The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ปัสสาวะ&อุจจาระ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wannisaongard, 2022-03-08 12:06:45

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ปัสสาวะ&อุจจาระ

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ปัสสาวะ&อุจจาระ

URINE ANALYSIS

SPECIMEN

COLLECTION AND

TRANSPORT IN


CLINICAL

LABORATORY

STOOL EXAM



หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของ การตรวจประเมินและการบำบัดโรคเบื้องต้น
(4072511) ตอนเรียน A4 ระดับอุดมศึกษาปีที่ 2 โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษา
หาความรู้เกี่ยวกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการ(Urine + Stool) โดยผู้จัดทำ ได้
ไปศึกษาค้นหว้าหาความรู้ เรียบเรียง จัดทำเป็นรูปเล่มฉบับนี้ขึ้นมา

ผู้จัดทำหวังว่ารายงานฉบับนี้คงมีประโยชน์ไม่มากก็น้อยสำหรับผู้ที่ต้องการ
จะศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ หากมีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย

คณะผู้จัดทำ



คำนำ


สารบัญ
1
2
การเก็บสิ่งส่งตรวจ
3
4
การตรวจปัสสาวะ
6
11

การเตรียมตัวก่อนตรวจปัสสาวะ 13
15

ขั้นตอนและวิธีการตรวจปัสสาวะ 16
20

การแปลผล

การตรวจอุจจาระ


การตรวจแบบพื้นฐาน


การตรวจอุจจาระแบบเฉพาะเจาะจง


ขั้นตอนและวิธีการตรวจอุจจาระ

อ้างอิง

1

การเก็บสิ่งส่งตรวจเป็นขั้นตอนที่สำคัญมากขั้นตอนหนึ่งในการตรวจวิเคราะห์ทางห้อง
ปฏิบัติการ ดังนั้นไม่ว่าจะมีเครื่องมือตรวจวิเคราะห์ดี ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยหรือมีผู้ตรวจ
วิเคราะห์ที่มีความเชี่ยวชาญมากเพียงใดก็ตาม ถ้าสิ่งส่งตรวจเก็บมาไม่ถูกต้องหรือไม่
เหมาะสมก็จะทำให้ผลตรวจวิเคราะห์ที่ได้ ผิดพลาดไม่มีความหมายเพราะไม่ได้สะท้อนถึง
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยจริงตามที่แพทย์ต้องการ มากกว่านั้นหากเเพทย์นำผล
ตรวจวิเคราะห์ที่ได้ไปใช้ อาจทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาผิดพลาดและอาจเกิด อันตราย
ร้ายแรงถึงแก่ชีวิตได้

2

การตรวจวิเคราะห์น้ำปัสสาวะเพื่อดูลักษณะทางกายภาพ สารเคมี
และตรวจทางกล้องจุลทรรศน์ เพื่อค้นหาความผิดปกติและประเมินความเสี่ยง
ในบางโรคเบื้องต้นจากน้ำปัสสาวะ

การตรวจปัสสาวะเป็นการตรวจทางห้องปฏิบัติการ จัดเป็นการตรวจ
พื้นฐานที่แพทย์นิยมใช้ เนื่องจากเป็นการตรวจที่ทำได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว
สามารถตรวจได้ทันทีในคนทุกเพศทุกวัย มีค่าใช้จ่ายในการตรวจที่ไม่แพง
และรู้ผลได้เร็วภายใน 1-2 ชั่วโมง การตรวจปัสสาวะสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
การทำหน้าที่ของไตและระบบปัสสาวะของผู้เข้ารับการตรวจได้หลายอย่าง
รวมทั้งอาจทำให้ทราบถึงความเจ็บป่วยบางอย่างในร่างกายของผู้เข้ารับการ
ตรวจจากการพิจารณาปริมาณสารเคมีต่าง ๆ ที่ขับออกมากับปัสสาวะ

3

แจ้งให้แพทย์หรือพยาบาลทราบก่อนการตรวจปัสสาวะหากมีการกินยาหรือวิตามิน

เสริมบางชนิด เช่น วิตามินบี, กลุ่มยาขับปัสสาวะ (Diuretics) ที่ใช้ลดความดันโลหิต,

กลุ่มยาปฏิชีวนะ (Erythromycin), ยาไรแฟมพิซิน (Rifampicin) ซึ่งเป็นยาปฏิชีวนะที่ใช้

รักษาวัณโรค, ยาฟินาโซไพริดีน (Phenazopyridine) ที่ใช้บรรเทาอาการปวดจากโรค

ระบบทางเดินปัสสาวะ, ยาแก้หวัดแก้ไข้ (วิตามินซีที่มีการกินคู่กับยาปฏิชีวนะ)

ผู้หญิงที่อยู่ในช่วงมีประจำเดือนหรือใกล้มีประจำเดือนควรเลื่อนการตรวจปัสสาวะออก

ไปก่อนจนกว่าประจำเดือนจะหมด เพราะการตรวจปัสสาวะในช่วงที่มีประจำเดือนจะมี

โอกาสสูงที่จะทำให้ผลการตรวจเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะพบสูงกว่าความเป็นจริงได้



ถ่ายปัสสาวะแรกของวันทิ้งไปก่อนเพราะมีความเข้มข้นของสารเคมีต่างๆมากกว่าปกติ
ผู้ที่ได้รับการตรวจเอ็กซเรย์ (X-ray) และได้รับสารสะท้อนรังสีหรือสารทึบรังสีเพื่อการ
ตรวจอวัยวะภายในบางจุดในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมายังไม่เกิน 3 วัน ควรหลีกเลี่ยงการ

ตรวจปัสสาวะ
ตรวจกคารลปาดล่เอคยลืท่ิอ้งนปัไสด้สาวะเพื่อการส่งตรวจวิเคราะห์ไว้นานกว่า 1 ชั่วโมง อาจทำให้ผลการ

ใตอตทโั้ดหยวราู้ย่ถวอยภ่ใใาจนยนาหั่ย้้ายขนซัผปึู้งใ่น้ัองเปนสขหัตา้สทสาจอม่สารอจนัาวบาปะยกัะวกมสถาชะีึา่สสงรไวราปเางปตกรวั็ทรรบส้คะอัาวสปดงยรจัาูหเสทเถกิวป่้็สลงิัาะบ่ดางไยทปปีจวท่ัป่ไะสัา)อมสกน่สเัปใส้พตัานช่สา่วรอจชวส่ะามะวะาะชลงน่ชวูปิว่แกัยะวงสรหมงกกสรแมใลวแาชรา้ามวลกปกงะัถะทสึปิใง้เชงสนม่นมืวไ่ืาชอเปอง่วปวเืทขส้กะ้อ่ง็อาวชบแน่ยนงวรปมผขัหูงก้สาเอกนจขึสด้งล่้ะงาาวลากมรวยำั่ีงบอโะปไอั(นกดไMส้กดาแ้สาตรiลdาส้ตาววsปมรจtะึวนปrงทeจีคเร่่ิอaปมือส้mออ่ายวกนณเนอมuขปทาrีาัอ่iสตกnง้(สอรทeเชะางืำ)้อปวกกใุะโานการใรเรกคนกแเ็าทกชลบีร็่้่บวตว
สิ่งกดไง็





4

1. เจ้าหน้าที่หรือพยาบาลจะให้กระปุกเก็บตัวอย่างปัสสาวะให้แก่ผู้เข้า

รับการตรวจ เพื่อให้นำไปเก็บตัวอย่างปัสสาวะในห้องสุขาด้วยตนเอง

(โดยทั่วไปจะเป็นกระปุกพลาสติกทรงปากกว้างขนาดเล็กที่มีฝาปิด) ที่

แห้งและสะอาด ผู้เข้ารดัีบอกย่าารใหต้รมีวสิจ่งคปวนรเรปัืก้อษนาใคดวๆามสะอาดของกระปุกให้

2. เมื่อได้รับกระปุกเก็บตัวอย่างปัสสาวะมาแล้ว อย่างแรกก็ต้องดูชื่อ

ตรงสติกเกอร์ที่ติดอยู่ข้างกระปุกด้วยว่าเป็นชื่อของท่านถูกต้องหรือไม่

รหอาแกลชืะ่อยัไงมไ่ตม่รไดง้ใทหำ้แกจา้งรเเจก้็าบหปนั้สาสทีา่เวพืะ่อเคปวลีร่ยเกน็บใหก้ถรูะกปตุ้กอเงกท็ับนปทัีสส(ใานวระะไหว้วก่ัาบงตทัีว่


ห้ามนำไปทิ้งไว้ในที่ต่าง ๆ เพราะกระปุกของตนเองอาจไปสลับกับผู้เข้า

รับการตรวจรายอื่นโดยไม่ตั้งใจได้)
ใรูผห3ขเูเ้้ชปหไ.อ็เิมดหดญเง่็มใใินตืข่หชงอ้้นทอใกแ่ถหงเอึร้หองทท้ปะ่ขงงััำอ้ดสดใน้คปหาสวัต้ควษสสายอาลวสะชกนมอะำอารกสวดราะพะาะะดแดรรอดซเล้า้เ้อสาวษกะีำ็ดยมยอบช(ุกบกนเจำ่ัตพ้อบัืรรจำ่ิวอเนสใะาอวชปะจร้ณ้ยแม่ออะาืาลรอกมางู้งเวกดอทาปปัี่ทัินทแกอสีดำ่ลขกบปสท้ใัะา่ารหาสอิ้งรซเวสคัวปทปบะัาวณำสนใวาผคหสูรเะมู้้ปเวาเแืไขส้ปา้วอปหิาะม้ดะนทรงอัสดทดบข้า่า้ะวอวงอกดยอทปยงาโักาสกดวรสดาาาตรยสรดรระรล้าใ้หควดววชาัย้ดจนาะงมันืบษจห)กอ้ะรำลชเขัิทส่ต้เำง่า้วะาจอรงณนอะางหั้กาลนรน้สึดอชา่่่งวแงบอถแนมล่งืาลใๆอะ
งนะ






กมน4สดปัั้ิั้5.ะบาลนสเน.ปอลสสใิิ่หตาใดลาว้ินดรวเนตฝอขวอะารใีาจอนชกก่กหดงวคขรูรกรคงะอรืัะแ้อรวปงงปุะรปากุกกกปมรรเุทมกกสะะิ็้าบมง)ะปุรลอาจตกอังณาาวแใงดกอลนคเ่บนกยะัโอ็่้ถบรนาจนิึเงสปงใว้กปัหววัสณ้ราสมถสะ่งรสไาาปกปอยาุวรกบวกปะ่ะเัขะอภจสทปี้อด่นุาาส้ปกงวหชสาลภ่ทยน่วีนว่อ้คาเะนะาปชยวชิทแห่ีดอนา่วลหนมฝอึะง่ะรงราทกบืป้อปแะิมารดพรวลยราั้ะฝงยวจใทิุอมหาไ้างว(ยใาบม้ไใ่หใ่ณาปน้าในเในลใรรหทีหี4้ชะย่้่นท-เิหีวบ้่ส5วปงวรรม่้ก็ลาวือจิอลงนอยทถาปดีาู่ิงกแเทภดกใีัขล็หฝย้บ้แอวาใไอลจบนดกึ้ยงะปกหร่น้าจะรรอึนำงะปะงหุำกปมสกุมุลยกืขาัุอบดแณาหเกลไนัขร้ัป้ื้้วน3นอาสลไ0ไ่ส้วงัาปแ้มใ-งลสหจ6ผ้มั้ัวืมา0กสอัใกผ

หใั
้สห



5

กใลผชู้โลปคการาสญะร)เทสซมึิำ่างนรงมรีาอผะนาลบหขกบอารรกงะไา(ทตรเชบเ่ผนต่าH(ครบฮหป
อHั---
ะอววสาใใใu
Cชชชทางราสm้้้์Gอมวตวนโบาิิมนนยaผร)วติิ่ิโน่วnาจจดะทอรีจงต่ฉฉปคพก่ััcทเกายยีชกค่าhบ่เงาคโนรตกวoรรใิิวทๆานใดคตrัโานมำi้จนoรตงโม่้นงดคาครnาัำ้รานกคุรปำคงiนนัcปโรโมวสัๆแขรลภสาะgส์ครอหสมขoเทิางนีงรตั่าอผ็nวข้สไงินว่สงดะตaอบงูะสงdปผงๆาจเตโoลชกงาร่รปชใtนตีกคจิrหนนท้oกทิาโมีดม่pาีากรส่งารคiฮงn
ใมเผอีน
บสลร
์าาโก
มหรdบ

นร่iรใือsอ
ชรo้มนปดr้ทdอีาร่ผตะeย่ลคอเrผิมิsตวมิด)นาตไป้หพรมน้กทาผยท่ิตกอดิาากมธป็ีงิ(ยปสEอ่กอภรnาติมิมจาdแาพกoณสำขcดลอrมัiงงnงาวม
่กeีา





พใชสบ้ไโคาปตรับมดค่กอโากคตรยิรรวคบถใอาตนาตัมปงงบเัรโดบสสืรัว้นสวโอคจร
นาโงเพคลรวตไื้้บเอดหะนบ้ิรคจตัางเาวสหชทูกา่ัง่นววมนา้ซไผึำโ่นปิงร

ทคี


ขปใใณชนเนป้บืวัรท้ะิสอ้นะฯปิอสงับจลงสตผาฉ้ิบฯวัสนดปยทะาปเวโเบพวารืกชด่่งะ่อคอตนหเิยหดหปทลิีัมัน่ราสเีองือกสอปสิาัปดกาาสกาเกวาขวสึหา้รดานะราตตรเุมแวิอคีปดะสเววลวเบืช
าใดือ้น
มอ






จใเชชสา้นตกพิดรโตลิวดเหจชใ่หะนนหาร่สสนาัาางกกรรพบาสิยาษางร


รตัเ่ทกใชา่ชาษงน้ตงาิๆทดโีโ่รรตดวีคค่าหาเแมเบรืปลผอ็านะลแหภไกยวป่าาลาใวรนงนะ

6

การแปลผลตรวจปัสสาวะ

การตรวจดูลักษณะทางกายภาพทั่วไป การตรวจดูลักษณะทาง

กายภาพ หรือการตรวจดูด้วยสายตา (Visual examination)

1 สีปัสสาวะ (Color) นอปั้ักอสเยสสหาบวรืจอะาสจกีาเสหกาลภืเอหาวงตุเะอขืข่้นมาด(นD้ำarหkรืyอeโlรlคoไwว)รัสอตาับจเอกัิกดเกสาบรดโื่รมคนต้ัำบ


ทปัาสนสวาิตวาะมสิีนเหแลลือะงอสาหว่าางรเ(สBริrมigมhาtกเyกิeนlกloว่wาท)ี่อร่าาจงกเกาิดยจต้าอกงกกาารร


ปวิัตสาสมิานวะหสีรืสอ้มเกิ(ดOจrาaกnกgาeร)กินอยาจาบเกิาดงจชานิกดกาเชร่นขายดานร้ัำกหษรืาอวั
ณโรค

ปปเชัั่สสนสสากาววาะระ,ตสภิีดแาเดวชืะ้งอฮีใ(โนRมรeโะกdบล)บบเิกทนิดาในงจเาปดักิสนกสปาัาสรวมสะีาเล(วืHอะeดมmปะนoเรใg็นงlกoปัรbสะiสnเาพuวาrะiะa

)

Gปปปััั6สสสPสสสDาาาวววทะะีะ่จหมสัีารกนืกอ้จำสมะตีาเมามีเ็อหลดาตเุ(กลตBื่าอาrรงดoเมแwๆ็ตดnเกเช)ล่ใืเนอกนิดดรใ่าแจนงตาคกกกนากงท่ยีาา่แเยรปลม็้ีนหวเลโถรืืูรออกคดกขขัปาบารนอดติใอเดนอกเน
ชมื้ไอาซใมน์



ปใเกันิสดกสจราาณวีกทะโี่รใไสมค่ไไไมดต้่ดมหืี่มสรืีอน้(โำCรมคoาเLกบoกา็rอจlืeาดจss
)
ป(Aัสlkสaาpวtะoสnีดuำria(B) lซึa่งcเkป็)นพโรบคไทด้าในงพโัรนคธุแกอรลรแมคที่ปพโบตไนดู้เไรีมย่บ
่อย
ปปััสสสสาาววะะมสัีกขเากิวดจ(Wากhกiาtรeต)ิดอเาชื้จอเใกนิดรจะาบกบกทารางมีเหดินนอปังสปสนาใวนะ

ป(Mัสeสtาhวyะleสีnน้eำเbงินlue(B),luอeะม)ิทอราิปจเไกทิดลีจนาก(Aยmาเiมtrทiิpลีtนyบlinลูe
)ฯลฯ

7

การแปลผลตรวจปัสสาวะ

การตรวจวิเคราะห์ทางเคมี

ซึ่งทางห้องปฏิบัติการส่วนใหญ่จะใช้แผ่นตรวจสำเร็จรูป (Test strip หรือ

Dipstick) โดยนำแผ่นตรวจที่เปลี่ยนสีแล้วมาอ่านผลด้วยเครื่องอ่านผลอัตโนมัติ ใน

การตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะโดยทั่วไปจะมีสารเคมีที่นิยมทำการตรวจและรายงาน


ㆍผลเพียงไม่กี่ตัว ดังนี้
ค่าความถ่วงจำเพาะ (Spec ific gravity หรือ Sp.Gr. หรือ SG) คือ ค่าความ

หนาแน่นของน้ำปัสสาวะเมื่อเปรียบเทียบกับน้ำบริสุทธิ์ในอัตราส่วนที่เท่ากัน โดย


ㆍค่าปกติจะอยู่ในช่วง 1.003 - 1.030
ค่าความถ่วงจำเพาะที่ ต่ำกว่าปกติอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น การดื่มน้ำ

มากเกินไป, โรคเบาจืด (Diabetes insipidus), โรคไตเรื้อรัง, การใช้ยาขับปัสสาวะ


ㆍ(Diuretic use)
ค่าความถ่วงจำเพาะที่สูงกว่าปกติอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น ภาวะขาดน้ำ

(Dehydration) การดื่มน้ำน้อย, ภาวะที่มีการสูญเสียน้ำเช่น อาเจียนรุนแรง หรือ


ㆍท้องร่วงท้องเสียรุนแรง โรคเบาหวาน
ค่าความเป็นกรด-ด่าง (PH) คือ การตรวจหาว่าตัวอย่างปัสสาวะนั้นมีความ

เป็นกรดหรือด่างมากน้อยเพียงใด โดยปกติจะมีค่าอยู่ในช่วง 4.6 - 8.0 (เฉลี่ยอยู่ที่


ㆍประมาณ 5.5 - 6.5 ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำที่ดื่ม ประเภทอาหาร และยาที่บริโภค)
ค่า pH ที่ต่ำกว่าปกติ (ปัสสาวะมีความเป็นกรดสูง) อาจเกิดได้จากการบริโภค

เนื้อสัตว์มากจนเกินไป, การดื่มแอลกอฮอล์มาก, การกินยาบางชนิด (กินยา


ㆍแอสไพรินเกินขนาด),โรคเบาหวานในระยะที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ , การติดเชื้อ
ค่า pH ที่สูงกว่าปกติ (ปัสสาวะมีความเป็นด่างสูง) อาจเกิดได้จากการกิน

อาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตต่ำและการกินผักมากๆ (รวมถึงการบริโภคอาหารอย่างผล

ไม้กลุ่มซิเตรตสูง เช่น ส้ม ส้มโอ มะนาว).การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ โรค

ท่อหน่วยไตมีความผิดปกติในการขับกรด (Renal tubular acidosis)

8

การแปลผลตรวจปัสสาวะ

การตรวจวิเคราะห์ทางเคมี

ㆍ คีโตน (Ke tone หรือ KET) หมายถึง สารคีโตนรั่วออกมาในปัสสาวะ ซึ่งเป็น


สารที่เกิดจากร่างกายเผาผลาญไขมันมาทำให้เกิดพลังงานแทนการใช้กลูโคส ถ้า


ㆍไม่มีกลูโคส ตับจะย่อยไขมันไปเป็นคีโตน
ภาวะปกติ คือ ต้องตรวจไม่พบสารคีโตนในปัสสาวะ (Negative) แต่การตรวจ


ㆍพบสารคีโตนในระดับสูง อาจเป็นเรื่องปกติสำหรับหญิงตั้งครรภ์บางคนได้
ภาวะผิดปกติ คือ พบสารโคนในปัสสาวะ (1+ เท่ากับมีแต่น้อย, 2+ เท่ากับมี

ปานกลาง, 3+ เท่ากับมีมาก) อาจแสดงว่าเกิดจากการอดหรือขาดอาหารจากโรค


ㆍคลั่งผอม (Anorexia nervosa), โรคพิษสุรา(AIcoholism)
ไนไตรท์ (Nitrites หรือ NIT) ปกติจะตรวจไม่พบสารไนไตรท์ในปัสสาวะ

(Negative) หากตรวจพบก็สามารถบ่งชี้ได้ว่าระบบทางเดินปัสสาวะกำลังเกิดการ

ติดเชื้อ (UTI) จากแบคทีเรียชนิดที่สามารถเปลี่ยนจากสารไตเตรตให้กลายเป็นสาร

ไนไตรท์ได้ เช่น อีโคไล (E. coli), โปรเตียส (Proteus)หรือไม่ก็อาจตรวจพบใน


ㆍกรณีเกิดเลือดออกในปัสสาวะขนาดหนักก็ได้
บิลิรูบิน (Bilirubin หรือ BIL) เป็นสารที่สร้างมาจากตับ โดยในคนปกตินั้นจะ

ตรวจไม่พบบิลิรูบินในปัสสาวะ
ตรวจพบบิลิรูบินในปัสสาวะ ซึ่งอาจบ่งชี้ได้ว่ามีภาวะตับอักเสบ หรือมีภาวะอุดกั้น


ㆍของทางเดินน้ำดีเกิดขึ้น
ยูโรบิลิโนเจน (Urobilinogen หรือ UBG) เมื่อบิลิรูบินถูกขับออกมาทางเดิน

อาหาร จะถูกแบคทีเรียในลำไส้เปลี่ยนเป็นสารยูโรบิลิโนเจน คนทั่วไปจะสามารถ

ตรวจพบยูโรบิลิโนเจนในปัสสาวะในระดับต่ำ ๆ ได้เป็นปกติ
ถ้าตรวจพบสารยูโรบิลิโนเจนในปัสสาวะสูงขึ้น เกิดจากภาวะที่เกิดการทำลายของ

เนื้อตับ (Hepatic disease) เช่น ตับแข็ง (Cirrhosis), ตับอักเสบจากไวรัส (Viral

hepatitis)

9

การแปลผลตรวจปัสสาวะ

การตรวจวิเคราะห์ผ่านกล้องจุลทรรศน์

ㆍเม็ดเลือดขาว (White blood cell หรือ WBC)
-ภาวะปกติ คือ ตรวจไม่พบเซลล์เม็ดเลือดขาว (Negative) หรือตรวจพบได้ไม่เกิน

2 ตัวในผู้ชาย และไม่เกิน 5 ตัวในผู้หญิง
-ภาวะผิดปกติ จะบ่งชี้ถึงภาวะมีเม็ดเลือดขาวในปัสสาวะ (Leukocyturia) ส่วนใหญ่

มักจะสัมพันธ์กับการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ (UTI) เช่นกระเพาะปัสสาวะ

อักเสบ กรวยไตอักเสบ หรืออาจเกิดจากการมีนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
•เม็ดเลือดแดง (Red blood cell หรือ RBC) คือการตรวจหาปฏิกิริยาเพอร์ออกซิเดส

ของเม็ดเลือดแดง และสารไมโอโกลบินในกล้ามเนื้อก็สามารถทำ

-ภาวะปกติ คือ ตรวจไม่พบเซลล์เม็ดเลือดแดง หรือตรวจพบได้ไม่เกิน 2 ตัวต่อการ

ส่องกล้องจุลทรรศน์ตรวจหนึ่งครั้ง(HPF)

-ภาวะผิดปกติ คือ ตรวจพบเซลล์เม็ดเลือดแดง < 3 cells/HPF จากการตรวจ

ปัสสาวะซ้ำอย่างน้อย 2 ใน 3 ครั้ง จึงจะบ่งชี้ว่ามีเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ (He

maturia) ซึ่งจะบ่งชี้ถึงสาเหตุที่มาจากความผิดปกติที่หน่วยไต (Glomerular causes)
• แบคทีเรีย (Bac teria), ยีสต์ (Yeast) และปรสิต (Parasite โดยปกติจะตรวจไม่พบ

ถ้ามีการเก็บปัสสาวะอย่างถูกต้องและไม่มีการปนเปื้อน แต่หากเก็บปัสสาวะไม่ถูกต้อง

ก็อาจพบมีการปนเปื้อนของแบคทีเรีย ยีสต์ หรือปรสิต จากผิวหนังและสารคัดหลั่งจาก

ช่องคลอดปนเปื้อนได้

-ภาวะผิดปกติ บ่งบอกถึงการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ (UTI) ซึ่งหากไม่ได้

รับกรรักษาก็อาจทำให้เกิดการติดเชื้อย้อนกลับไปเป็นการติดเชื้อที่ไตกลายเป็นภาวะ

กรวยไตอักเสบ (Pyelonephritis) ได้
•คาสท์ (Casts) คือ คราบของโปรตีนหรือสารผิดปกติต่าง ๆ ที่มีอยู่ในปัสสาวะ เป็นตัว

ที่แสดงถึงความผิดปกติในการทำงานของไต ตามปกติแล้วไม่ควรจะตรวจพบใน

ปัสสาวะ แต่หากตรวจพบก็อาจแสดงว่าท่อหรือกรวยเล็ก ๆ ของไตกำลังเกิดความเสีย

หายหรืออักเสบ

10

การแปลผลตรวจปัสสาวะ

การตรวจวิเคราะห์ผ่านกล้องจุลทรรศน์

•ผลึก (Crystal) สารเคมีที่ละลายอยู่ตกผลึกเกิดเป็นผลึกในปัสสาวะ
-ภาวะผิดปกติ คือ ตรวจพบผลึกต่าง ๆ โดยผลึกจะแบ่งเป็นชนิดที่พบได้ปกติและ


ไม่ปกติในน้ำปัสสาวะ สำหรับผลึกของสารเคมีที่ปกติจะพบได้ในปัสสาวะนั้น พบใน

ปริมาณมาก ๆ ก็อาจสัมพันธ์กับความผิดปกติบางอย่างได้ เช่น Uric acid crystal โรค

เกาต์หรือกลุ่มอาการเนื่องจากก้อนมะเร็งสูญสลาย (Tumor lysis syndrome),

Calcium oxalate crystal ภาวะไตเสียหาย หากเกิดการตกผลึกในร่างกายจำนวน

มากและนานเพียงพอ มันจะรวมตัวกันเป็นก้อนนิ่วอยู่ในไตหรือท่อไต หากมีขนาดใหญ่

ก็จะทำให้มีอาการปวดและพบภาวะมีเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ (Hematuria)
•เซลล์เยื่อบุ (Epithelial cell) มักพบในตัวอย่างปัสสาวะได้เป็นปกติอยู่แล้ว แต่เซลล์

เยื่อบุที่ต่างชนิดจะบ่งบอกข้อมูลที่แตกต่างกัน โดยแบ่งเป็น
•เซลล์เยื่อชนิดสแควมัส (Squamous epithelial cell หรือ Squamous cell) เป็น

เซลล์เยื่อบุส่วนท่อปัสสาวะส่วนนอก หากพบในปริมาณมาก เช่น 15 – 20 cells

/HPF ขึ้นไป ก็จะบ่งบอกว่าตัวอย่างปัสสาวะนั้นมีการปนเปื้อน ซึ่งอาจเกิดจากการแตะ

ต้องถ้วยรองน้ำปัสสาวะหรือถ้วยรองน้ำปัสสาวะสัมผัสกับนิ้วมือของผู้รับการตรวจจาก

ความประมาท
•เซลล์เยื่อบุชนิดรีนัลทิวบูล (Renal tubule cell) เป็นเซลล์เยื่อบุท่อหน่วยไต โดยปกติ

จะต้องไม่พบในปัสสาวะ หากพบมักแสดงถึงความผิดปกติของโรคไต
•เซลล์เยื่อบุชนิดทรานซิเชินนัล (Transitional epithelial cell หรือ Transitional

cell) เป็นเซลล์เยื่อบุส่วนกระเพาะปัสสาวะ
•เมือก (Mucus) ในตัวอย่างปัสสาวะปกติสามารถพบเมือก (Mucus) ได้ โดยอาจเป็น

เมือกที่ขับออกมาตามปกติจากท่อปัสสาวะหรือกระเพาะปัสสาวะ ในผู้หญิงอาจปน

เปื้อนมาจากช่องคลอดหรือปากมดลูก ส่วนในกรณีที่มีการอักเสบหรือการติดเชื้อของ

ทางเดินปัสสาวะก็อาจทำให้พบเมือกในปัสสาวะเพิ่มขึ้นได้เช่นกัน

11

การตรวจสุขภาพพื้นฐานอย่างหนึ่งที่ช่วยให้แพทย์วินิจฉัยความผิดปกติหรือโรคพื้น
ฐานในระบบทางเดินอาหารได้มากมาย เช่น โรคพยาธิต่าง ๆ ของระบบทางดินอาหาร
การมีแผลในระบบทางเดินอาหาร ฯลฯ โดยการตรวจอุจจาระนั้นจะแบ่งเป็นการตรวจดู
ลักษณะของอุจจาระด้วยตาเปล่า การส่องตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ และการตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ

12

ข้อบ่งชี้ของการตรวจอุจจาระ

อเอุปาจ็นหจกาารารระ(ตมเีชรไ่นขวจมัอสนุาขปจภนมีามไพขา่ปพกรยะาจธิำ) ปแีเลพืะ่อตดรูสวุขจภคาวพามทั่ผวิดไปปขกอตงอืร่นะบๆบ(ทเชา่นงเ
ดิน

สมตูารกมวเลจาือรเมถืด่อวิอมนุีิจอจจาฉัากยราโะรรเผคปิ็ดไนดป้นก้ำติอใุนจกจาารรอะุจเปจ็นารก้ะอนเช่ทนั้งอนีุ้จเพจื่อารช่ะวเยป็ในห้เแลืพอทดยห์
รือมี

ต(โCรรคoวทwจี่เหกีmา่ยคiวlวkข้าอaมงlผlกิัeดบrปgกกyา)ตริยขอ่ออากยงกาแราลทระ้ยอก่องาเยรสอีดยูาดเหรซื้ึอามรรอัเงพาื่หอาวิรนิจเชฉ่ันยหภาาสวาะเแหพตุ้นขมอวงั



ตป่รววยจทีห่มีาภภาาววะะซมีดีเโลืดอยดหอาอสกาใเนหรตุะไบม่บไดท้ างเดินอาหาร เช่น ในกรณีของผู้


ตรวจคัดกรองหาแผลหรือโรคมะเร็งในระบบทางเดินอาหาร
ใตนรรวะจบในบกทราณงีเทดี่ิแนพอทาหย์าสรงสัยว่าผู้ป่วยอาจมีพยาธิหรือไข่พยาธิ


ทตราวงเจดหินาอชานิหดาขรอว่งาเเชปื้็อนโเรชืค้อเชมื่นอิดผู้ใป่ดวยมีการติดเชื้อในระบบ

13

การตรวจอุจจาระ

1.การตรวจอุจจาระแบบพื้นฐาน
การตรวจทางกายภาพ (Physical examination)
1.ลักษณะของอุจจาระ (Consistency)

อุจจาระแยกออก
อุจจาระเป็นก้อนยาว

มาเป็นก้อนแข็งๆ ผิวขรุขระมาก

อทท้า้ออหงงาผผูรูกกทีม่ดมืเา่ีพมกกนรา้มากำัะนกใ้ยรจอับนะย้ปอพยรบะเใกทนินาคไนนป


ขัมขบักอถ่จงาะเยสพีย2บค-้ใ3าขน้งาวคอังนนนยูค่ทใา้นรันอ้งลงำจผึูไงกสท้มคีำ่กอใาหน้รม




อุจจาระเป็นก้อน
อุจจาระลักษณะ

ยาว ผิวจะมีรอย
คล้ายกล้วยหอม

แยกเล็กน้อย เอปนุ็ิจ่นมจทาเรปร็เงะนกยทณอีาุ่สจวฑม์พจืท้บีานู่ดรรีผะมิณว์ทาีเแ่กรดีีบยอบบยมอู่่ใาอนกน



หนอทแุ่อจตร่ยจงคยาวถราืรอะวดืวปพ่่ืม้ากนนอต้มิยำีู่รเใอพอุนิจ่มยเจกแมาณยารกกะฑ์ขนเึปิ้ปนด็กน


อุจจาระเริ่มเหลว

แต่ยังเป็นแบบกึ่ง

อุจจาระเป็นแตกๆ

แต่ยังเป็นชิ้นอยู่ แข็งกึ่งเหลว

อยู่ในรับเกปปณรระะฑโ์ทยปาชกนนต์ิอมคาาหวกราขึปร้นทรีั่บมี
การ
ทค้อนงกทรีา่่วทร้งรอัเบงล็เปกสีนรย้ะอทคยวามรนัรกอะจาวหะังพาเรรบื่อใงน



อุจจาระเหลวเป็นน้ำ

กทกาั้นอรตนงิเดาสีนเยชืๆ้รอุคนใวนแรรลไงำปไมพสั้กบหจแะาพกพทอบุยจ์ใเจนพืาค่อรนตะทแรี่ทวบ้จอบสงุนีเข้สตภีิยดาตพม่ีอ

14

การตรวจอุจจาระ

1.การตรวจอุจจาระแบบพื้นฐาน
2ก.าสรีขตอรงวอจุจทจาางรกะาย(Cภoาพlor(P) hysical examination)


สอีาน้หำาตราทลี่กิ(นBเrข้oาwไปn)แลแะต่ชสีนอิดาจขแอต
งยกาต่ทาี่งกิกนันไปได้อันเนื่องมาจาก


ปอุจลจายารหะรสืีอแเดกิงดจ(Rากeกdา)รมกีิเนลืออาดหอาอ
รกจใำนพรวะกบเบนื้ทอวาัวงเใดนินปอริามหาาณรมส่าวกน


อตุ้นจจหารรือะเสกีิดดำเนื(่อBงlaจcาkก)กามีรเลกืิอนดเอช่อ
นกธในาตรุะเหบลบ็กทชางาเรด์โินคลอาหารส่วน


อหุจรือจเากริดะจสีาเขกีอยาวก(าGรrท้eอeงnเส)ียกอินย่ผาักง
รทุี่นมีแสีรเงขียวหรือมีคลอโรฟิลล์สูง



อุจจาระสีขาว (White) กินแบเ
รียมหรือกินยาลดกรด


อถิุ่นจจในาลรำะไสีสเ้หหรลืืออกงา(รYกิeนlยloาwปฏ)ิชเีดว็กน
ทะารกที่ขาดแบคทีเรียประจำ


3.มูกหรือเยื่อเมือก (Mucus) ปกติจะไม่พบหรือพบ

ได้น้อยมากในระบบทางเดินอาหาร

4.เลือด (Blood) ปกติจะไม่พบ ถ้ามีเลือดออกมาปนกับอุจจาระเกินกว่า 3

มิลลิลิตร ภายใน 24 ชั่วโมงแล้ว ก็แสดงว่ามีโรคในระบบทางเดินอาหาร โดยเลือด

ที่ออกมาจากระบบทางเดินอาหารส่วนบนตั้งแต่ปากถึงกระเพาะอาหาร เม็ดเลือด

แดงจะถูกย่อยในกระเพาะอาหารเปลี่ยนเป็นฮีโมโกลบิน เป็นฮีม และโกลบิน ส่วน

เลือดที่ออกในระบบทางเดินอาหารส่วนล่างตั้งแต่ลำไส้เล็กส่วนต้นไปจนถึงรูทวาร

หนักมักจะพบเม็ดเลือดออกมาด้วย

15

การส่องตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ (Microscopic examination)
เป็นการตรวจหาไข่พยาธิ ตัวอ่อนพยาธิ

รวมทั้งหาโปรโตซัว เม็ดเลือดขาว และ

เม็ดเลือดแดงในบางโรงพยาบาลอาจให้

บริการตรวจค่าความเป็นกรดหรือด่าง

ของอุจจาระ (ค่า pH)

2.การตรวจอุจจาระแบบเฉพาะเจาะจง
(Comprehensive digestive stool analysis : CDSA)

คือ การตรวจที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น บางการตรวจจะมีการ

ตรวจเตรียมตัวก่อนตรวจที่แตกต่างกันไป (ปกติแพทย์และพยาบาล

จะเป็นผู้อธิบายการเตรียมตัวนั้น ๆ ให้ผู้ป่วยทราบ) เช่น การหยุดกิน

ยาบางชนิด โดยการตรวจอุจจาระแบบเฉพาะเจาะจงมีดังนี้

การตรวจเลือดในอุจจาระขั้นละเอียด (Stool guaiac test)

เป็นการตรวจเพื่อช่วยคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
การเพาะเชื้อเพื่อให้ทราบว่าการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารนั้น

เกิดจากชนิดใด เช่น เชื้อโรคบิด เชื้อโรคไทฟอยด์

การตรวจหาปริมาณของไขมันทั้งหมดในอุจจาระเพื่อช่วยวินิจฉัยภาวะ

ความผิดปกติในการดุดซึมอาหาร (Malabsorption syndrome)
การตรวจหาน้ำย่อยหรือเอนไซม์ในการย่อยอาหารต่าง ๆ เพื่อดูว่าการ

ย่อยอาหารที่ผิดปกตินั้นเกิดจากเอนไซม์ตัวใด

16

ขั้นตอนและการเตรียมตัวก่อนตรวจอุจจาระ

การตรวจอุจจาระแบบพื้นฐาน โดยทั่วไปไม่ต้องมีการเตรียมตัวล่วงหน้า เพียง

แต่เก็บอุจจาระที่ถ่ายตามปกติใส่ภาชนะและนำส่งห้องตรวจ ห้องปฏิบัติการ หรือ

แผนกตรวจสุขภาพเท่านั้น ส่วนการตรวจแบบเฉพาะเจาะจงอาจมีการเตรียมตัวบ้าง

ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการกินยาหรืออาหารบางชนิดที่อาจทำให้ผลตรวจผิดพลาดได้

ซึ่งแพทย์และพยาบาลจะเป็นผู้อธิบายการเตรียมตัวสำหรับการตรวจนั้น ๆ ให้ผู้ป่วย

ทราบ โดยจะมีขั้นตอนดังนี้
1. ปรึกษาหรือพบกับแพทย์ก่อนการตรวจอุจจาระ แพทย์หรือ

พยาบาลจะให้ภาชนะและอุปกรณ์สำหรับเก็บอุจจาระ ถ้าต้องมี

การงดอาหารและ/หรือยาบางชนิดก็ให้ปฏิบัติตามที่แพทย์

พยาบาลแนะนำ นอกจากนั้นก็จะเป็นการเก็บอุจจาระที่ถ่ายตาม

ปกติของเราใส่ในภาชนะที่ทางโรงพยาบาลเตรียมไว้ให้ แล้วจึง

นำไปส่งห้องตรวจหรือห้องปฏิบัติการ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ถ้าเป็นไปได้ควรหลีกเลี่ยงการกินยาที่จะส่งผลต่อตัวอย่างอุจจาระ เช่น

ยาลดกรด(Antacid), ยาแก้ท้องเสียเคาเพกเทต (Kaopectate) ฯลฯ
ถ้าต้องกลืนแป้งแบเรียมเพื่อการตรวจพิเศษทางรังสีของหลอดอาหาร

(Barium swallow) ผู้ตรวจควรเลื่อนการเก็บตัวอย่างอุจจาระออกไป

ก่อน

17

2. ก่อนการเก็บตัวอย่างอุจจาระ ควรปัสสาวะทิ้งไปก่อนให้เรียบร้อยเพื่อป้องกัน

การปนเปื้อนของปัสสาวะที่อาจส่งผลให้การตรวจอุจจาระนั้นผิดพลาดได้
3. ล้างมือให้สะอาดก่อนเก็บเนื่องจากอุจจาระอาจเป็นแหล่งแพร่กระจายของ

เชื้อโรคได้ และใส่ถุงมือยางเพื่อป้องกันอุจจาระเปื้อนมือ

4. เตรียมที่ป้ายอุจจาระ (ควรจะเป็นไม้แผ่นเล็ก ๆ หรือช้อนพลาสติกที่ใช้ครั้ง

เดียวแล้วทิ้ง) และภาชนะที่เก็บอุจจาระที่ทางโรงพยาบาลเตรียมไว้ให้ (หากไม่มี

ควรเลือกภาชนะที่แห้ง สะอาด ปากกว้าง ล้างให้สะอาดและแห้ง)
5. ถ่ายอุจจาระลงในถุงพลาสติกปากกว้างที่แห้งและสะอาด หรือ

อาจใช้พลาสติกสำหรับห่อหุ้มวางพาดโถส้วมเพื่อไม่ให้อุจจาระ

ตกลงน้ำ
บขก6.านริรเาวจตดณารนกิว้ทวีนจ่ัมห้นีัสวใีแแห้ตมใ่ชกม้ืไตอ่มา้หโงดกรัืยอนใชหห้้อรกืนอรเพะลืจลอาากยสจเุตกดิ็กบทีป่ใม้ีหาค้ยทวัอ่วุาจกม้จอผาินดรอปะุจเกกจ็ตบิาใรเพสะื่่ภแอาลเพชิะ่มเนลคืะอใวกหา้เไมกด็แ้บปมอ่รุนจะขจมอาารงณะผ
ใลน

18

7. ปิดฝาที่เก็บอุจจาระให้สนิท เช็ดภาชนะที่บรรจุอุจจาระให้สะอาด

8. ถอดถุงมือ และทิ้งถุงมือรวมทั้งที่ป้ายอุจจาระลงในถุงพลาสติก

ปิดปากถุงให้แน่น และนำไปทิ้งในถังขยะสำหรับสิ่งติดเชื้อ แล้วล้างมือ

ให้สะอาดด้วยน้ำกับสบู่
9. เขียนชื่อนามสกุล วันที่ เวลาในการเก็บ เลขประจำตัวผู้ป่วย (HN)

และวันเดือนปีเกิด (ถ้ามี) ให้ถูกต้องชัดเจนบนภาชนะเก็บอุจจาระ (ถ้า

ไม่มีอาจเขียนใส่สติกเกอร์และแปะไว้ข้างภาชนะเก็บ หรือเขียนลงบน

กระดาษเพื่อแนบส่งกับตัวอย่างอุจจาระ)
10. เก็บภาชนะที่ใส่อุจจาระในถุงพลาสติก 2 ชั้น ปิดปากถุงทีละ

ชั้นให้แน่นเรียบร้อย แล้วจึงนำส่งเจ้าหน้าที่ห้องตรวจทันที แต่ถ้าไม่

สามารถทำได้ก็ควรนำตัวอย่างอุจจาระไปเก็บไว้ในตู้เย็นที่ไม่ใช่ช่อง

เก็บน้ำดื่มและอาหาร (ไม่ควรเก็บนานเกิน 24 ชั่วโมง เพราะ

แบคทีเรียในอุจจาระจะเติบโตและเปลี่ยนแปลง และปกติแล้วแพทย์

พยาบาลจะแนะนำให้ส่งตัวอย่างภายใน 2 ชั่วโมง หรือไม่ควรเกิน 4

ชั่วโมง เพื่อความแม่นยำของผลตรวจ)

19

11. เมื่อห้องปฏิบัติการได้ตรวจอุจจาระเสร็จแล้วจะทำการส่งผล

ตรวจให้ผู้ป่วย (ผู้ป่วยสามารถทราบผลได้เอง) หรือส่งให้แพทย์หรือ

พยาบาลแปลผลให้ผู้ป่วยทราบ (ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระบบของแต่ละโรง

พยาบาล)

12. ในการแปลผลตรวจนั้นจะดูจากลักษณะภายนอกของอุจจาระว่า

เป็นก้อนแข็งปกติ มีมูกเลือด หรือมีสีปกติหรือไม่, ดูจากการมีเม็ดเลือดที่

จะช่วยบอกถึงการติดเชื้อ, ดูจากเม็ดเลือดแดงและการตรวจเลือดปนใน

อุจจาระที่จะช่วยบอกภาวะมีเลือดออกในอวัยวะระบบทางเดินอาหาร, ดู

จากพยาธิและไข่พยาธิ, ดูจากค่าความเป็นกรดหรือด่างของอุจจาระ

13. ระยะเวลาตั้งแต่รับสิ่งส่งตรวจจนถึงรายงานผลปกติจะใช้เวลา

ประมาณ 2 ชั่วโมง (แต่ส่วนใหญ่จะทราบผลหลังจากนั้นภายใน 24

ชั่วโมง) หรือภายใน 2-3 วันถ้าเป็นโรงพยาบาลที่มีจำนวนผู้ป่วยต่อ

เจ้าหน้าที่ห้องตรวจที่น้อย

20

อ้างอิง

MedThai.( 2561).การตรวจปัสสาวะ (Urinalysis หรือ Urine analysis
:UA) มีประโยชน์อย่างไร.สืบค้น 12กุมภาพันธ์ 2565, จาก www.medthai.com

นพ.วิวัฒน์เอกบูรณะวัฒน์.(2560).การแปลผลการตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะ
(UrineAnalysis).สืบค้น12กุมภาพันธ์2565,จาก www.summacheeva.org

MedThai.(2561).การตรวจอุจจาระ (Stool Examination) ประโยชน์,
วิธีเก็บอุจจาระส่งตรวจ ฯลฯ.สืบค้น 12กุมภาพันธ์ 2565,จาก www.medthai.com

ศูนย์ส่องกล้องทางเดินอาหารและโรคตับ โรงพยาบาลพญาไท 3.(2562).
สืบค้น 12กุมภาพันธ์ 2565, จาก www.phyathai3hospital.com

สมาชิก

1.นางสาว รุ่งอรุณ เจริญช่าง รหัสนักศึกษา 6311056605008
2.นางสาว ศศิวรรณ อินทร์ฉาย รหัสนักศึกษา 6311056605020
3.นางสาว กฤษณา เจริญภูมิ รหัสนักศึกษา 6311056605023
4.นางสาว สิริพรรณภา ศรีธรรม รหัสนักศึกษา 6311056605027
5.นางสาว กนกณัฐ เผ่นโผน รหัสนักศึกษา 6311056605028
6.นางสาว วรรณนิสา องอาจ รหัสนักศึกษา 6311056605040

สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย




Click to View FlipBook Version