The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kaew Kaew, 2020-07-09 05:12:37

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2550

พ.ร.บ.2550

Keywords: พ.ร.บ.

เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๖๘ ก หนา ๔ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกิจจานุเบกษา

พระราชบัญญัติ

มหาวิทยาลยั มหดิ ล
พ.ศ. ๒๕๕๐

ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร.

ใหไ ว ณ วนั ท่ี ๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๐
เปนปท ี่ ๖๒ ในรชั กาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหป ระกาศวา

โดยท่ีเปนการสมควรปรบั ปรงุ กฎหมายวาดว ยมหาวทิ ยาลยั มหิดล
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภานิตบิ ญั ญตั ิแหง ชาติ ดงั ตอ ไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญตั ินเ้ี รยี กวา “พระราชบัญญตั ิมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตน ไป
มาตรา ๓ ใหย กเลกิ
(๑) พระราชบัญญตั ิมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล พ.ศ. ๒๕๓๐
(๒) พระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลัยมหดิ ล (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑
มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัตนิ ี้
“มหาวิทยาลัย” หมายความวา มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล
“สภามหาวิทยาลัย” หมายความวา สภามหาวิทยาลยั มหิดล

เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๖๘ ก หนา ๕ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกจิ จานเุ บกษา

“วทิ ยาเขต” หมายความวา สว นงานของมหาวิทยาลยั ที่ต้ังอยูใ นเขตทองท่ีตามที่สภามหาวิทยาลัย
กําหนด

“สว นงานท่ีเรียกชอ่ื อยา งอืน่ ” หมายความวา สวนงานทีเ่ รียกชื่ออยา งอื่นที่มีฐานะเทยี บเทา คณะ
“สภาคณาจารย” หมายความวา สภาคณาจารยม หาวิทยาลัยมหดิ ล
“พนักงานมหาวิทยาลัย” หมายความวา พนกั งานมหาวทิ ยาลัยมหิดล
“ผปู ฏิบัตงิ านในมหาวิทยาลัย” หมายความวา พนักงานมหาวิทยาลัยมหิดล ขาราชการและลูกจาง
ของสว นราชการซ่งึ สังกัดมหาวทิ ยาลยั มหิดล พนักงานซงึ่ จางจากเงินรายไดของมหาวิทยาลัยและพนักงาน
ซง่ึ จางโดยเงนิ อดุ หนนุ จากองคก รภายนอกมหาวิทยาลยั
“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผรู กั ษาการตามพระราชบัญญตั นิ ้ี
มาตรา ๕ ใหมหาวิทยาลัยมหิดลตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๓๐
เปนมหาวทิ ยาลยั มหดิ ลตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ และเปน นติ บิ คุ คล
มหาวิทยาลัยมหิดลมีฐานะเปนหนวยงานในกํากับของรัฐ ซึ่งไมเปนสวนราชการตามกฎหมาย
วาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน กฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการและ
กฎหมายวาดวยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และไมเปนรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการ
งบประมาณและกฎหมายอนื่
มาตรา ๖ ใหร ฐั มนตรวี าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญตั นิ ้ี

หมวด ๑
บททั่วไป

มาตรา ๗ มหาวิทยาลัยเปนสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา
โปรดกระหมอม พระราชทานพระนามาภิไธย ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
ใหเ ปนนามของมหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงคในการสราง พัฒนา ประมวล และประยุกตองคความรูทั้งมวล
และดําเนนิ การใหม ีการเรียนรูในองคความรูดังกลาว รวมตลอดท้ังเผยแพรความรู สงเสริม ปองกันและ
รกั ษาสุขภาพอนามัย ทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ส่ิงแวดลอม และการกีฬา ท้ังน้ี เพื่อใหเกิด
ประโยชนตอสังคมเปน สว นรวม

มาตรา ๘ เพ่อื ใหบรรลุวัตถุประสงคตามมาตรา ๗ มหาวิทยาลยั มีภาระหนาที่ดังตอ ไปนี้

เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๖๘ ก หนา ๖ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐
ราชกิจจานุเบกษา

(๑) ทําการวิจัย รวมตลอดทั้งสงเสริม และสนับสนุนใหทําการวิจัย เพื่อสรางหรือพัฒนาองค
ความรโู ดยกระทาํ อยางตอ เน่อื ง และนําความรนู ัน้ ไปใชเ พ่อื ประโยชนในการพฒั นาประเทศและสังคมและ
กอ ใหเกดิ ประโยชนแ กม หาวิทยาลัย

(๒) ผลิตบัณฑิตใหสอดคลองกับแผนการศึกษาแหงชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ โดยมงุ เนน ใหบ ัณฑิตมคี วามรู ความสามารถในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสํานึกตอสังคม
และมีความใฝรูและเรียนรูดว ยตนเอง

(๓) สง เสรมิ ประยุกต และพฒั นาวิชาการและวิชาชีพชัน้ สงู
(๔) ใหบริการทางการแพทย การพยาบาล การสาธารณสุข และการบริการทางวิชาการและ
วชิ าชพี ใหเปนทย่ี อมรบั ในประเทศ และในระดบั นานาชาติ
(๕) ทําการวจิ ยั และพฒั นาเพื่อปรับปรงุ กระบวนการเรียนรูอยา งตอเนื่อง
(๖) สนับสนุนและสงเสริมใหบุคลากรของสถาบันอื่น เขารวมในการสรางและพัฒนา
องคค วามรแู ละเขารับการถายทอดองคความรู
(๗) รวมมอื กบั สถาบันอนื่ ทง้ั ในและตางประเทศ เพ่อื ดาํ เนินการตาม (๑) ถึง (๖)
(๘) สงเสริมและทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม รวมทั้งบํารุงรักษาและใชประโยชน
จากส่งิ แวดลอ มและทรพั ยากรธรรมชาติอยา งสมดุลยง่ั ยืน
มาตรา ๙ ในการดําเนินการเพื่อบรรลุวัตถุประสงคตามมาตรา ๗ และภาระหนาที่
ตามมาตรา ๘ ใหมหาวทิ ยาลยั คํานงึ ถงึ
(๑) ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา
(๒) ความเปนเลิศทางวิชาการ ความมีเสรีภาพทางวิชาการ มาตรฐานและคุณภาพทางวิชาการ
อนั เปนทย่ี อมรับในระดับนานาชาติ
(๓) ความมีคุณธรรมและจรยิ ธรรม
(๔) ความโปรง ใสและความรับผิดชอบตอรัฐและสังคม
(๕) ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลในการจัดการบริหาร
(๖) การบริหารแบบมีสวนรว มของบคุ ลากร
มาตรา ๑๐ มหาวทิ ยาลัยอาจแบง สว นงาน ดังนี้
(๑) สํานกั งานสภามหาวทิ ยาลยั
(๒) สํานกั งานอธิการบดี

เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๖๘ ก หนา ๗ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐
ราชกิจจานเุ บกษา

(๓) วิทยาเขต
(๔) คณะ
มหาวิทยาลัยอาจใหมีสวนงานท่ีเรียกช่ืออยางอ่ืนเพ่ือดําเนินการตามวัตถุประสงคในมาตรา ๗
เปน สวนงานในมหาวทิ ยาลัยอีกได
สํานักงานอธิการบดี มีหนาที่จัดการงานบริหารท่ัวไปของมหาวิทยาลัย หรือตามท่ีสภา
มหาวิทยาลัยมอบหมาย
คณะ มีหนาที่จัดการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต และบัณฑิตศึกษา ทําการวิจัยนําผลการวิจัย
ไปใชป ระโยชน และใหบ ริการทางวชิ าการ
สํานักงานสภามหาวิทยาลัย สํานักงานอธิการบดี วิทยาเขต คณะ และสวนงานที่เรียกช่ือ
อยางอ่ืน อาจแบง สว นงานเปน หนวยงานภายในของสว นงานนน้ั ได
มาตรา ๑๑ การจดั ตง้ั การรวม หรือการยบุ เลกิ สวนงานตามมาตรา ๑๐ วรรคหน่ึงและวรรคสอง
ใหทําเปน ประกาศของมหาวิทยาลยั และประกาศในราชกจิ จานุเบกษา
การแบง และการปรบั ปรุงหนว ยงานในสวนงานตามมาตรา ๑๐ วรรคหา ใหทําเปนประกาศของ
มหาวิทยาลยั
การดําเนินการตามมาตราน้ี ตองคํานึงถึงคุณภาพทางวิชาการ การประหยัดงบประมาณ
การลดความซํ้าซอน และการเพิม่ ประสิทธภิ าพในการบรหิ ารเปน สําคญั
มาตรา ๑๒ ภายใตวัตถุประสงคตามมาตรา ๗ มหาวิทยาลัยจะรับสถานศึกษาชั้นสูง
หรอื สถาบนั อื่นเขาสมทบในมหาวิทยาลยั ก็ได และมอี ํานาจใหปริญญา อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตร
ชั้นหนง่ึ ชั้นใดแกผสู าํ เร็จการศกึ ษาจากสถาบนั สมทบน้ันได
การรับเขาสมทบหรือการยกเลิกการสมทบซ่ึงสถานศึกษาช้ันสูงหรือสถาบันอ่ืนตามวรรคหน่ึง
ใหท ําเปนประกาศของมหาวิทยาลยั และประกาศในราชกิจจานเุ บกษา
การควบคุมสถานศกึ ษาช้นั สูงหรอื สถาบันอื่นที่เขาสมทบในมหาวิทยาลัย ใหเปนไปตามขอบังคับ
ของมหาวทิ ยาลยั
มาตรา ๑๓ ภายใตวัตถุประสงคตามมาตรา ๗ มหาวิทยาลัยอาจจัดการศึกษารวมกับ
สถานศึกษาชั้นสูงหรือสถาบันอ่ืนในประเทศหรือตางประเทศหรือขององคการระหวางประเทศก็ได
โดยในการจัดการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยมอี ํานาจใหปริญญา อนปุ ริญญา หรือประกาศนียบัตรช้ันหน่ึงชั้นใด
รวมกับสถานศึกษาชน้ั สูงนัน้ แกผ สู าํ เรจ็ การศกึ ษาได

เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หนา ๘ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกจิ จานุเบกษา

การจัดการศึกษาหรือการยกเลิกการจัดการศึกษาตามวรรคหน่ึง ใหทําเปนประกาศของ
มหาวทิ ยาลยั และประกาศในราชกิจจานุเบกษา

การดําเนนิ การตามวรรคหนงึ่ ใหเ ปน ไปตามขอบงั คับของมหาวิทยาลยั
มาตรา ๑๔ กิจการของมหาวิทยาลัยไมอยูภายใตบังคับแหงกฎหมายวาดวยการคุมครอง
แรงงาน และกฎหมายวาดว ยแรงงานสัมพันธ
มาตรา ๑๕ มหาวิทยาลัยมีอํานาจและหนาท่ีกระทําการตาง ๆ ตามวัตถุประสงคท่ีระบุไว
ในมาตรา ๗ อํานาจและหนาที่เชน วา นี้ใหร วมถึง
(๑) ซ้อื ขาย สรา ง จัดหา โอน รับโอน เชา ใหเชา เชาซ้ือ ใหเชาซ้ือ แลกเปล่ียนและ
จาํ หนา ย หรอื ทํานติ ิกรรมใด ๆ เพอ่ื ประโยชนแกก ิจการของมหาวิทยาลัย ตลอดจนถือกรรมสิทธิ์ มีสิทธิ
ครอบครอง หรอื มีทรัพยสิทธิตาง ๆ ในทรัพยสินของมหาวิทยาลัย หรือมีสิทธิในหรือหาประโยชนจาก
ทรัพยสินทางปญญา และจําหนายทรัพยสินท้ังภายในและภายนอกราชอาณาจักร ตลอดจนรับเงินหรือ
ทรัพยส ินท่มี ผี ูอ ดุ หนุนหรอื อุทศิ ให
การจาํ หนา ยหรือแลกเปลี่ยนอสังหาริมทรัพยของมหาวิทยาลัยใหกระทําไดเฉพาะอสังหาริมทรัพย
ท่ีไดม าตามมาตรา ๑๘ ซึง่ มวี ตั ถปุ ระสงคใ หจําหนายหรือแลกเปลยี่ นได
(๒) รับคาธรรมเนียม คาบํารุง คาตอบแทน เบี้ยปรับ และคาบริการในการใหบริการภายใน
อํานาจหนาทขี่ องมหาวทิ ยาลยั รวมทัง้ ทาํ ความตกลงและกําหนดเงอ่ื นไขเกยี่ วกับการน้นั
(๓) รวมมอื กบั หนวยงานของรัฐหรือเอกชน หรือกับองคการ หรือหนวยงานตางประเทศหรือ
ระหวางประเทศ
(๔) กูยืมเงิน และใหกูยืมเงินโดยมีหลักประกันดวยบุคคลหรือทรัพยสิน การลงทุนหรือ
การรว มลงทนุ ท้งั นี้ เพ่ือประโยชนแ กก จิ การของมหาวทิ ยาลัย
การกูยืมเงิน การใหกูยืมเงิน การถือหุน การเขาเปนหุนสวน การลงทุน หรือการรวมลงทุน
ถาเปนจํานวนเงินเกินวงเงนิ ท่รี ฐั มนตรีกําหนดตอ งไดรับความเหน็ ชอบจากคณะรัฐมนตรีกอ น
(๕) ออกพนั ธบัตรเพื่อการลงทนุ โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
(๖) กําหนดคาตอบแทนหรือคาตอบแทนพิเศษ รวมทั้งสวัสดิการ สิทธิประโยชน และ
ประโยชนอยางอ่ืนใหแกพนักงานมหาวิทยาลัย ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขท่ีกําหนดใน
ขอ บังคบั ของมหาวทิ ยาลัย

เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๖๘ ก หนา ๙ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐
ราชกิจจานเุ บกษา

(๗) จัดใหมกี องทุนเพ่ือกิจการตาง ๆ ตามวัตถุประสงคของมหาวิทยาลัย โดยการบริหารกองทุน
ใหเปน ไปตามขอ บงั คับของมหาวิทยาลยั

(๘) จัดใหม ีการพฒั นาทางวิชาการ และบุคลากรอยางตอเน่อื ง
(๙) ปกครองดูแล บาํ รุงรักษา จัดการ ใช และจัดหาประโยชนจากทรัพยสินของมหาวิทยาลัย
และท่ีราชพัสดตุ ามกฎหมายวาดว ยท่รี าชพสั ดุ
(๑๐) จัดต้ังหรือรวมกับบุคคลอื่นในการจัดตั้งองคกรที่เปนนิติบุคคล รวมตลอดถึงลงทุนหรือ
รวมลงทุนกับบคุ คลหรือนิตบิ คุ คลใด เพอื่ ดําเนินกิจการท่เี กี่ยวกับหรือตอเนื่องกับกิจการของมหาวิทยาลัย
หรือการนําผลการคน ควา และวิจยั ไปเผยแพร หรอื หาประโยชนเพ่อื เปน รายไดข องมหาวทิ ยาลยั
มาตรา ๑๖ รายไดข องมหาวิทยาลัย มีดงั นี้
(๑) เงนิ อดุ หนุนทว่ั ไปท่ีรัฐบาลจดั สรรใหเปนรายป
(๒) เงนิ และทรพั ยส ินซึ่งมีผอู ทุ ิศใหแกม หาวทิ ยาลยั
(๓) เงนิ กองทุนทรี่ ฐั บาลจดั ตง้ั ข้ึน และรายไดห รือผลประโยชนจากกองทนุ ดังกลา ว
(๔) คา ธรรมเนยี ม คาบาํ รงุ คา ตอบแทน เบีย้ ปรับ และคาบรกิ ารตาง ๆ ของมหาวทิ ยาลยั
(๕) รายไดหรือผลประโยชนท่ีไดมาจากการดําเนินการตามมาตรา ๑๕ (๔) และ (๑๐) และ
จากทรัพยส นิ ของมหาวิทยาลยั
(๖) รายไดหรือผลประโยชนที่ไดมาจากการใชท่ีราชพัสดุหรือจัดหาประโยชนในท่ีราชพัสดุ
ซงึ่ มหาวิทยาลยั ปกครอง ดแู ล ใช หรอื จดั หาประโยชน
(๗) รายไดห รือผลประโยชนอยางอ่นื
เงินอุดหนนุ ท่วั ไปตาม (๑) นั้น รัฐบาลพงึ จดั สรรใหแกม หาวทิ ยาลยั โดยตรงเปนจํานวนที่เพียงพอ
สําหรบั คาใชจ ายทีจ่ าํ เปน ในการดําเนินการตามวัตถุประสงคของมหาวิทยาลัย และการพัฒนาการอุดมศึกษา
ทอี่ ยใู นความรบั ผดิ ชอบของมหาวิทยาลยั
ในกรณที ่ีรัฐบาลไดป รับเงินเดือน เงินประจําตําแหนง คาตอบแทนหรือสิทธิประโยชนอ่ืนใดแก
ขาราชการ ใหรัฐบาลจัดสรรงบประมาณในลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไปเพ่ิมเติมใหแกมหาวิทยาลัยใน
สัดสว นเดยี วกันเพอื่ เปนคาใชจ ายดังกลาวใหพ นักงานมหาวิทยาลัยดว ย
รายไดของมหาวทิ ยาลยั ไมเปน รายไดท่ีตองนําสงกระทรวงการคลังตามกฎหมายวาดวยเงินคงคลัง
และกฎหมายวาดว ยวธิ ีการงบประมาณ

เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หนา ๑๐ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกิจจานเุ บกษา

ใ น ก ร ณี ที่ ร า ย ไ ด ต า ม ว ร ร ค ห นึ่ ง มี จํ า น ว น ไ ม เ พี ย ง พ อ สํ า ห รั บ ค า ใ ช จ า ย ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร
ของมหาวิทยาลัยและคาภาระตาง ๆ ท่ีเหมาะสม และมหาวิทยาลัยไมสามารถหาเงินจากแหลงอื่นได
รฐั บาลพงึ จดั สรรเงนิ อุดหนุนท่ัวไปเพิ่มเติมใหแ กม หาวทิ ยาลยั ตามความจําเปนของมหาวทิ ยาลัย

มาตรา ๑๗ มหาวิทยาลัยตองสงเสริมและสนับสนุนผูท่ีมหาวิทยาลัยรับเขาศึกษาในมหาวิทยาลัย
และนกั ศกึ ษาที่ขาดแคลนทนุ ทรัพยอ ยางแทจรงิ ใหม โี อกาสเรียนจนสาํ เร็จปรญิ ญาตรี

หลักเกณฑและวิธีการพิจารณาวาผูใดขาดแคลนทุนทรัพยอยางแทจริง ใหเปนไปตามขอบังคับ
ของมหาวิทยาลัย

มาตรา ๑๘ บรรดาอสังหาริมทรัพยที่มหาวิทยาลัยไดมาจากการให หรือซื้อดวยเงินรายได
ของมหาวิทยาลยั หรอื แลกเปลยี่ นกบั ทรัพยส ินของมหาวิทยาลัย หรือไดมาโดยวิธีอ่ืน ไมถือเปนที่ราชพัสดุ
และใหเ ปนกรรมสิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลัย

มาตรา ๑๙ ทรัพยสินของมหาวิทยาลัยที่ใชเพื่อประโยชนเก่ียวกับการศึกษา การวิจัย และ
การบริการทางวชิ าการโดยตรง ไมอยูในความรับผิดแหงการบังคับคดีท้ังปวง รวมท้ังการบังคับทางปกครอง
และบุคคลใดจะยกอายุความข้ึนเปนขอ ตอ สูกับมหาวทิ ยาลยั ในเร่อื งทรัพยสินของมหาวิทยาลยั มิได

มาตรา ๒๐ บรรดารายไดและทรพั ยสินของมหาวิทยาลัย ตองจัดการเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค
ของมหาวิทยาลยั ตามมาตรา ๗

เงินและทรัพยสินที่มีผูอุทิศใหแกมหาวิทยาลัย ตองจัดการตามเงื่อนไขท่ีผูอุทิศใหกําหนดไว
แตถามีความจําเปนตองเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขดังกลาว ตองไดรับความยินยอมจากผูอุทิศใหหรือทายาท
หากไมม ที ายาทหรอื ทายาทไมปรากฏตองไดร ับอนมุ ัติจากสภามหาวิทยาลัย

หมวด ๒
การดําเนินการ

มาตรา ๒๑ ใหม ีสภามหาวทิ ยาลัย ประกอบดว ย
(๑) นายกสภามหาวทิ ยาลยั ซึง่ จะไดทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตง ต้ัง
(๒) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิจํานวนสิบหาคน ซ่ึงจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ
แตง ตัง้ จากบคุ คลภายนอกมหาวิทยาลยั
(๓) อธิการบดี
(๔) ประธานสภาคณาจารย นายกสมาคมศิษยเกามหาวิทยาลยั

เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หนา ๑๑ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกิจจานุเบกษา

(๕) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจํานวนหน่ึงคน ซึ่งเลือกตั้งจากผูปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย
ที่มใิ ชคณาจารยประจํา

(๖) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจํานวนสิบคน ซึ่งเลือกต้ังจากคณาจารยประจําจํานวนหาคน
และจากผบู รหิ ารระดบั คณบดีหรือเทียบเทาจํานวนหา คน

คุณสมบัติและวิธีการสรรหานายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ
ตาม (๒) คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการเลือกตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัยตาม (๕) และ (๖)
ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย ทั้งน้ี ตองสรรหากรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิจาก
รายชอื่ ที่คณะกรรมการการอุดมศึกษาเสนอจํานวนหนงึ่ คน

ใหสภามหาวิทยาลัยเลอื กกรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิคนหนึ่งเปนอุปนายกสภามหาวิทยาลัย
และใหอุปนายกสภามหาวทิ ยาลยั ทําหนาที่แทนนายกสภามหาวิทยาลัย เม่ือนายกสภามหาวิทยาลัยไมอาจ
ปฏิบตั ิหนา ทีไ่ ด หรอื เมื่อไมม ผี ดู ํารงตาํ แหนงนายกสภามหาวิทยาลยั

เม่ืออุปนายกสภามหาวิทยาลัยไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดหรือเม่ือไมมีผูดํารงตําแหนงอุปนายกสภา
มหาวิทยาลัย ใหสภามหาวิทยาลัยเลือกกรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิคนหน่ึงทําหนาที่แทน
อุปนายกสภามหาวิทยาลยั

ใหส ภามหาวิทยาลัยแตงตั้งรองอธิการบดีคนหนึ่งเปนเลขานุการสภามหาวิทยาลัย และจะแตงต้ัง
หวั หนา สํานักงานสภามหาวทิ ยาลัยเปนผูชวยเลขานกุ ารสภามหาวทิ ยาลยั ดว ยก็ได

มาตรา ๒๒ นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๑ (๒)
มวี าระการดํารงตาํ แหนงคราวละส่ปี  แตจะทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตง้ั ใหมอ กี ได

กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ตามมาตรา ๒๑ (๕) และ (๖) มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสองป
แตอาจไดรับเลอื กตัง้ ใหมอ กี ได

มาตรา ๒๓ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระตามมาตรา ๒๒ นายกสภามหาวิทยาลัย
และกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ตามมาตรา ๒๑ (๒) (๕) และ (๖) พนจากตําแหนงเมอ่ื

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) สภามหาวทิ ยาลยั มมี ตใิ หถ อดถอน
(๔) ขาดคุณสมบัตขิ องการเปนกรรมการสภามหาวทิ ยาลัยในประเภทน้นั
(๕) ถูกจําคกุ โดยคาํ พพิ ากษาถงึ ที่สุดใหจาํ คุก

เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หนา ๑๒ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกิจจานุเบกษา

(๖) เปน บุคคลลม ละลาย
(๗) เปน คนไรความสามารถ หรอื คนเสมอื นไรความสามารถ
ในกรณีท่ตี าํ แหนงนายกสภามหาวิทยาลัย หรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยวางลงไมวาดวยเหตุใด
และยังมิไดดําเนินการใหไดมาซ่ึงนายกสภามหาวิทยาลัย หรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยแทนตําแหนง
ทว่ี า ง ใหส ภามหาวทิ ยาลยั ประกอบดวยกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั เทาทมี่ ีอยู
ในกรณีที่นายกสภามหาวทิ ยาลัย หรือกรรมการสภามหาวิทยาลัย พนจากตําแหนงกอนครบวาระ
และไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้งหรือไดมีการเลือกต้ังผูดํารงตําแหนงแทนแลว ใหผูซึ่งได
ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตงต้ังหรือไดรับเลือกตั้งใหดํารงตําแหนงแทนอยูในตําแหนงเพียงเทาวาระ
ที่เหลืออยูของผูซึ่งตนแทน แตถาวาระการดํารงตําแหนงเหลืออยูนอยกวาเกาสิบวันจะไมดําเนินการ
ใหม ีผดู าํ รงตําแหนงแทนกไ็ ด
ในกรณีท่นี ายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยพนจากตําแหนงตามวาระแตยังมิได
ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้งนายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ
หรือยังมิไดเลือกตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัยอ่ืนขึ้นใหม ใหนายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภา
มหาวทิ ยาลยั ผูทรงคุณวุฒหิ รอื กรรมการสภามหาวิทยาลัยซึ่งพนจากตําแหนงปฏิบัติหนาท่ีตอไปจนกวาจะ
ไดท รงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตงตัง้ นายกสภามหาวิทยาลัยหรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ
หรอื ไดม ีการเลือกตั้งกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั อื่นขึ้นใหมแลว
มาตรา ๒๔ สภามหาวิทยาลัยมีอํานาจและหนาท่ีควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของมหาวิทยาลัย
อํานาจและหนา ทีเ่ ชนวาน้ใี หร วมถงึ
(๑) กําหนดเปาหมาย วางนโยบาย และแนวทางในการพัฒนาของมหาวิทยาลัย
(๒) ออกขอบังคับและประกาศของมหาวิทยาลัย เพื่อประโยชนในการปฏิบัติงานของ
มหาวิทยาลัย และอาจมอบหมายใหสวนงานใดในมหาวิทยาลัยเปนผูออกขอบังคับและประกาศสําหรับ
สวนงานนั้นเปน เรื่อง ๆ ไปกไ็ ด
(๓) ออกขอบังคับวาดว ยการบรหิ ารงานบคุ คลของมหาวิทยาลยั
การออกขอบังคับตาม (๓) ตองเปนไปเพ่ือความเปนธรรม สรางขวัญและกําลังใจโดยไดรับฟง
ความคิดเห็นของพนักงานและลกู จา งมหาวิทยาลัยประกอบดวย
(๔) ออกขอบงั คับเก่ยี วกบั การบริหารงานการเงิน การพสั ดุและทรัพยสินของมหาวทิ ยาลัย
(๕) อนุมัติแผนพฒั นาและแผนปฏบิ ตั กิ ารของมหาวิทยาลัย

เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หนา ๑๓ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐
ราชกจิ จานเุ บกษา

(๖) อนุมัติการจัดต้ัง การรวม และการยุบเลิกสวนงานตามมาตรา ๑๐ รวมทั้งการแบง
หนวยงานภายในของสว นงานดังกลา ว

(๗) อนมุ ตั ิการรับเขา สมทบและการยกเลกิ การสมทบของสถานศึกษาช้ันสูงหรอื สถาบนั อ่ืน
(๘) อนุมตั ิการจัดการศึกษาและการยกเลิกการจดั การศกึ ษารวมกบั สถานศกึ ษาชน้ั สงู หรือสถาบนั อ่นื
(๙) อนมุ ตั กิ ารเปดสอนและหลักสูตรการศึกษา รวมทั้งการปรับปรุง การยุบรวม และการยกเลิก
หลกั สูตรการศึกษา
(๑๐) อนุมัติการใหปรญิ ญา อนปุ ริญญา ประกาศนียบัตร ท้ังของมหาวิทยาลัย และที่มหาวิทยาลัย
จัดการศกึ ษารวมกับสถานศึกษาชั้นสูงอน่ื รวมท้ังอนุมัติการใหปริญญากิตติมศักด์ิ
(๑๑) พิจารณาสรรหา และดําเนินการเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังและถอดถอน
นายกสภามหาวทิ ยาลัย กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผูทรงคุณวฒุ ิ และอธิการบดี
(๑๒) พจิ ารณาดําเนินการเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังและถอดถอนศาสตราจารย และ
ศาสตราจารยพ เิ ศษ
(๑๓) แตงต้ังและถอดถอนศาสตราจารยเกียรติคุณ รองศาสตราจารย รองศาสตราจารยพิเศษ
ผูชวยศาสตราจารย ผูช ว ยศาสตราจารยพ เิ ศษ และผูดํารงตาํ แหนงทางวชิ าการท่ีเรยี กชือ่ อยางอน่ื ตามมาตรา ๕๖
วรรคสาม
(๑๔) แตงต้ังและถอดถอนรองอธิการบดี คณบดี ผูอํานวยการ และหัวหนาสวนงานที่เรียกช่ือ
อยางอนื่
(๑๕) วางนโยบายและกําหนดหลักเกณฑและวิธีการเก่ียวกับการจัดหารายได การจัดหาผลประโยชน
และการลงทนุ
(๑๖) อนมุ ัติการต้งั งบประมาณรายรับและอนมุ ัตงิ บประมาณรายจา ยของมหาวิทยาลัย
(๑๗) ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดําเนินงานของอธิการบดีและหวั หนา สว นงานตา ง ๆ
(๑๘) รับรองรายงานประจําปของมหาวิทยาลัย และเสนอรายงานน้นั ตอ รัฐมนตรเี พือ่ รับทราบ
(๑๙) แตง ตงั้ คณะกรรมการ คณะกรรมการอทุ ธรณและรองทุกขประจํามหาวิทยาลัย คณะกรรมการ
ตรวจสอบการบริหารงานประจํามหาวทิ ยาลยั คณะอนุกรรมการ หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเพ่ือกระทําการใด ๆ
อันอยูในอํานาจหนาที่ของสภามหาวิทยาลัย ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีกําหนดในขอบังคับ
ของมหาวทิ ยาลัย

เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๖๘ ก หนา ๑๔ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐
ราชกจิ จานุเบกษา

(๒๐) ปฏิบัติหนาที่อื่นเก่ียวกับกิจการของมหาวิทยาลัยท่ีมิไดระบุใหเปนหนาที่ของผูใด
หรือสวนงานใดโดยเฉพาะ

มาตรา ๒๕ การประชุมและวิธีดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัยใหเปนไปตามขอบังคับของ
มหาวทิ ยาลัย

มาตรา ๒๖ ใหมสี ภาคณาจารยประกอบดว ยสมาชิกซึง่ เปนคณาจารยประจาํ ของมหาวทิ ยาลยั
จํานวน คณุ สมบตั ิ หลักเกณฑและวิธีการไดมา วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนง
ของสมาชิกสภาคณาจารย ตลอดจนการประชุมและการดําเนินงานของสภาคณาจารยใหเปนไปตาม
ขอ บงั คับของมหาวทิ ยาลยั
มาตรา ๒๗ สภาคณาจารยมอี าํ นาจและหนา ที่ ดงั นี้
(๑) ใหค าํ ปรึกษาแนะนาํ แกส ภามหาวทิ ยาลยั และอธิการบดี ในกจิ การของมหาวทิ ยาลยั
(๒) เสนอแนะขอคิดเห็น คําแนะนํา และใหคําปรึกษาแกสภามหาวิทยาลัย และอธิการบดี
เกยี่ วกบั มาตรฐานและจรรยาบรรณแหงวชิ าชีพคณาจารยในมหาวิทยาลัย รวมทั้งการกํากับดูแลการปฏิบัติ
ตามมาตรฐานและจรรยาบรรณดังกลาว ตามขอ บงั คบั ของมหาวิทยาลยั
(๓) เสนอแนะขอคิดเหน็ คาํ แนะนํา และใหค าํ ปรึกษาแกส ภามหาวิทยาลยั และอธิการบดีเกี่ยวกับ
การพฒั นาคณาจารยทางดา นทักษะแหง วชิ าชีพคณาจารย
(๔) ติดตามและประเมินผลการพัฒนาคณาจารยในมหาวิทยาลัยทางดานทักษะแหงวิชาชีพ
คณาจารย
(๕) เชดิ ชูและผดุงเกียรติคณาจารยใ นมหาวิทยาลยั
(๖) ปฏิบตั ิหนา ทอ่ี ่นื ตามทีส่ ภามหาวทิ ยาลัยหรอื อธิการบดมี อบหมาย

หมวด ๓
การบรหิ ารงาน

มาตรา ๒๘ ใหม ีอธกิ ารบดีเปนผูบังคับบัญชาสงู สดุ และรับผิดชอบการบรหิ ารงานของมหาวิทยาลัย
และอาจใหมีรองอธิการบดีหรือผูชวยอธิการบดี หรือจะมีทั้งรองอธิการบดีและผูชวยอธิการบดี
ตามจํานวนที่สภามหาวิทยาลยั กาํ หนด เพื่อทาํ หนา ท่ีและรบั ผิดชอบตามทอี่ ธกิ ารบดมี อบหมายก็ได

มาตรา ๒๙ อธิการบดีน้ัน จะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังตามคําแนะนําของ
สภามหาวทิ ยาลัยจากผมู คี ุณสมบัตติ ามมาตรา ๓๓

เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๖๘ ก หนา ๑๕ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกิจจานุเบกษา

หลักเกณฑและวธิ กี ารสรรหาอธิการบดใี หเ ปนไปตามขอ บงั คับของมหาวิทยาลยั
รองอธิการบดีนั้น ใหสภามหาวิทยาลัยแตงตั้งโดยคําแนะนําของอธิการบดีจากผูมีคุณสมบัติ
ตามมาตรา ๓๓ วรรคสอง
ผชู ว ยอธิการบดนี ้ัน ใหอ ธิการบดีแตง ต้งั จากผูมีคณุ สมบตั ิตามมาตรา ๓๓ วรรคสอง
มาตรา ๓๐ อธิการบดีมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสี่ป และจะทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ
แตงตัง้ ใหมอ กี ได แตจ ะดาํ รงตําแหนง เกินสองวาระติดตอ กันมไิ ด
เมื่ออธกิ ารบดพี นจากตาํ แหนง ใหรองอธกิ ารบดีและผชู ว ยอธกิ ารบดีพน จากตําแหนง ดวย
มาตรา ๓๑ นอกจากการพนจากตําแหนง ตามวาระตามมาตรา ๓๐ อธกิ ารบดพี น จากตําแหนง เมอ่ื
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ถกู จําคกุ โดยคําพิพากษาถงึ ทส่ี ุดใหจาํ คุก
(๔) เปน บุคคลลมละลาย
(๕) เปน คนไรความสามารถ หรือคนเสมอื นไรความสามารถ
(๖) สภามหาวทิ ยาลยั มมี ตใิ หถ อดถอนดวยคะแนนเสยี งเกนิ กวาก่ึงหนง่ึ ของจาํ นวนกรรมการเทาท่ีมอี ยู
(๗) สภามหาวิทยาลัยมมี ติใหพนจากตาํ แหนงตามมาตรา ๓๒ วรรคสาม
(๘) ขาดคุณสมบัติหรอื มลี ักษณะตอ งหามตามมาตรา ๓๓
มาตรา ๓๒ ใหสภามหาวทิ ยาลัยจดั ใหม ีการประเมินผลการปฏิบัติหนาท่ีของอธิการบดีเม่ือครบ
สองปน ับแตว ันท่ที รงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตงตง้ั
การประเมินผลการปฏิบัติหนาท่ีของอธิการบดีตามวรรคหนึ่ง ใหเปนตามขอบังคับของ
มหาวทิ ยาลัย
ในกรณีท่อี ธกิ ารบดีไมผานการประเมินผลการปฏิบัติหนาท่ีตามวรรคหนึ่ง และสภามหาวิทยาลัย
มีมติดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาก่ึงหน่ึงของจํานวนกรรมการสภามหาวิทยาลัยท้ังหมดเทาท่ีมีอยูใหพน
จากตําแหนง ใหอธิการบดพี นจากตาํ แหนง
มาตรา ๓๓ อธิการบดีตองสําเร็จการศึกษาไมตํ่ากวาชั้นปริญญาเอกหรือเทียบเทา
จากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาอื่นที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง หรือดํารงตําแหนงศาสตราจารย
ศาสตราจารยพิเศษ หรือศาสตราจารยเกียรติคุณ หรือเคยดํารงตําแหนงดังกลาว รวมท้ังมีคุณสมบัติและ
ไมมีลักษณะตอ งหามอนื่ ตามทก่ี ําหนดในขอบงั คับของมหาวทิ ยาลัย

เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หนา ๑๖ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐
ราชกิจจานุเบกษา

รองอธิการบดีและผูชวยอธิการบดี ตองสําเร็จการศึกษาปริญญาหรือเทียบเทาจากมหาวิทยาลัย
หรือสถาบันอุดมศึกษาอื่นท่ีสภามหาวิทยาลัยรับรอง รวมท้ังมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามอื่น
ตามทก่ี าํ หนดในขอบงั คบั ของมหาวิทยาลัย

มาตรา ๓๔ อธิการบดีเปนผูแทนของมหาวทิ ยาลัยในกจิ การทั้งปวง ใหมีอํานาจและหนา ที่ ดงั นี้
(๑) บรหิ ารกิจการของมหาวิทยาลยั ใหเปนไปตามวัตถุประสงค และนโยบายของมหาวิทยาลยั
(๒) บริหารการเงิน การพัสดุ และทรัพยสินอ่ืนของมหาวิทยาลัยใหเปนไปตามกฎหมาย
ขอบังคบั และประกาศของมหาวิทยาลัย
(๓) แตงต้ังและถอดถอนผูชวยอธิการบดี รองคณบดี รองผูอํานวยการ รองหัวหนาสวนงานท่ี
เรยี กช่ืออยางอ่ืน หัวหนาหนวยงานภายในของสวนงานตามมาตรา ๑๐ วรรคหา รองหัวหนาหนวยงาน
ภายในของสวนงานตามมาตรา ๑๐ วรรคหา ผอู าํ นวยการโรงพยาบาล รองผูอํานวยการโรงพยาบาล และ
อาจารยพิเศษ
(๔) บรรจุ แตงตั้ง ดําเนินการทางวินัย และถอดถอนพนักงานมหาวิทยาลัย รวมทั้งดําเนินการ
บริหารงานบคุ คลตามขอบงั คับของมหาวทิ ยาลัย
(๕) จดั ทําแผนพัฒนาและแผนปฏบิ ตั ิการ โดยปฏิบัติตามนโยบายและแผนงานของมหาวิทยาลัย
รวมทง้ั ติดตามและประเมินผลการดาํ เนนิ งานดานตา ง ๆ ของมหาวทิ ยาลัย
(๖) จัดหารายไดและทรัพยากรอ่ืนจากแหลงตาง ๆ เพื่อสนับสนุนการดําเนินภารกิจใหบรรลุ
วตั ถปุ ระสงคของมหาวทิ ยาลัย และจัดทาํ งบประมาณรายรบั และรายจายเพื่อเสนอตอสภามหาวทิ ยาลัย
(๗) เสนอรายงานประจาํ ปเก่ยี วกับกจิ การดา นตาง ๆ ของมหาวิทยาลยั ตอ สภามหาวทิ ยาลัย
(๘) ปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนตามกฎหมาย ขอบังคับ และประกาศของมหาวิทยาลัย หรือตามที่สภา
มหาวิทยาลยั มอบหมาย
มาตรา ๓๕ ในสาํ นกั งานสภามหาวทิ ยาลัย สํานักงานอธิการบดี ใหมีหัวหนาสวนงานคนหน่ึง
เปน ผูบงั คับบัญชาและรับผดิ ชอบงานของสว นงานนน้ั และจะใหมีรองหัวหนาสวนงานตามจํานวนท่ีสภา
มหาวิทยาลัยกําหนดเพือ่ ทาํ หนาทแ่ี ละรับผิดชอบตามท่หี วั หนาสว นงานมอบหมายก็ได
การแตงตั้งหัวหนาสวนงานตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามขอบังคับวาดวยการบริหารงานบุคคล
ของมหาวทิ ยาลัย
มาตรา ๓๖ ในวิทยาเขตหน่ึง ใหมีรองอธิการบดีที่ไดรับมอบหมายจากอธิการบดีคนหนึ่งเปน
ผูบ งั คับบญั ชาและรบั ผิดชอบงานของวทิ ยาเขตตามท่ีอธกิ ารบดมี อบหมาย

เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หนา ๑๗ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา ๓๗ ในแตล ะคณะและสว นงานทเ่ี รยี กช่ืออยางอื่น ใหมีคณบดีหรือผูอํานวยการคนหน่ึง
เปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของสวนงานนั้น และจะใหมีรองคณบดีหรือรองผูอํานวยการตาม
จํานวนท่ีสภามหาวิทยาลัยกําหนด เพ่ือทําหนาที่และรับผิดชอบงานตามที่คณบดีหรือผูอํานวยการ
มอบหมายกไ็ ด

คณบดีหรือผูอํานวยการตามวรรคหนึ่งตองสําเร็จการศึกษาชั้นปริญญาหรือเทียบเทาจาก
มหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนท่ีสภามหาวิทยาลัยรับรอง รวมทั้งมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะ
ตอ งหามอืน่ ตามทีก่ ําหนดในขอบงั คับของมหาวทิ ยาลัย

คณบดีหรือผูอํานวยการมีวาระการดํารงตําแหนงส่ีปและอาจไดรับแตงตั้งใหมอีกได แตจะดํารง
ตําแหนง เกนิ สองวาระตดิ ตอ กนั มิได

การบรหิ ารงานในคณะหรือสว นงานทเ่ี รยี กชอ่ื อยางอน่ื รวมทง้ั วิธกี ารสรรหาอํานาจและหนาที่ของ
คณบดีหรือผูอาํ นวยการ ใหเ ปนไปตามขอ บงั คบั ของมหาวิทยาลยั

การพนจากตําแหนงคณบดีหรือผูอํานวยการกอนครบวาระ การรักษาการแทนใหนํามาตรา ๓๑
และมาตรา ๔๑ มาใชบ ังคบั โดยอนุโลม แลว แตกรณี

รองคณบดีหรือรองผูอํานวยการน้ัน ใหอธิการบดีแตงต้ังและถอดถอนโดยคําแนะนําของคณบดี
หรือผูอาํ นวยการ แลว แตก รณี จากผูซึ่งมีคุณสมบัติเชนเดียวกับคณบดีหรือผูอํานวยการ และเมื่อคณบดี
หรือผูอาํ นวยการพน จากตาํ แหนง ใหรองคณบดีหรือรองผอู ํานวยการพน จากตาํ แหนง ดวย

มาตรา ๓๘ ในหนวยงานภายในของสวนงานตามมาตรา ๑๐ (๓) และ (๔) ใหมีหัวหนา
หนวยงานเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของหนวยงานและอาจมีรองหัวหนาหนวยงานเพื่อทํา
หนาทแ่ี ละรับผิดชอบงานตามที่หวั หนาหนว ยงานตามมาตรา ๑๐ (๓) และ (๔) มอบหมายได

การแตง ตง้ั คุณสมบัติ วาระการดํารงตาํ แหนงและการพนจากตําแหนงของหัวหนาหนวยงานและ
รองหวั หนา หนวยงานตามวรรคหน่งึ ใหเ ปนไปตามขอ บังคบั ของมหาวิทยาลัย

การรักษาการแทนหวั หนาหนวยงานตามวรรคหนง่ึ ใหนาํ มาตรา ๔๑ มาใชบังคับโดยอนโุ ลม
เม่ือหวั หนา หนวยงานพนจากตําแหนง ใหร องหวั หนาหนวยงานพนจากตําแหนงดว ย
มาตรา ๓๙ ในกรณีทีม่ กี ารจัดต้งั โรงพยาบาลตามมาตรา ๑๐ วรรคสองหรอื มาตรา ๑๐ วรรคหา
ใหมีผูอํานวยการโรงพยาบาลเปนผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบในการบริหารงานของโรงพยาบาล และ
อาจมรี องผอู าํ นวยการโรงพยาบาลเพอื่ ทาํ หนา ที่และรบั ผิดชอบงานตามท่ีผูอํานวยการโรงพยาบาลมอบหมายก็ได

เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หนา ๑๘ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกจิ จานเุ บกษา

การแตงต้ัง คุณสมบัติ วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนงของผูอํานวยการ
โรงพยาบาลและรองผูอาํ นวยการโรงพยาบาลตามวรรคหนง่ึ ใหเปน ไปตามขอบงั คบั ของมหาวิทยาลัย

การรกั ษาการแทนผูอํานวยการโรงพยาบาล ใหนาํ มาตรา ๔๑ มาใชบังคับโดยอนโุ ลม
เมื่อผูอ ํานวยการโรงพยาบาลพน จากตาํ แหนง ใหร องผอู าํ นวยการโรงพยาบาลพนจากตําแหนงดว ย
มาตรา ๔๐ ผูดํารงตําแหนงอธิการบดี รองอธิการบดี ผูชวยอธิการบดี คณบดี รองคณบดี
ผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ ผูอํานวยการโรงพยาบาลและรองผูอํานวยการโรงพยาบาล
จะดาํ รงตําแหนงดังกลาวเกนิ หนงึ่ ตําแหนงในขณะเดยี วกันมิได
ผูดาํ รงตําแหนง ตามวรรคหน่ึงจะรักษาการแทนตําแหนงดังกลาวไดอีกเพียงหน่ึงตําแหนง แตตอง
ไมเ กนิ หนึ่งรอยแปดสบิ วัน
มาตรา ๔๑ ในกรณีท่ีผูดํารงตําแหนงอธิการบดีไมอาจปฏิบัติหนาที่ได ใหรองอธิการบดีเปน
ผูรักษาการแทน ถา มีรองอธิการบดีหลายคนใหรองอธิการบดีที่อธิการบดีมอบหมายเปนผูรักษาการแทน
ถาอธิการบดีมไิ ดมอบหมาย ใหร องอธิการบดที มี่ อี าวุโสสงู สุดเปนผูร กั ษาการแทน
ในกรณีท่ไี มมผี ูด าํ รงตําแหนงอธกิ ารบดี หรือไมมีผูรักษาการแทนอธิการบดีตามวรรคหน่ึงหรือมี
แตไมอาจปฏิบัติหนาท่ีได ใหสภามหาวิทยาลัยแตงต้ังผูมีคุณสมบัติตามมาตรา ๓๓ วรรคหน่ึง เปนผู
รกั ษาการแทน
ใหผ รู กั ษาการแทนมีอาํ นาจและหนา ทีเ่ ชน เดียวกับผูดาํ รงตําแหนง นัน้
ในกรณีท่มี กี ฎหมายแตงต้ังใหผูดํารงตําแหนงอธิการบดีเปนกรรมการหรือใหมีอํานาจและหนาท่ี
อยา งใด ใหผูรกั ษาการแทนมีอํานาจและหนาท่ีเปนกรรมการ หรือมีอํานาจและหนาที่เชนเดียวกับผูดํารง
ตาํ แหนง นัน้ ในระหวางรกั ษาการแทนดวย
มาตรา ๔๒ เพื่อประโยชนในการบรหิ ารงานของวิทยาเขต คณะ หรือสวนงานที่เรียกช่ืออยางอ่ืน
อธิการบดีจะมอบอาํ นาจใหผูดํารงตําแหนงคณบดี ผูอํานวยการ หรือหัวหนาสวนงานท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืน
ปฏบิ ัติหนา ทีแ่ ทนอธกิ ารบดเี ฉพาะในสวนงานน้ันกไ็ ด
คณบดี ผอู ํานวยการ หรือหวั หนา สวนงานซง่ึ ไดรับมอบอํานาจจากอธิการบดี อาจมอบอํานาจตอ
ใหรองคณบดี รองผูอํานวยการ หรือรองหัวหนาสวนงานที่เรียกช่ืออยางอื่นน้ันปฏิบัติหนาที่ที่รับมอบ
อํานาจมานัน้ แทนไดเม่ือไดรบั ความเห็นชอบจากอธิการบดี และใหผูรับมอบอํานาจหรือผูรับมอบอํานาจตอ
มอี ํานาจและหนา ท่ตี ามทอี่ ธกิ ารบดกี าํ หนด

เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หนา ๑๙ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐
ราชกจิ จานเุ บกษา

หมวด ๔
การประกันคณุ ภาพและการประเมิน

มาตรา ๔๓ ใหม หาวทิ ยาลยั จดั ใหมกี ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาและการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศกึ ษาของมหาวิทยาลัย

ระบบ หลักเกณฑและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาและการวิจัยตามวรรคหน่ึงใหเปนไปตาม
ขอบงั คบั ของมหาวทิ ยาลัย

มาตรา ๔๔ เมอ่ื ครบสีป่ น ับแตว นั จัดต้งั สวนงานของมหาวิทยาลัยตามมาตรา ๑๐ ใหมหาวิทยาลัย
จัดใหมีการประเมินสวนงานดังกลาวโดยผูประเมินซึ่งสภามหาวิทยาลัยแตงตั้งจากผูซึ่งมิใชผูปฏิบัติงาน
ในมหาวิทยาลยั แลวรายงานสภามหาวิทยาลัยและประกาศใหทราบเปนการท่ัวไป และใหมีการประเมิน
ดงั กลาวทุกสป่ี 

การประเมินสวนงานตามวรรคหนึ่ง อยางนอยใหใชหลักการตามมาตรา ๙ และนโยบายที่สภา
มหาวิทยาลยั กาํ หนดตามมาตรา ๒๔ (๑) เปนเกณฑในการประเมิน โดยใหหาขอมูลจากผูปฏิบัติงานใน
มหาวิทยาลัย นักศึกษา บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย บุคคลซ่ึงเปนนายจางหรือ
ผูบงั คบั บัญชาของบัณฑิตนน้ั และบุคคลอื่นซง่ึ เกี่ยวของกับมหาวทิ ยาลยั

รายงานตามวรรคหน่ึง ใหระบุดวยวาสวนงานดังกลาวควรปรับปรุงการดําเนินการใดหรือควรมี
สว นงานนั้นหรอื หนว ยงานภายในของสว นงานน้นั ตอ ไปหรอื ไมดวย

มาตรา ๔๕ ใหมีการประเมินการดําเนินงานโดยรวมของมหาวิทยาลัย โดยใชหลักเกณฑและ
วิธีการตามที่กําหนดไวในมาตรา ๔๔ ดวยโดยอนุโลม ท้ังน้ี ตามระยะเวลาท่ีกําหนดในขอบังคับของ
มหาวิทยาลยั

มาตรา ๔๖ เมอื่ ครบหน่ึงปหลังจากครบกําหนดเวลาการศึกษาตามหลักสูตรใดใหมหาวิทยาลัย
จัดใหมีการประเมินหลักสูตรการเรียนการสอนและการวัดผลตามหลักสูตรน้ันโดยผูประเมินซึ่งสภา
มหาวิทยาลัยแตงต้ังจากผูซ่ึงมิใชผูปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยและใหมีการประเมินดังกลาวทุกหาปหรือ
เร็วกวา นน้ั ตามทีส่ ภามหาวิทยาลัยกําหนด แลวรายงานสภามหาวิทยาลยั และประกาศใหทราบเปนการท่ัวไป

ใหน าํ ความในวรรคสองและวรรคสามของมาตรา ๔๔ มาใชบังคับกับการประเมินหลักสูตรตาม
วรรคหนึ่งดวยโดยอนุโลม

เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หนา ๒๐ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกิจจานุเบกษา

หมวด ๕
การบญั ชีและการตรวจสอบ

มาตรา ๔๗ ใหมหาวิทยาลัยวางและรักษาไวซึ่งระบบบัญชีอันถูกตอง แยกตามสวนงานของ
มหาวิทยาลัย มีสมุดบัญชีลงรายการแยกตามประเภทของสินทรัพย หน้ี ทุน รายไดและคาใชจายตาม
ความเปน จรงิ พรอมดวยขอความอันเปนที่มาของรายการน้ัน ๆ และใหมีการตรวจสอบบัญชีภายในเปน
ประจํา

การบันทกึ รายการในสมุดบญั ชีตามวรรคหนง่ึ ใหเ ปนไปตามมาตรฐานการบญั ชที ี่รบั รองทวั่ ไป
มาตรา ๔๘ ใหมหาวิทยาลัยจัดทํางบการเงิน และบัญชีรายรับและรายจายสงผูสอบบัญชีของ
มหาวิทยาลัยภายในเกาสิบวันนับแตว นั สน้ิ ปบัญชี
วนั เรมิ่ และวันสิ้นปบ ญั ชีของมหาวิทยาลยั ใหเ ปนไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย
มาตรา ๔๙ ใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดินหรือบุคคลภายนอกซ่ึงสภามหาวิทยาลัยแตงตั้ง
โดยความเห็นชอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน เปนผูสอบบัญชีของมหาวิทยาลัย และใหทําการ
ตรวจสอบรบั รองบญั ชีและการเงนิ ทุกประเภทของมหาวทิ ยาลยั ทกุ รอบปบญั ชี
มาตรา ๕๐ ใหผูสอบบัญชีมีอํานาจตรวจสอบสรรพสมุดบัญชีและเอกสารหลักฐานตาง ๆ
ท่ีเก่ียวของของมหาวิทยาลัย เพื่อการนี้ใหมีอํานาจสอบถามอธิการบดีและผูปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย
และเรียกใหสงสรรพสมุดบัญชีและเอกสารหลักฐานตาง ๆ ท่ีเก่ียวของของมหาวิทยาลัยเปนการเพิ่มเติม
ไดตามความจําเปน
มาตรา ๕๑ ใหผูสอบบัญชีทํารายงานผลการสอบบัญชีและการเงิน เสนอตอสภามหาวิทยาลัย
ภายในหนึ่งรอยหา สบิ วันนบั แตว นั สน้ิ ปบ ัญชี เพอื่ สภามหาวทิ ยาลยั เสนอตอรัฐมนตรี
มาตรา ๕๒ ใหมีคณะกรรมการตรวจสอบการบริหารงานประจํามหาวิทยาลัยซึ่งแตงตั้งโดย
สภามหาวิทยาลยั เพอ่ื ตรวจสอบการดําเนินงานของอธิการบดี คณบดี ผูอํานวยการและหัวหนาสวนงาน
ทีเ่ รียกช่ืออยา งอ่นื
องคป ระกอบ จาํ นวน คณุ สมบัติ หลักเกณฑและวิธีการไดม า วาระการดํารงตําแหนงและการพน
จากตําแหนงของกรรมการ ตลอดจนการประชุม อํานาจและหนาท่ี และวิธีดําเนินการของคณะกรรมการ
ตรวจสอบการบรหิ ารงานประจํามหาวิทยาลัย ใหเปนไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลัย ท้ังนี้ ใหมีกรรมการ

เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๖๘ ก หนา ๒๑ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกิจจานุเบกษา

สภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๒๑ (๒) ไมนอยกวาสามคนเปนคณะกรรมการตรวจสอบ
การบรหิ ารงานประจํามหาวทิ ยาลยั

ใหมสี าํ นกั งานคณะกรรมการตรวจสอบการบริหารงานประจํามหาวิทยาลัยทําหนาท่ีหนวยธุรการ
ของคณะกรรมการตรวจสอบการบริหารงานประจํามหาวิทยาลัย และมีหนาที่อ่ืนตามที่คณะกรรมการ
มอบหมาย โดยมีเลขานกุ ารคณะกรรมการตรวจสอบการบริหารงานประจํามหาวิทยาลัยเปนผูบังคับบัญชา
และรบั ผิดชอบ เปน หนว ยงานในสํานกั งานสภามหาวิทยาลัยและขึ้นตรงตอ นายกสภามหาวิทยาลัย

มาตรา ๕๓ ใหอ ธิการบดีเปนผดู ํารงตําแหนงระดับสูงตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย
การปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต

หมวด ๖
การกํากบั และดแู ล

มาตรา ๕๔ รัฐมนตรีมีอํานาจและหนาท่ีกํากับและดูแลโดยท่ัวไปซ่ึงกิจการของมหาวิทยาลัย
ใหเปน ไปตามวตั ถุประสงคในมาตรา ๗ และใหสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลหรือมติคณะรัฐมนตรี
ทเี่ กย่ี วกับมหาวิทยาลัยเปนการเฉพาะ ในกรณีที่มีปญหาขอขัดแยงในการดําเนินกิจการของมหาวิทยาลัย
ซ่งึ อาจเกดิ ความเสียหายตอสวนรวม ใหรัฐมนตรีเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา เมื่อคณะรัฐมนตรีวินิจฉัย
เปน ประการใดแลว ใหผ ทู ่เี กีย่ วขอ งมหี นา ท่ีตอ งปฏบิ ตั ิตามคาํ วนิ ิจฉัยของคณะรัฐมนตรี

มาตรา ๕๕ บรรดาเร่ืองที่มหาวิทยาลัยจะตองเสนอไปยังคณะรัฐมนตรีตามพระราชบัญญัติน้ี
ใหร ฐั มนตรีเปนผเู สนอ

หมวด ๗
ตาํ แหนง ทางวิชาการ

มาตรา ๕๖ คณาจารยป ระจําของมหาวิทยาลยั มตี าํ แหนง ทางวชิ าการ ดังน้ี
(๑) ศาสตราจารย
(๒) รองศาสตราจารย
(๓) ผูช วยศาสตราจารย
(๔) อาจารย

เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๖๘ ก หนา ๒๒ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐
ราชกจิ จานุเบกษา

ศาสตราจารยน้ัน จะไดทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตงตั้งโดยคาํ แนะนําของสภามหาวิทยาลยั

สภามหาวิทยาลัยอาจกําหนดใหมีตําแหนงทางวิชาการที่เรียกช่ืออยางอ่ืนดวยก็ไดโดยทําเปน
ประกาศของมหาวิทยาลยั และประกาศในราชกิจจานุเบกษา

คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการแตงต้ังและถอดถอนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการใหเปนไปตาม
ขอ บังคบั ของมหาวทิ ยาลยั

มาตรา ๕๗ ศาสตราจารยพเิ ศษนน้ั จะไดท รงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงต้ังโดยคําแนะนําของ
สภามหาวทิ ยาลยั

คุณสมบตั ิ หลักเกณฑแ ละวิธีการแตงต้ังและถอดถอนศาสตราจารยพิเศษใหเปนไปตามขอบังคับ
ของมหาวทิ ยาลัย

มาตรา ๕๘ ศาสตราจารยซ่ึงมีความรูความสามารถและชํานาญเปนพิเศษ และพนจากตําแหนง
ไปโดยไมมีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแตงตั้งใหเปนศาสตราจารยเกียรติคุณในสาขาวิชาที่ศาสตราจารย
ผนู ัน้ มีความเชีย่ วชาญเพอื่ เปน เกยี รตยิ ศได

คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการแตงต้ังและถอดถอนศาสตราจารยเกียรติคุณใหเปนไปตาม
ขอบังคบั ของมหาวทิ ยาลยั

มาตรา ๕๙ สภามหาวิทยาลัยอาจแตงตั้งผูซ่ึงมีคุณสมบัติเหมาะสม และมิไดเปนคณาจารย
ประจําของมหาวิทยาลัย เปนรองศาสตราจารยพิเศษ หรอื ผูช วยศาสตราจารยพ เิ ศษได

อธิการบดีอาจแตงตั้งผูซ่ึงมีคุณสมบัติเหมาะสม และมิไดเปนคณาจารยประจําของมหาวิทยาลัย
เปนอาจารยพเิ ศษไดโดยคําแนะนาํ ของคณบดี

คุณสมบัติ หลักเกณฑและวิธีการแตงตั้งและการถอดถอนรองศาสตราจารยพิเศษ ผูชวย
ศาสตราจารยพเิ ศษ และอาจารยพเิ ศษ ใหเปนไปตามขอ บังคับของมหาวทิ ยาลยั

มาตรา ๖๐ บุคคลใดไดรับพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตั้งใหดํารงตําแหนงศาสตราจารย
ศาสตราจารยพิเศษ หรือไดรับแตงต้ังใหดํารงตําแหนงศาสตราจารยเกียรติคุณ รองศาสตราจารย
รองศาสตราจารยพ ิเศษ ผชู วยศาสตราจารย หรือผูชวยศาสตราจารยพิเศษหรือตําแหนงทางวิชาการที่เรียกชื่อ
อยางอ่ืนตามมาตรา ๕๖ วรรคสาม ใหม สี ทิ ธิใชต ําแหนง ทางวชิ าการดังกลาวเปนคํานําหนานามเพื่อแสดง
วิทยฐานะไดต ลอดไป

เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หนา ๒๓ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกิจจานเุ บกษา

การใชคํานําหนา นามตามความในวรรคหนงึ่ ใหใ ชอ กั ษรยอดงั น้ี

ศาสตราจารย ใชอ กั ษรยอ ศ.

ศาสตราจารยพิเศษ ใชอักษรยอ ศ. (พเิ ศษ)

ศาสตราจารยเกยี รตคิ ุณ ใชอ ักษรยอ ศ. (เกียรตคิ ุณ)

รองศาสตราจารย ใชอ ักษรยอ รศ.

รองศาสตราจารยพ ิเศษ ใชอักษรยอ รศ. (พเิ ศษ)

ผูชวยศาสตราจารย ใชอกั ษรยอ ผศ.

ผูช ว ยศาสตราจารยพ ิเศษ ใชอ กั ษรยอ ผศ. (พิเศษ)

การใชค ํานาํ หนานามและการใชอ ักษรยอ คํานําหนานามสาํ หรับตําแหนง ทางวชิ าการทเี่ รยี กช่อื อยา งอื่น

ใหเปน ไปตามขอ บังคับของมหาวทิ ยาลยั

หมวด ๘
ปริญญาและเครื่องหมายวิทยฐานะ

มาตรา ๖๑ ปริญญามีสามช้นั คอื

ปรญิ ญาเอก เรียกวา ดษุ ฎบี ัณฑติ ใชอกั ษรยอ ด.

ปรญิ ญาโท เรยี กวา มหาบัณฑติ ใชอ ักษรยอ ม.

ปริญญาตรี เรยี กวา บัณฑิต ใชอ ักษรยอ บ.

มาตรา ๖๒ มหาวิทยาลยั มีอํานาจใหปรญิ ญา อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรในสาขาวิชาท่ีมี

การสอนในมหาวิทยาลัย และรวมใหปริญญา อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรในสาขาวิชาที่มีการจัด

การศกึ ษารวมกับสถานศึกษาชน้ั สูงอ่ืนในประเทศหรอื ตา งประเทศหรอื องคการระหวา งประเทศ

การกาํ หนดใหส าขาวชิ าใดมีปริญญา อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตรชั้นใดรวมท้ังการใชอักษรยอ

สําหรับสาขาวิชาน้ันอยางไร ใหเปน ไปตามขอบังคบั ของมหาวิทยาลยั และประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา

มาตรา ๖๓ สภามหาวิทยาลัยอาจออกขอบังคับของมหาวิทยาลัยกําหนดใหผูสําเร็จการศึกษา

ชัน้ ปรญิ ญาตรี ไดรบั ปรญิ ญาตรเี กียรตนิ ิยมอนั ดบั หนง่ึ หรอื ปริญญาตรเี กียรตนิ ยิ มอนั ดบั สองก็ได

มาตรา ๖๔ มหาวิทยาลัยมีอํานาจใหปริญญากิตติมศักด์ิแกผูซ่ึงสภามหาวิทยาลัยเห็นวา

ทรงคณุ วุฒิสมควรแกป ริญญาน้ัน ๆ แตจะใหปริญญาดังกลาวแกคณาจารยประจํา ผูดํารงตําแหนงตาง ๆ

ในมหาวิทยาลัย นายกสภามหาวิทยาลัย หรือกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา ๒๑ ในขณะดํารง

ตําแหนง มิได

เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๖๘ ก หนา ๒๔ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกจิ จานุเบกษา

ชั้น สาขาของปริญญา และหลักเกณฑการใหปริญญากิตติมศักด์ิ ใหเปนไปตามขอบังคับของ
มหาวิทยาลัย

มาตรา ๖๕ มหาวิทยาลยั อาจกําหนดใหมคี รุยวิทยฐานะหรอื เข็มวิทยฐานะเปนเครื่องหมายแสดง
วทิ ยฐานะของผูไดรับปริญญา อนปุ รญิ ญา หรือประกาศนียบตั ร และอาจกําหนดใหมีครุยประจําตําแหนง
นายกสภามหาวิทยาลัย ครุยประจําตําแหนงกรรมการสภามหาวิทยาลัย ครุยประจําตําแหนงผูบริหาร
หรอื ครยุ ประจําตาํ แหนง คณาจารยของมหาวทิ ยาลัยก็ได

การกําหนดลักษณะ ชนิด ประเภท และสวนประกอบของครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ
และครยุ ประจาํ ตําแหนง ใหทําเปน ขอบังคับของมหาวทิ ยาลัยและประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจําตําแหนงจะใชในโอกาสใดโดยมีเงื่อนไขอยางใด
ใหเปน ไปตามขอบังคบั ของมหาวทิ ยาลัย

มาตรา ๖๖ สภามหาวิทยาลัยอาจกําหนดใหมตี รา เครือ่ งหมาย หรือสัญลักษณของมหาวิทยาลัย
หรือสวนงานของมหาวิทยาลยั กไ็ ด โดยทาํ เปนประกาศของมหาวิทยาลยั และประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา

การใชตรา เครอ่ื งหมาย หรอื สญั ลกั ษณตามวรรคหนึง่ เพ่ือการคา หรือการใชส ่ิงดังกลาวที่มิใชเพ่ือ
ประโยชนข องมหาวทิ ยาลยั หรือสว นงานของมหาวทิ ยาลัย ตอ งไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากมหาวิทยาลัย
หรอื สว นงานของมหาวิทยาลัย แลวแตกรณี

มาตรา ๖๗ สภามหาวิทยาลัยอาจกําหนดใหมีเคร่ืองแบบ เคร่ืองหมายหรือเคร่ืองแตงกายของ
นักศึกษา และผูปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยก็ได โดยทําเปนขอบังคับของมหาวิทยาลัยและประกาศ
ในราชกิจจานเุ บกษา

หมวด ๙
บทกาํ หนดโทษ

มาตรา ๖๘ ผูใดใชครุยวทิ ยฐานะ เขม็ วทิ ยฐานะ ครุยประจําตําแหนง เคร่ืองแบบ เคร่ืองหมาย
หรือเคร่ืองแตงกายของนักศึกษา และผูปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย หรือส่ิงใดท่ีเลียนแบบส่ิงดังกลาว
โดยไมมีสิทธิที่จะใช หรือแสดงดวยประการใด ๆ วาตนมีปริญญา อนุปริญญา หรือประกาศนียบัตร
หรอื มีตาํ แหนงใดในมหาวิทยาลัยโดยท่ีตนไมมีสิทธิถาไดกระทําเพ่ือใหบุคคลอ่ืนเช่ือวาตนมีสิทธิท่ีจะใช

เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หนา ๒๕ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐
ราชกิจจานุเบกษา

หรอื มวี ิทยฐานะ หรอื ตาํ แหนงเชนนั้นตอ งระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท
หรือทง้ั จาํ ทงั้ ปรับ

มาตรา ๖๙ ผใู ด
(๑) ปลอม หรือทําเลยี นแบบซงึ่ ตรา เคร่ืองหมาย หรือสัญลักษณของมหาวิทยาลัยหรือสวนงาน
ของมหาวทิ ยาลยั ไมวาจะทาํ เปน สีใด หรือทาํ ดวยวธิ ใี ด ๆ
(๒) ใชตรา เครื่องหมาย หรือสัญลักษณของมหาวิทยาลัยหรือสวนงานของมหาวิทยาลัยปลอม
หรอื ซ่ึงทาํ เลยี นแบบ
(๓) ใช หรือทาํ ใหปรากฏซึ่งตรา เครอื่ งหมาย หรอื สัญลักษณของมหาวิทยาลัยหรือสวนงานของ
มหาวทิ ยาลัยที่วัตถุ หรอื สินคา ใด ๆ โดยฝาฝน มาตรา ๖๖ วรรคสอง
ตองระวางโทษจาํ คุกไมเกินหนง่ึ ป หรือปรบั ไมเ กนิ หน่งึ แสนบาท หรอื ท้งั จาํ ทงั้ ปรับ
ถาผูกระทําความผดิ ตาม (๑) เปน ผกู ระทาํ ความผิดตาม (๒) ดวย ใหล งโทษแตกระทงเดียว
ความผิดตาม (๓) เปนความผิดอนั ยอมความได

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๗๐ ใหโอนบรรดากิจการ ทรัพยสิน สิทธิ หนี้ งบประมาณ และรายไดของมหาวิทยาลัย
มหิดลตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๓๐ และพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ มาเปน ของมหาวิทยาลยั ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี

มาตรา ๗๑ ใหขาราชการ ลูกจางของสวนราชการซ่ึงสังกัดมหาวิทยาลัยมหิดลและพนักงาน
ซึ่งจางจากเงินรายไดของมหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๓๐ อยูในวันที่
พระราชบัญญัตินใี้ ชบ ังคับยังคงเปนขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาหรือลูกจางของสวนราชการ
หรือพนักงานซึ่งจางจากเงินรายไดของมหาวิทยาลัยมหิดลตอไป และใหปฏิบัติหนาที่ในมหาวิทยาลัย
ตามพระราชบัญญตั นิ ้ี โดยใหถ อื วา การปฏิบัติหนาท่ีดังกลาวเปนการปฏิบัติหนาท่ีราชการหรือการปฏิบัติ
หนาท่ีในฐานะลูกจางของสว นราชการหรอื พนักงานมหาวทิ ยาลัย แลวแตก รณี

ในระหวางปฏิบัติหนาท่ีตามวรรคหนึ่ง สิทธิเขาสูตําแหนงศาสตราจารย รองศาสตราจารย
ผูชวยศาสตราจารย หรือตําแหนงอื่นใดของขาราชการตามวรรคหน่ึงและสิทธิในการเลื่อนตําแหนงของ
ขาราชการ ใหเปน ไปตามกฎหมายวา ดวยระเบียบขาราชการพลเรอื นในสถาบันอุดมศกึ ษา

เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๖๘ ก หนา ๒๖ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐
ราชกจิ จานเุ บกษา

เพ่ือประโยชนในการบริหารงานบุคคลของขาราชการและลูกจางของสวนราชการตามวรรคหน่ึง
ใหถือวา มหาวทิ ยาลัยเปนสวนราชการ และใหข า ราชการและลกู จางของสว นราชการดังกลาว รับเงินเดือน
คาจาง และเงินอ่ืน ผา นมหาวทิ ยาลัยโดยเบกิ จายจากเงินงบประมาณแผนดิน งบบุคลากรที่จายในลักษณะ
เงินเดือนและคาจางประจํา และเงินอื่นท่ีเก่ียวของและใหนํากฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน
ในสถาบนั อดุ มศกึ ษาหรอื ระเบียบกระทรวงการคลังวา ดวยลูกจางของสวนราชการมาใชบงั คับ แลว แตกรณี

สิทธิในการเล่ือนตําแหนงของลูกจางของสวนราชการตามวรรคหน่ึง ใหเปนไปตามระเบียบ
กระทรวงการคลังวาดวยลกู จา งของสวนราชการ

ในกรณีท่ีนํากฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาหรือระเบียบ
กระทรวงการคลังวาดวยลูกจางของสวนราชการมาใชบังคับ แตไมสอดคลองกับพระราชบัญญัติน้ี
หรือมีกรณีที่ไมอาจนํามาใชบังคับไดดวยเหตุผลใด ใหการดําเนินการในสวนท่ีไมสอดคลองกับ
พระราชบญั ญัติน้ี หรือในสว นท่ไี มอาจนาํ มาใชบ ังคบั ได เปนไปตามขอ บังคับท่สี ภามหาวทิ ยาลัยกําหนด

มาตรา ๗๒ ใหพนักงานของมหาวิทยาลยั มหิดลซึ่งจางโดยเงนิ อุดหนนุ อยูในวันท่ีพระราชบัญญัตินี้
ใชบงั คับ เปนพนักงานมหาวิทยาลยั ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี

มาตรา ๗๓ ภายใตบ ังคับมาตรา ๗๗ และมาตรา ๗๘ ขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการ
ตามมาตรา ๗๑ ผูใดประสงคจะเปนพนักงานมหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัติน้ีตองแสดงเจตนาเปลี่ยน
สถานภาพเปนพนักงานมหาวิทยาลัยตออธิการบดีภายในหนึ่งปนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ
และใหมหาวิทยาลัยรับบรรจุเปนพนักงานมหาวิทยาลัย ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่สภามหาวิทยาลัย
กําหนดโดยทาํ เปน ประกาศของมหาวทิ ยาลยั

ขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการตามมาตรา ๗๑ ผูใดแสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพเปน
พนักงานมหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัตินี้ภายหลังกําหนดเวลาตามวรรคหน่ึง ใหมหาวิทยาลัยจัดใหมีการ
ประเมนิ บุคคลดงั กลาวตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีกําหนดไวในขอบังคับของมหาวิทยาลัย และเม่ือผาน
การประเมินดังกลาวแลว ใหมหาวิทยาลัยรับบรรจุเปนพนักงานมหาวิทยาลัย ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑและ
วธิ กี ารท่สี ภามหาวทิ ยาลยั กาํ หนดโดยทําเปน ประกาศของมหาวิทยาลัย

ใหพนักงานมหาวิทยาลัยท่ีไดรับการบรรจุตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง ไดรับเงินเดือน คาจาง
สวัสดิการ และประโยชนตอบแทนอยางอื่นไมนอยกวาเงินเดือน คาจาง สวัสดิการ และประโยชน
ตอบแทนอยา งอ่ืนท่เี คยไดรับอยูกอนเขาเปนพนักงานมหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัติน้ี และใหดําเนินการ
ตามมาตรา ๗๔ สําหรบั อัตราและตาํ แหนงดงั กลา ว

เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๖๘ ก หนา ๒๗ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐
ราชกิจจานุเบกษา

ขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการตามมาตรา ๗๑ ที่มิไดรับการบรรจุเปนพนักงาน
มหาวทิ ยาลยั ตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ ใหย ังคงสถานะความเปน ขา ราชการ หรอื ลกู จางของสว นราชการ

มาตรา ๗๔ บรรดาตาํ แหนงขาราชการและลูกจางของสวนราชการในมหาวิทยาลัยท่ีวางอยูหรือ
วางลงภายหลังวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ ใหยุบเลิกตําแหนงน้ัน และใหโอนอัตราตําแหนงและ
เงนิ งบประมาณแผนดินประจําอตั รา รวมตลอดทั้งงบบุคลากรท่ีจายในลักษณะเงินเดือนและคาจางประจํา
ซง่ึ ตง้ั ไวส ําหรบั ตําแหนง นัน้ ไปเปนของมหาวิทยาลยั และใหถ ือวาการโอนเงินงบประมาณดังกลาวเปนการ
โอนเงนิ งบประมาณรายจายตามกฎหมายวา ดวยวิธกี ารงบประมาณ

มาตรา ๗๕ ใหสวนราชการในมหาวิทยาลัยมหิดลตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล
พ.ศ. ๒๕๓๐ ซึ่งมอี ยใู นวันที่พระราชบญั ญตั นิ ี้ใชบงั คบั ใหค งอยูต อไป จนกวาจะมีประกาศของมหาวิทยาลัย
จดั ต้ังสวนงานตามมาตรา ๑๑ แหงพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๗๖ ใหผูดํารงตําแหนงนายกสภามหาวิทยาลัย อุปนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการ
สภามหาวทิ ยาลัย ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๓๐ อยูในวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช
บังคับ ปฏิบัติหนาท่ีนายกสภามหาวิทยาลัย อุปนายกสภามหาวิทยาลัย และกรรมการสภามหาวิทยาลัย
ตามพระราชบัญญตั ินีต้ อไป จนกวา จะไดมีสภามหาวทิ ยาลยั ตามพระราชบัญญัติน้ี ซ่ึงตองไมเกินหน่ึงรอย
แปดสิบวันนบั แตวันท่ีพระราชบัญญตั นิ ีใ้ ชบังคับ

มาตรา ๗๗ ใหผดู ํารงตาํ แหนง อธิการบดีตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๓๐
อยูใ นวนั ท่พี ระราชบญั ญัตนิ ี้ใชบ ังคับ คงดํารงตาํ แหนงตอ ไปจนกวา จะครบวาระ

ในกรณีที่ผูดํารงตําแหนงอธิการบดีตามวรรคหนึ่งเปนขาราชการของมหาวิทยาลัยใหเปล่ียน
สถานภาพจากขาราชการเปนพนกั งานมหาวิทยาลยั ตามพระราชบัญญัติน้ี

ใหนําความในวรรคหน่ึงและวรรคสองมาใชบังคับกับผูดํารงตําแหนงรองอธิการบดีและผูชวย
อธิการบดโี ดยอนุโลม

การเปล่ียนสถานภาพจากขาราชการเปนพนักงานมหาวิทยาลัยตามวรรคสองและวรรคสาม
ใหถือวาเปนการใหออกจากราชการเพราะทางราชการเลิกหรือยุบตําแหนงตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จ
บํานาญขา ราชการหรอื กฎหมายวาดวยกองทุนบาํ เหนจ็ บํานาญขา ราชการ แลว แตกรณี

มาตรา ๗๘ ใหผ ูด าํ รงตําแหนงคณบดี หัวหนาภาควิชา หัวหนาสวนราชการท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืน
ที่มีฐานะเทียบเทาคณะหรือภาควิชาตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๓๐ อยูในวันท่ี

เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๖๘ ก หนา ๒๘ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกจิ จานุเบกษา

พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ คงดํารงตําแหนงดังกลาวตอไปอีกเปนเวลาหกสิบวันนับแตวันท่ี
พระราชบัญญัตนิ ใ้ี ชบ ังคบั

ในกรณีท่ีผูดํารงตําแหนงตามวรรคหน่ึงแสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพเปนพนักงานมหาวิทยาลัย
ภายในหกสบิ วนั นบั แตว ันทพ่ี ระราชบญั ญตั นิ ้ใี ชบังคับ ใหบ ุคคลน้ันดํารงตาํ แหนง ดังกลาวตอ ไปจนครบวาระ

ใหผ ูดาํ รงตาํ แหนงรองของผูดํารงตําแหนงตามวรรคหน่ึงดํารงตําแหนงตอไปจนกวาผูดํารงตําแหนง
ตามวรรคหนงึ่ จะพน จากตําแหนง

การเปล่ียนสถานภาพจากขาราชการเปนพนักงานมหาวิทยาลัยตามวรรคสองใหถือวาเปนการ
ใหออกจากราชการเพราะทางราชการเลิกหรือยุบตําแหนงตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญขาราชการ
หรอื กฎหมายวาดวยกองทุนบําเหนจ็ บํานาญขาราชการ แลว แตกรณี

มาตรา ๗๙ ขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งไดรับการบรรจุเปนพนักงาน
มหาวทิ ยาลยั ตามมาตรา ๗๓ ใหถือวาเปนการใหออกจากราชการเพราะทางราชการเลิกหรือยุบตําแหนง
ตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญขาราชการ หรือกฎหมายวาดวยกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ
นับแตว นั ท่ไี ดรบั การบรรจเุ ปนพนักงานของมหาวทิ ยาลยั

ลกู จา งของสว นราชการซงึ่ มหาวิทยาลัยรบั เขาเปนพนักงานมหาวิทยาลัยตามมาตรา ๗๓ ใหถือวา
เปนการออกจากงานเพราะทางราชการยุบตําแหนง และใหมีสิทธิไดรับบําเหน็จตามระเบียบ
กระทรวงการคลงั วา ดว ยบาํ เหน็จลกู จาง

สมาชิกภาพของสมาชิกกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการตามกฎหมายวาดวยกองทุนบําเหน็จ
บาํ นาญขา ราชการของพนักงานมหาวิทยาลยั ตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยกองทุนบําเหน็จ
บาํ นาญขาราชการ

มาตรา ๘๐ การดํารงตําแหนงของผูดํารงตําแหนงอธิการบดี คณบดี หัวหนาภาควิชา หรือ
หัวหนาสวนราชการที่เรียกช่ืออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทาคณะหรือภาควิชาตามพระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๓๐ ใหนับเปนวาระการดํารงตําแหนงของผูดํารงตําแหนงดังกลาวตาม
พระราชบญั ญตั ิน้ี

มาตรา ๘๑ ใหผูดํารงตําแหนงกรรมการในคณะกรรมการประจําคณะ คณะกรรมการประจํา
บณั ฑติ วิทยาลยั คณะกรรมการประจําในวิทยาลยั คณะกรรมการประจาํ ในสถาบัน ศูนย หรือสํานัก และ
คณะกรรมการอ่ืน ซึ่งไดรับแตงต้ังหรือเลือกตั้งตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๓๐
อยูในวันที่พระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ คงดํารงตําแหนงตอไปจนกวาจะไดมีการแตงตั้งหรือเลือกตั้ง

เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๖๘ ก หนา ๒๙ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๕๐
ราชกจิ จานุเบกษา

คณะกรรมการดังกลาวใหมตามพระราชบัญญัตินี้ซึ่งตองไมเกินหน่ึงรอยแปดสิบวันนับแตวันที่
พระราชบญั ญัตินใี้ ชบังคับ

มาตรา ๘๒ ใหผ ูดํารงตําแหนงประธานสภาคณาจารย และสมาชิกสภาคณาจารยตามพระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๓๐ อยูในวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับเปนประธานสภาคณาจารยและ
สมาชิกสภาคณาจารยตอไป จนกวาจะไดมาซ่ึงประธานสภาคณาจารยและสมาชิกสภาคณาจารยตาม
พระราชบญั ญตั ิน้ี ซง่ึ ตองไมเกินหน่ึงรอ ยแปดสิบวันนบั แตวนั ท่พี ระราชบญั ญตั นิ ใี้ ชบังคบั

มาตรา ๘๓ ใหผูซ่ึงเปนศาสตราจารย ศาสตราจารยพิเศษ ศาสตราจารยเกียรติคุณ รองศาสตราจารย
รองศาสตราจารยพเิ ศษ ผูชว ยศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารยพ ิเศษและอาจารยประจาํ ของมหาวิทยาลัยมหิดล
ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. ๒๕๓๐ อยูในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ คงมีฐานะ
ศาสตราจารย ศาสตราจารยพิเศษ ศาสตราจารยเกียรติคุณ รองศาสตราจารย รองศาสตราจารยพิเศษ
ผชู ว ยศาสตราจารย ผชู ว ยศาสตราจารยพเิ ศษ และอาจารยประจําตามพระราชบญั ญัติน้ี

ใหผูซึ่งเปน อาจารยพิเศษของมหาวิทยาลัยมหิดลตามพระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั มหิดล พ.ศ. ๒๕๓๐
อยูในวนั ท่พี ระราชบัญญัตนิ ้ีใชบ งั คบั เปนอาจารยพ ิเศษของมหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัติน้ีจนครบกําหนด
ทไี่ ดร ับแตงตั้ง

มาตรา ๘๔ ใหออกขอบังคับหรือประกาศ เพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ีใหแลวเสร็จ
ภายในสามปน บั แตวันที่พระราชบัญญตั นิ ใ้ี ชบังคบั

ในระหวางที่ยังมิไดออกขอบังคับหรือประกาศ เพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ีใหนํา
พระราชกฤษฎีกา กฎทบวง ประกาศทบวงมหาวิทยาลัย ระเบียบและขอบังคับที่ออกตามพระราชบัญญัติ
มหาวทิ ยาลยั มหิดล พ.ศ. ๒๕๓๐ ท่ีใชอ ยใู นวันทพ่ี ระราชบญั ญัตินี้ใชบังคับมาใชบังคับโดยอนุโลมเทาที่
ไมขดั หรอื แยง กับพระราชบญั ญตั นิ ี้

ผูร บั สนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สุรยุทธ จุลานนท
นายกรฐั มนตรี

เลม ๑๒๔ ตอนท่ี ๖๘ ก หนา ๓๐ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๐
ราชกจิ จานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ีสมควรปรับปรุงการศึกษา
ระดบั อุดมศึกษาใหส อดคลอ งกบั การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม โดยการสงเสริมใหมหาวิทยาลัยของ
รัฐพัฒนาไปสูการเปนมหาวิทยาลัยของรัฐท่ีไมเปนสวนราชการแตอยูในกํากับของรัฐ เพื่อประโยชนในการ
บรหิ ารจดั การท่ีเปน อิสระ และมีความคลองตัว สามารถจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาไดอยางมีคุณภาพและ
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาจะตองคํานึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศ
ทางวิชาการ สมควรปรับปรุงการบริหารมหาวิทยาลัยมหิดลใหเปนไปตามแนวทางดังกลาว จึงจําเปนตองตรา
พระราชบัญญัตนิ ี้


Click to View FlipBook Version