิจัยโดยผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทนงศกั ดิ์ มูลตรี คณะเทคโนโลยี
ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากงานประกวดเครื่องจักรกลเกษตร ซึ่งจัดข้ึน
เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2563 ในหัวข้อ “เครื่องจักรกลเกษตร เพื่อ
การยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรไทย” เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน
การประดษิ ฐค์ ิดค้น เครอื่ งจกั รกลเกษตรโดยใชว้ ิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรมด้วยฝีมือคนไทยและกระตุ้นให้เห็นถึงความสำคัญ
ในการใชเ้ ทคโนโลยีเครือ่ งจักรกลในการยกระดบั คณุ ภาพชีวิตเกษตรกร
ไทย ในงานเกษตรแฟร์ ปี 2563 "นวตั กรรมใหม่ เพ่อื เกษตรไทยยั่งยนื "
“รถเกี่ยวนวดข้าวแบบต่อพ่วงรถแทรกเตอร์ขนาดเล็ก”เป็น
เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเกษตรกร เนื่องจาก รถเกี่ยวข้าวนี้สามารถ
ช่วยลดการปนเปื้อนของเมล็ดข้าวที่จะข้ามสายพันธ์ของข้าวได้
เกษตรกรสามารถออกประกอบล้างทำความสะอาด ได้ง่าย โอกาส
ของการปนเปื้อนของเมล็ดพันธ์ก็มีน้อยมาก รวมทั้ง การบำรุงรักษา
ก็ง่ายสำหรับเกษตรกร และชิ้นส่วนประกอบสามารถหาซื้อได้ง่าย
มีขายตามตลาดทั่วไป สามารถหาซื้ออุปกรณ์ซ่อมบำรุงเปลี่ยนแปลง
เองได้ง่าย สามารถซ่อมบำรุงรักษาเองได้ จึงเป็นเทคโนโลยีที่เหมาะ
กับกลมุ่ เกษตรกร
รายงานประจำปี 2563 มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
รางวลั เชิดชเู กยี รตินักวิจยั ดเี ดน่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เภสชั กรหญงิ ราตรี สวา่ งจิตร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เภสัชกรหญิงราตรี สว่างจิตร มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านการศึกษาทางคลินิก
เกีย่ วกบั ผลิตภณั ฑ์สำหรบั ผวิ หนังและยาทาภายนอก และการศึกษาทางคลินิกของยาสมนุ ไพรหรือผลติ ภัณฑ์ธรรมชาติ
มคี วามสนใจการวิจยั ดา้ นการศึกษาทางคลนิ ิก (Phase II และ III ในมนษุ ยใ์ นดา้ นสมุนไพร ยาบรรเทาอาการปวดและ
ผลิตภัณฑ์ในโรคผิวหนัง) การศึกษาผลทางเภสัชวิทยาคลินิก (ด้านความปวดและการอักเสบในอาสาสมัครสุขภาพด)ี
การประเมินผลทางเศรษศาสตร์ (cost-effectiveness analysis, cost-utility analysis) และคุณภาพชีวิตของการ
ให้ intervention ในผู้ป่วย รวมถึงผลของการบริการวิชาการในร้านยา และการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ
และ meta-analysis
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เภสชั กรหญงิ ราตรี สว่างจิตร มปี ระสบการณท์ เี่ กี่ยวขอ้ งกับงานวิจยั ได้รบั การตีพิมพ์
เผยแพรท่ งั้ ภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะในบทบาทของผูว้ จิ ัยหลกั เชน่
– Cost-effectiveness of chlorhexidine gluconate compared with povidone-iodine solution
for catheter-site care in Siriraj Hospital
– การทบทวนอยา่ งเปน็ ระบบเกยี่ วกับประสิทธิภาพของว่านหางจระเข้ในการรักษาแผลไฟไหมน้ำร้อนลวก
– RCT and Clinical study:
– การศึกษาความปลอดภยั ของการใช้ Cleansing lotion containing tamarind fruit pulp extract
– Cleansing lotion containing tamarind fruit pulp extract. III. Study of lightening efficacy
and skin irritation on Asian skin type
– ประสิทธภิ าพและความปลอดภัยของตำรับยาทาตรีกฏุกในการบรรเทาอาการยุงกัด
– Clinical pharmacology of cyclooxygenase inhibition and pharmacodynamics interaction
with aspirin by floctafenine in Thai healthy subjects
– The effect of Deplee preparation for relieving muscle pain syndrome
– การศกึ ษาผลการใชน้ ำ้ เกลอื แบบเตรียมเองในการสวนลา้ งจมูกในผปู้ ่วยภมู แิ พ้จมูกอักเสบ
– การศึกษายากนิ ประสะไพลในการลดการปวดกลา้ มเน้ือ (ตีพิมพ์แล้ว)
– การศกึ ษาผลของยาปราบชมพูทวีปในการรักษาภมู ิแพจ้ มูกอักเสบ
– การศกึ ษาความรู้ ทศั นคติและพฤติกรรมการใช้ยารกั ษาอาการปวดเรื้อรังที่ไม่ใชม่ ะเรง็ ในชมุ ชน
รายงานประจำปี 2563 มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
ผลงานวจิ ยั และสง่ิ ประดิษฐด์ เี ดน่ ของบคุ ลากร
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เปิดตัวผลิตภัณฑ์ “เซรั่มบำรุงผิวหน้า สารสกัดจากรังไหม” Silk protein concentrate face
serum ผลติ ภัณฑท์ ่ีพัฒนาจากงานวิจัย ซ่ึงมสี ่วนผสมจากสารสกัดจากธรรมชาติ ประกอบด้วย เซริซนิ จากรังไหมสีชมพู, สารสกัดเบอร่ี
7 ชนิด และวิตามิน บี 3 ที่จะช่วยทำให้ผิวพรรณสดชื่นและสดใสในทุกมิติ โดยเป็นผลงานวิจัยของ นางสาวกานต์สุภัค นพรัตน์
เจ้าหน้าที่วิจัย สังกัดศูนย์ความเป็นเลิศทางนวัตกรรมไหม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้คิดค้นและพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์ฯ สารสกัด
จากรงั ไหม ดว้ ยคุณสมบตั ิทางชวี ภาพท่มี ีความโดดเดน่ ของรงั ไหมไทย จงึ กอ่ เกดิ เป็นผลิตภัณฑ์ Silk protein concentrate face serum
เปน็ สตู รใหม่ทดี่ ีที่สุด ที่อุดมไปด้วยสรรพคุณทต่ี อบโจทย์ความต้องการของผู้ที่ต้องการฟนื้ ฟผู วิ อย่างเร่งดว่ นที่ครอบคลุมการดูแลบำรุง
ผวิ พรรณทกุ มิติ เป็นการทำงานร่วมกนั อย่างลงตัวของ Sericin, Seven Berry Extract, Niacinamide โดยจุดเด่นของ “เซร่ัมบำรุงผิวหน้า
สารสกัดจากรังไหม”คือ ปลอดภัยแปลกใหม่ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้มาจากงานวิจัย เป็นสารสกัดจากธรรมชาติ ปราศจากสารที่ทำให้เกิด
การระคายเคืองต่อผิว มีความปลอดภัยสูง ใช้ได้แม้ผู้ที่มีผิวบอบบางแพ้ง่าย (ไม่มีน้ำหอม ไม่มีสี ไม่มีส่วนประกอบของสารก่อมะเร็ง
ไมม่ ีปรอท ไมม่ ไี ฮโดรควโิ นน ไม่มี สเตยี รอยด์ และไม่มีกรดเรตโิ นอิก) เซร่มั เนอ้ื เข้มข้น สมั ผสั บางเบา เน้นการฟื้นบำรุงแก้ไขปัญหาผิว
เฉพาะจดุ โดยตรง สามารถซมึ สผู่ วิ ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ไดน้ ำเสนอ และถ่ายทอดเทคโนโลยี
จากโครงการวิจัย เรื่อง “การพัฒนาตำรับผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจาก
สารสกัดเห็ดฟีลลินุสอิกเนียเรียส”ให้กับบริษัท ฟิลลินุส กรุ๊ป จำกัด
ซึ่งเป็นบริษัทที่ทำธุรกิจประเภทดำเนินการผลิตและจำหน่ายเครื่องด่ืม
เวชภัณฑ์สมุนไพรเวชสำอาง อาหารเสริมสุขภาพและยารักษาโรค
ความสำเร็จของโครงการวิจัยนี้ คือ เกิดเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง
ทีมวิจัยที่อยู่ในภาคราชการและผู้ประกอบการที่เป็นบริษัทเอกชน
ที่ได้รับองค์ความรู้ที่สามารถนำไปพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจาก
สารสกัดเห็ดฟิลินุสนุสอิกเนียเรียส ที่มีคุณภาพเข้าเกณฑ์มาตรฐาน
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา จำนวน 1 ผลิตภัณฑ์ เพื่อดูแล
สุขภาพคนไทยและสามารถจัดจำหน่ายส่งออกไปยังต่างประเทศ
เพ่อื เพ่มิ มลู ค่าสนิ ค้าและนำเงินตราเข้าประเทศไดใ้ นอนาคต