The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปีสภามหาวิทยาลัยมหิดล 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kaew Kaew, 2021-10-06 06:42:35

รายงานประจำปีสภามหาวิทยาลัยมหิดล 2564

รายงานประจำปีสภามหาวิทยาลัยมหิดล 2564

รายงานประจำ�ปี

สภามหาวทิ ยาลยั มหิดล 2564

ภาพปกโดย
ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณ นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร
นายกสภามหาวิทยาลัยมหดิ ล

รายงานประจ�ำ ปี
สภามหาวทิ ยาลยั มหิดล 2564

(ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564)

สาร จากนายกสภามหาวิทยาลัยมหดิ ล

ในรอบปีีที่�่ผ่่านมาวิิกฤตการณ์์การแพร่่ระบาดของ การผลิิตวััคซีีนไรฝุ่�นที่่�ได้้มาตรฐาน WHO และ FDA ของ
COVID-19 ส่่งผลกระทบอย่่างรุุนแรงต่่อทุุกประเทศทั่่�วโลก ประเทศสหรััฐอเมริิกา รวมทั้้�ง อย.ของประเทศไทยด้้วย นัับเป็็น
รวมทั้้�งประเทศไทยในทุุกมิิติิโดยเฉพาะด้้านเศรษฐกิิจและ รายแรกของกลุ่�มประเทศอาเซีียน โดยมีีบริิษััทเอกชนเป็็นผู้�รั บ
สัังคม อย่่างไรก็็ตาม จากการที่่�สภามหาวิิทยาลััยได้้เยี่�่ยมชม ถ่่ายทอดเทคโนโลยีีเพื่่�อผลิิตและจััดจำำ�หน่่าย มีีการสร้้างและ
แ ล ะ รัั บ ฟัั ง ผ ล ก า ร ดำำ� เ นิิ น ง า น ข อ ง ส่่ ว น ง า น ทั้้� ง ห ม ด ข อ ง พััฒนา Research Cluster for Frontier Research ด้้านวิิจััย
มหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ลจำำ�นวน 41 ส่่วนงาน พบว่่า ฝ่่ายบริิหารและ และนวััตกรรม และที่น�่ ่า่ ยิินดีีคืือ ผลงานตีีพิิมพ์ใ์ นระดัับนานาชาติิ
ทุุกส่่วนงานของมหาวิิทยาลััย สามารถใช้้วิิกฤติิ ครั้�งนี้้�ให้้เป็็น มีีจำ�ำ นวนเพิ่่�มมากขึ้�น
โอกาสได้้อย่่างน่่าชื่�่นชม สามารถขัับเคลื่่�อนและพััฒนาพัันธกิิจ ด้้านการศึึกษา มหาวิิทยาลััยมหิิดลได้้รัับมาตรฐาน
ไปสู่เ�่ ป้า้ หมายได้้อย่า่ งโดดเด่น่ ในหลายด้้าน ดัังนี้้� หลัักสููตรระดัับสากลในปีีที่่�ผ่่านมา จำำ�นวน 9 หลัักสููตร ทำำ�ให้้
ด้้านการวิิจััย สามารถตอบโจทย์์ความต้้องการ ปััจจุุบัันมหาวิิทยาลััยมหิิดลมีีหลัักสููตรที่่�ได้้รัับการรัับรองระดัับ
ทางเศรษฐกิิจ สัังคม ของประเทศ ทั้้�งภาครััฐ เอกชนและ มาตรฐานสากล จำ�ำ นวนถึงึ 37 หลัักสููตรซึ่ง� มากที่ส�่ ุดุ ในประเทศไทย
สามารถถ่่ายทอดสู่�่เชิิงพาณิิชย์์ เช่่น สารสกััดกระชายขาว มีีการพััฒนาหลัักสููตรแบบ Flexible Education เช่่น หลัักสููตร
สู่�่การพััฒนาเป็็นยาต้้าน COVID-19 การค้้นพบยีีนคนไทยที่�่ Bachelor of Arts and Science in Creative Technology
สััมพัันธ์์กัับการแพ้้ยากลุ่�มซััลฟาเป็็นครั้�งแรกของโลก การสร้้าง (International Program) หลัักสููตร Double Degrees เช่่น
ผลิิตภััณฑ์์เชิิงชีีววััตถุุรัักษามะเร็็งเม็็ดเลืือดขาวจากนวััตกรรม หลัักสููตรแพทยศาสตรบััณฑิิต-การจััดการมหาบััณฑิิต (หลัักสููตร
ทางการแพทย์์คุุณภาพระดัับโลกในรููปแบบของสตาร์์ทอััพ นานาชาติิ) หลัักสููตรแพทยศาสตรบััณฑิิต-วิิศวกรรมศาสตร
ครั้�งแรกในภููมิิภาคอาเซีียน การศึึกษาวิิจััยวััคซีีนโควิิด-19 มหาบััณฑิิต สาขาวิิศวกรรมชีีวการแพทย์์ เป็็นต้้น นอกจากนี้้�
“HXP-GPOVac” ซึ่�งเป็็นวััคซีีนชนิิดเชื้�อตาย โดยเริ่�มทดลอง ยัังมีีการพััฒนา Flexible Education Platform เพื่�่อสนัับสนุุน
ในระยะที่�่สองและเมื่่�อวััคซีีนผ่่านการวิิจััยในมนุุษย์์ทั้้�งสาม การศึึกษาตลอดชีีวิิต ด้้วยนโยบายยึึดผู้�เรีียนเป็็นศููนย์์กลาง
ระยะแล้้ว จะถููกนำ�ำ ไปขึ้้�นทะเบีียนกัับองค์์การอาหารและยา เปิิดโอกาสให้้เรีียนรู้� ให้้คิิดให้้สร้้างสรรค์์ ให้้ปฏิิบััติิให้้พึ่่�งตนเอง
เพื่�่อให้้คนไทยได้้เข้้าถึึงวััคซีีนที่่�มีีคุุณภาพได้้ง่่ายในราคาที่่�ถููกลง สร้า้ งความเป็น็ มนุษุ ย์ท์ ี่�่สมบููรณ์เ์ ห็น็ คุณุ ของแผ่น่ ดินิ โดยบููรณาการ
การเรีียนรู้�คู่�กั บการใช้้ชีีวิิตในโลกแห่่งความเป็็นจริิง

“ผมขอขอบคุุณกรรมการสภามหาวิิทยาลััย
ผู้�บริิหารและบุุคลากรของมหาวิิทยาลััย
ทุุกท่่านที่�่ได้้ร่่วมแรงร่่วมใจขัับเคลื่�่อน
แ ล ะ พัั ฒ น า ม ห า วิิ ทย า ลััย แ ห่่ ง นี้ � ใ ห้้ เ ป็็ น
ด้า้ นการบริกิ ารวิชิ าการ หลายส่ว่ นงานของมหาวิทิ ยาลััย มหาวิิทยาลััยแห่่งความหวััง มหาวิิทยาลััย
ได้ร้ัับการรัับรองคุณุ ภาพในระดัับนานาชาติิ เช่น่ Joint Commission แห่่งโอกาส และมหาวิิทยาลััยแห่่งอนาคต
International (JCI), The Association for Assessment and เพราะมหาวิิทยาลััยมหิิดลคืือปััญญา
Accreditation of Laboratory Animal Care International
(AAALAC), Certificate of Compliance to OECD Principles of ”ของแผ่่นดิิน เพื่่�อประโยชน์์สุุขของสัังคม
GLP, Thailand Quality Class, Thailand Quality Class Plus:
Operation เป็น็ ต้น้ นอกจากนี้้� อุทุ ยานธรรมชาติวิ ิทิ ยาสิริ ีีรุกุ ขชาติิ ประเทศชาติิ และมวลมนุษุ ยชาติอิ ย่า่ งยั่ง�่ ยืืน
ยัังได้้รัับการรัับรองจาก Botanic Gardens Conservation
International (BGCI) ให้เ้ ป็น็ สวนพฤกษศาสตร์ท์ ี่ม�่ ีีมาตรฐานระดัับ
สากลแห่่งแรกของประเทศไทยอีีกด้ว้ ย

ด้้านการบริิหาร มหาวิิทยาลััยได้้ปรัับแผนยุุทธศาสตร์์
กลยุุทธ์์และตััวชี้้�วััด โดยจััดทำำ�โครงการ Flagship Projects
ให้้เข้้ากัับ Performance Agreements ที่่�ได้้ทำำ�กัับ
สภามหาวิิทยาลััยทำ�ำ ให้้เป้้าหมายและการขัับเคลื่�่อนยุุทธศาสตร์์
มีีความเป็็นรููปธรรมอย่่างชััดเจน โดยเฉพาะในเรื่�องของ World
University Rankings และ Sustainable Development Goals
ทำ�ำ ให้้มีีความมั่่�นใจได้้เป็็นอย่่างมากว่่า มหาวิิทยาลััยจะสามารถ
บรรลุุถึงึ วิสิ ััยทััศน์์ ปณิิธาน และปรััชญาที่่ต�ั้�งไว้้ด้้วยการบููรณาการ
ของทุุกส่่วนงานภายใน และบููรณาการกัับหน่่วยงานภายนอกทั้้�ง
ภาครััฐและเอกชนทั้้�งในและต่่างประเทศ

ศาสตราจารย์์คลิินิิกเกีียรติิคุุณ นพ.ปิิยะสกล สกลสััตยาทร
นายกสภามหาวิิทยาลััยมหิิดล

ส ารบัญ

รายงานประจำำ�ปีีสภามหาวิิทยาลััย

ส่่วนที่่� 1 สภามหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ล

• คำำ�ขวััญ ปรััชญา วิสิ ัยั ทััศน์์ ยุทุ ธศาสตร์ม์ หาวิทิ ยาลััยมหิิดล 04
• คณะกรรมการสภามหาวิทิ ยาลััยมหิิดล 05
• โครงสร้้างคณะกรรมการสภามหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ล 07
• อำำ�นาจหน้า้ ที่่ส� ภามหาวิิทยาลัยั มหิดิ ล 07
• บทบาทหน้้าที่่�และโครงสร้้างสำำ�นักั งานสภามหาวิิทยาลัยั มหิิดล 08
• การประชุุมสภามหาวิิทยาลััยมหิดิ ล 09
• งบประมาณรายจ่่าย มหาวิิทยาลััยมหิดิ ล 10
• ผลการประเมิินคุณุ ธรรมและความโปร่ง่ ใสในการดำ�ำ เนิินงานของหน่ว่ ยงานภาครัฐั (ITA) 10
• พระราชบััญญัตั ิิมหาวิทิ ยาลััยมหิิดล พ.ศ. 2550 11

และข้้อบัังคับั ที่่�เกี่ย� วข้้องกับั สภามหาวิทิ ยาลัยั มหิิดล (สำำ�หรับั Download)

ส่ว่ นที่่� 2 ผลการดำ�ำ เนินิ งานของสภามหาวิิทยาลััยมหิดิ ล

• เป้้าหมายของสภามหาวิทิ ยาลัยั ในการผลัักดัันเป้า้ หมายการพััฒนาที่ย�่ั่�งยืนื (SDGs) 14
• ผลการเยี่ย�่ มชมและรับั ฟังั ผลการดำ�ำ เนินิ งานของส่ว่ นงาน ปีี 2564 (MU Council Visit ครั้ง� ที่�่ 2) 17
• โครงสร้้างคณะกรรมการสภามหาวิิทยาลัยั มหิิดล 25
• ผลการดำำ�เนิินงานของคณะกรรมการตาม พ.ร.บ. มหาวิิทยาลััยมหิดิ ล พ.ศ. 2550 และ 26

คณะกรรมการตาม พ.ร.บ. การอุุดมศึึกษา พ.ศ. 2562 (5 คณะ)
• ผลการดำ�ำ เนิินงานของคณะกรรมการประจำ�ำ สภามหาวิิทยาลัยั (7 คณะ) 28
• รายงานผลการดำำ�เนินิ งานของอธิิการบดีีต่่อสภามหาวิิทยาลััย 30

ส่่วนที่�่ 3 จากสภามหาวิทิ ยาลัยั สู่่�การปฏิิบััติิ

• นโยบายของนายกสภามหาวิิทยาลััยมหิดิ ลต่่อ 39
กรรมการสภามหาวิทิ ยาลัยั มหิิดล และผู้ท�้ รงคุุณวุุฒิิ (ชุุดใหม่่)

• แนวทางด้้านการวิจิ ัยั มหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ล 40
ดร.สมเกีียรติ ิ ตั้้ง� กิิจวานิิชย์์ กรรมการสภามหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ล ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ

• เส้้นทางการเปลี่�ยนผ่า่ นสู่�มหาวิิทยาลัยั ยุุคดิิจิทิ ััล 41
ดร.ทวีีศักั ดิ์� กออนัันตกููล กรรมการสภามหาวิิทยาลััยมหิดิ ล ผู้ท้� รงคุุณวุฒุ ิิ

• วิิสััยทััศน์์ ยุทุ ธศาสตร์์ แผนการดำ�ำ เนินิ งานของ 42
หััวหน้้าส่ว่ นงานที่่�รับั ตำำ�แหน่ง่ ใหม่่ (ตุลุ าคม 2563 - กันั ยายน 2564)

บท สรุปผ้บู รหิ าร

สภามหาวิิทยาลััยมหิิดลเป็็นองค์์กรสููงสุุดของมหาวิิทยาลััยในการกำ�ำ กัับดููแลมหาวิิทยาลััย ปฏิิบััติิหน้้าที่่�่โดยยึึดหลััก
ธรรมาภิิบาลถืือประโยชน์์ของมหาวิิทยาลััย สัังคม และประเทศชาติิเป็็นสำ�ำ คััญ โดยมีีอำ�ำ นาจหน้้าที่่�ในการออกข้้อบัังคัับ ประกาศ อนุุมััติิ
พิจิ ารณา รัับรองเรื่อ� งต่่าง ๆ ตามพระราชบััญญัตั ิิ (พ.ร.บ.) มหาวิิทยาลัยั มหิดิ ล พ.ศ. 2550
ทั้้�งนี้้� เมื่�อวัันที่่� 1 มิิถุุนายน 2564 – 30 สิิงหาคม 2564 นายกสภามหาวิิทยาลััย กรรมการสภามหาวิิทยาลััย
และผู้�้บริิหารมหาวิิทยาลััยได้้เยี่�่ยมชมและรัับฟัังผลการดำ�ำ เนิินงานของส่่วนงาน ปีี 2564 (MU Council Visit ครั้้�งที่�่ 2)
จำ�ำ นวน 41 ส่่วนงาน โดยจะเห็็นได้้ว่่าส่่วนงานมีีผลการดำ�ำ เนิินงานที่่�สอดคล้้องกัับยุุทธศาสตร์์ของมหาวิิทยาลััยมหิิดล
และมีีโครงการที่่�มีีผลผลิิตและผลลััพธ์์ที่�่โดดเด่่น (High Output/High Impact) จำ�ำ นวน 23 ส่่วนงาน 43 โครงการ ทั้้�งนี้้�
นายกสภามหาวิิทยาลััย กรรมการสภามหาวิิทยาลััย และทีีมผู้้�บริิหารได้้ให้้ข้้อคิิดเห็็นและข้้อเสนอแนะต่่อหััวหน้้าส่่วนงาน สรุุปดัังนี้้�
1. พััฒนาโครงสร้้างและสนัับสนุุนการพััฒนาบุุคลากรทางการวิิจััย 2. สร้้างงานวิิจััยเพื่่�อตอบโจทย์์/แก้้ปััญหาสัังคมและประเทศ
3. ผลักั ดัันหลักั สูตู ร Flexible Learning and Interdisciplinary Education 4. พััฒนา Online & Extended Learning Platform
5. นำำ�องค์์ความรู้�เพื่่�อผลัักดัันเชิิงนโยบายและเผยแพร่่สู่่�สาธารณะ 6. ร่่วมมืือกัับภาคเอกชนเพื่่�อเพิ่่�มหุ้�นส่่วนเชิิงกลยุุทธ์์และ
พััฒนาเชิิงพาณิิชย์์ 7. นำ�ำ เทคโนโลยีีดิิจิิทััลและปััญญาประดิิษฐ์์ (AI) มาประยุุกต์์ใช้้ในการทำำ�งานเพื่่�อความยั่�งยืืนขององค์์กร และ
8. ผนวกแนวคิิดเรื่อ� งเป้า้ หมายการพัฒั นาที่่ย�ั่�งยืนื (SDGs) กัับการดำำ�เนิินพัันธกิจิ ของมหาวิทิ ยาลััย
ตามที่่�มีีพระบรมราชโองการโปรดเกล้้าโปรดกระหม่่อมแต่่งตั้�งกรรมการสภามหาวิิทยาลััย ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ จำำ�นวน 15 ท่่าน
ตั้�งแต่่วัันที่�่ 6 ธัันวาคม 2563 เป็็นต้้นมา กรรมการสภามหาวิิทยาลััยชุุดใหม่่ ได้้ปฏิิบััติิหน้้าที่�่ตามมาตรา 24 ของ พ.ร.บ. มหาวิิทยาลััย
มหิิดล พ.ศ. 2550 โดยตลอดช่่วงปีีงบประมาณ 2564 ที่�่ประชุุมสภามหาวิิทยาลััยได้้รัับฟัังแนวทางการบริิหารพร้้อมข้้อเสนอแนะ
ในการขัับเคลื่่�อนด้้านการวิิจััย นวััตกรรม และการเปลี่่�ยนผ่่านสู่�มหาวิิทยาลััยยุุคดิิจิิทััล จากกรรมการสภามหาวิิทยาลััย ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ
และให้้ข้อ้ เสนอแนะหัวั หน้้าส่่วนงานที่�ไ่ ด้ร้ ัับการแต่่งตั้ง� ใหม่่ จำ�ำ นวน 13 ส่่วนงาน ทั้้ง� นี้้� กรรมการสภามหาวิิทยาลัยั ได้ม้ ีีการกำำ�กับั ติดิ ตาม
ให้้ข้้อเสนอแนะเพื่่�อผลัักดัันและขัับเคลื่่�อนยุุทธศาสตร์์ของส่่วนงานและของมหาวิิทยาลััยมหิิดลอย่่างต่่อเนื่่�อง เพื่่�อนำำ�มหาวิิทยาลััยมหิิดล
สู่ก� ารเป็็น “มหาวิทิ ยาลัยั ระดัับโลก” และ “เพื่่อ� ไปสู่่ก� ารพััฒนาที่ย่�ั่�งยืืน”
ปััจจุุบัันโครงสร้้างคณะกรรมการสภามหาวิิทยาลััยมหิิดล ประกอบด้้วยคณะกรรมการตาม พ.ร.บ. มหาวิิทยาลััยมหิิดล
พ.ศ. 2550 และคณะกรรมการตาม พ.ร.บ. การอุุดมศึึกษา พ.ศ. 2562 รวม 5 คณะกรรมการ ดัังนี้้� 1. คณะกรรมการตรวจสอบ
การบริิหารงานประจำำ�มหาวิิทยาลััย 2. คณะกรรมการอุุทธรณ์แ์ ละร้อ้ งทุุกข์ป์ ระจำ�ำ มหาวิทิ ยาลััยมหิิดล 3. คณะกรรมการพิิจารณาตำ�ำ แหน่่ง
ทางวิชิ าการ 4. คณะกรรมการบริหิ ารความเสี่ย่� ง และ 5. คณะกรมการธรรมาภิบิ าลและจริยิ ธรรม และคณะกรรมการประจำำ�สภามหาวิทิ ยาลัยั
จำ�ำ นวน 7 คณะกรรมการ ดัังนี้้� 1. คณะกรรมการขัับเคลื่่�อนยุุทธศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยมหิิดล 2. คณะกรรมการนโยบายและกำ�ำ กัับดููแล
ด้้านการวิิจััย 3. คณะกรรมการนโยบายและกำำ�กัับดููแลด้้านการศึึกษา 4. คณะกรรมการนโยบายและกำำ�กัับดููแลด้้านทรััพยากรบุุคคล
5. คณะกรรมการพิจิ ารณากลั่ น� กรองและให้ค้ วามเห็น็ ทางกฎหมาย 6. คณะกรรมการนโยบายและกำำ�กับั ดูแู ลด้า้ นการบริหิ ารสินิ ทรัพั ย์์ และ
7. คณะกรรมการนโยบายด้า้ นการระดมทุนุ และการสร้้าง Brand MAHIDOL โดยมีีกรรมการสภามหาวิทิ ยาลัยั ผู้ท้� รงคุณุ วุุฒิิ เป็น็ ประธาน

1

กัปนั รภะัตยั ิมิ หาิกิดรลรศมูนู พย่์อ่ก์ อาุ้ร้ม� เลรูียีกู นมรู้หม� ิดิหิลดิ สลิทิ ธาคาร มหาวิิทยาลััยมหิิดล

2

สว่ นที่ 1
สภามหาวิทยาลยั มหิดล

• คำ�ำ ขวัญั ปรัชั ญา วิิสัยั ทััศน์์ ยุทุ ธศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลััยมหิิดล 04
• คณะกรรมการสภามหาวิิทยาลััยมหิิดล 05
• โครงสร้้างคณะกรรมการสภามหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล 07
• อำ�ำ นาจหน้า้ ที่ส่� ภามหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล 07
• บทบาทหน้า้ ที่่�และโครงสร้า้ งสำ�ำ นัักงานสภามหาวิทิ ยาลัยั มหิิดล 08
• การประชุุมสภามหาวิทิ ยาลััยมหิิดล 09
• งบประมาณรายจ่่าย มหาวิทิ ยาลััยมหิิดล 10
• ผลการประเมิินคุุณธรรมและความโปร่่งใส 10

ในการดำำ�เนินิ งานของหน่ว่ ยงานภาครัฐั (ITA)
• พระราชบััญญัตั ิมิ หาวิทิ ยาลััยมหิดิ ล พ.ศ. 2550 11

และข้้อบัังคัับที่�่เกี่�ย่ วข้้องกัับสภามหาวิทิ ยาลัยั มหิิดล

3

ปัญั ญาของแผ่่นดินิ

WISDOM OF THE LAND

มหิิดลมหาวิิทยาลััย

คำ�ำ ขวัญั MOTTO

อตตฺ านํ อุปมํ กเร พงึ ปฏบิ ัตติ ่อผู้อ่ืน เหมือนดังปฏบิ ตั ิต่อตนเอง
Do unto others as you would have others do unto you.

ปรัชญา PHILOSOPHY

ความสำ�ำ เร็็จที่่�แท้จ้ ริิงอยู่ท� ี่�่การนำ�ำ ความรู้�ไปประยุุกต์์ใช้้
เพื่่�อประโยชน์์สุขุ แก่่มวลมนุุษยชาติิ
True success is not in the learning,
but in its application to the benefit of mankind.

วิิสัยั ทัศั น์์ VISION

มหาวิิทยาลัยั มหิดิ ลมุ่่�งมั่�นที่�่จะเป็น็ มหาวิิทยาลััยอยู่�ในอัันดัับ 1 ใน 100
มหาวิิทยาลััยที่ด�่ ีีที่่�สุดุ ของโลกในปีี พ.ศ. 2573
To be ranked no.1 in the World Top 100 universities in 2030.

ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ยุทธศาสตร์ท่ี 4

Global Research Innovative Policy Advocacy Management for
and Innovation Education and and Leaders in Self-Sufficiency and
Authentic Learning Professional /
Academic Services Sustainable
Organization

ลานพระราชานุุสาวรียี ์์ ศูนู ย์ก์ ารเรียี นรู้ม� หิดิ ล

4

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลยั มหดิ ล

ศาสตราจารย์ค์ ลิินิิกเกีียรติิคุณุ นพ.ปิยิ ะสกล สกลสััตยาทร
นายกสภามหาวิิทยาลััยมหิิดล

กรรมการสภามหาวทิ ยาลัย ผูท้ รงคุณวุฒิ

ศ.คลินิ ิกิ พิเิ ศษ นพ.เสรีี ตู้จ� ินิ ดา ดร.โชค บููลกุลุ นางโชติิกา สวนานนท์์
อุปุ นายกสภามหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล

ดร.ทวีีศัักดิ์์� กออนัันตกููล ศ.เกีียรติคิ ุณุ นพ.ประเวศ วะสีี ศ. ดร.ปราณีี ทินิ กร

นายมนููญ สรรค์ค์ ุณุ ากร คุณุ หญิงิ ลักั ษณาจันั ทร เลาหพันั ธุ์� รศ. ดร.วรากรณ์์ สามโกเศศ

นางสาววลัยั รัตั น์์ ศรีีอรุณุ ศ. ดร.สุรุ ศักั ดิ์� ลิขิ สิทิ ธิ์ว� ัฒั นกุลุ ดร.สมเกีียรติิ ตั้้�งกิิจวานิิชย์์

ดร.สมศัักดิ์์� ลีีสวััสดิ์์�ตระกููล ศ. ดร.อมร จันั ทรสมบููรณ์์ นศ.พเก.ีีอยภริตชิ ิคิาุตณุ ิิ วิิชญาณรัตั น์์

อ้้างอิิง ราชกิจิ จานุุเบกษา ประกาศสำ�ำ นัักนายกรัฐั มนตรีี เรื่�อง แต่่งตั้�งกรรมการสภามหาวิทิ ยาลััยผู้ท�้ รงคุณุ วุฒุ ิิ ของมหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล 5
ประกาศ ณ วันั ที่�่ 8 ธัันวาคม 2563

กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั โดยตำ�แหน่ง

ศ. นพ.บรรจง มไหสวริยิ ะ อ. ดร.ธิติ ิคิ ม พััวพัันสวััสดิ์์� พลตำ�ำ รวจเอก นพ.จงเจตน์์ อาวเจนพงษ์์
อธิกิ ารบดีี มหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล ประธานสภาคณาจารย์์ นายกสมาคมศิษิ ย์เ์ ก่่าฯ

กรรมการสภามหาวิทยาลัย จากผู้บริหารระดบั คณบดีหรอื เทยี บเทา่

ศ. ดร.ฉััตรเฉลิิม อิศิ รางกููร ณ อยุุธยา ศ. ดร. นพ.ประสิทิ ธิ์� วััฒนาภา ศ. นพ.ปิิยะมิติ ร ศรีีธรา
คณบดีีคณะเทคนิคิ การแพทย์์ คณบดีีคณะแพทยศาสตร์์ศิริ ิริ าชพยาบาล คณบดีีคณะแพทยศาสตร์์โรงพยาบาลรามาธิบิ ดีี

ศ. ดร. นพ.ภััทรชััย กีีรติสิ ิิน รศ. ดร.ยาใจ สิทิ ธิิมงคล
ผู้อ�้ ำ�ำ นวยการสถาบันั บริหิ ารจัดั การเทคโนโลยีีและนวัตั กรรม คณบดีีคณะพยาบาลศาสตร์์

กรรมการสภามหาวทิ ยาลัย จากคณาจารย์ประจ�ำ

รศ. นพ.ไชยรัตั น์์ เพิ่่ม� พิกิ ุลุ ศ.พิเิ ศษ ดร.เดวิิด จอห์์น รููฟโฟโล รศ. ดร.นริิศรา จัันทราทิิตย์์
คณะแพทยศาสตร์ศ์ ิริ ิริ าชพยาบาล คณะวิทิ ยาศาสตร์์ คณะเวชศาสตร์์เขตร้้อน

รศ. ดร.ยศชนััน วงศ์ส์ วัสั ดิ์์� ศ. นพ.สุุรเดช หงส์อ์ ิงิ
คณะวิศิ วกรรมศาสตร์์ คณะแพทยศาสตร์์โรงพยาบาลรามาธิิบดีี

กรรมการสภามหาวิทยาลัย จากผ้ปู ฏบิ ัตงิ านในมหาวิทยาลัยท่ีมิใช่คณาจารย์ประจำ�

นายคำำ�รณ โชธนะโชติิ
คณะวิทิ ยาศาสตร์์

6 อ้า้ งอิิง พระราชบัญั ญัตั ิมิ หาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล พ.ศ. 2550
หมวด 2 การดำำ�เนิินการ มาตรา 21

โครงสรา้ งคณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

นายกสภามหาวิทิ ยาลััย
วาระการดำำ�รงตำำ�แหน่่ง 4 ปีี
อุปุ นายกสภามหาวิทิ ยาลััย
วาระการดำ�ำ รงตำ�ำ แหน่่ง 4 ปีี

กรรมการสภา กรรมการสภา กรรมการสภา กรรมการสภา กรรมการสภา
มหาวิิทยาลัยั มหาวิทิ ยาลัยั มหาวิทิ ยาลัยั มหาวิิทยาลััย มหาวิทิ ยาลัยั
ผู้ท้� รงคุณุ วุฒุ ิิ โดยตำำ�แหน่่ง จากผู้บ�้ ริิหารระดัับ จากคณาจารย์์ประจำำ� จากผู้้�ปฏิิบัตั ิิงานฯ
คณบดีีหรืือเทีียบเท่่า
(15 ท่่าน) อธิิการบดีี ( 5 ท่่าน) ( 1 ท่่าน)
วาระการดำ�ำ รงตำ�ำ แหน่่ง 4 ปีี ประธานสภาคณาจารย์์ ( 5 ท่่าน) วาระการดำำ�รงตำำ�แหน่่ง 2 ปีี วาระการดำำ�รงตำ�ำ แหน่่ง 2 ปีี
นายกสมาคมศิิษย์์เก่่าฯ

อำ�นาจหนา้ ทีส่ ภามหาวทิ ยาลยั มหดิ ล พิจิ า3รณา

อ�ำนาจหน้าที่ตามพระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั มหดิ ล พ.ศ. 2550 1. พิจิ ารณาแต่่งตั้�ง ถอดถอน
ศาสตราจารย์์ และ
คณะกรรมการสภามหาวิทิ ยาลััยมหิิดลออกข้อ้ บัังคับั ประกาศ อนุมุ ััติิ พิจิ ารณา รัับรองเรื่�องต่่าง ๆ ศาสตราจารย์พ์ ิเิ ศษ (82 ราย)
ตามอำ�ำ นาจหน้า้ ที่�่ (ตั้้�งแต่่ตุุลาคม 2563 - กัันยายน 2564) สรุปุ ดังั นี้้�
2. พิิจารณาแต่่งตั้�ง ถอดถอน
ออปกรข้ะ1อ้ กบาังัศคับั 2 ตำ�ำ แหน่่งทางวิชิ าการ (370 ราย)

1. ออกข้อ้ บังั คับั /ประกาศ อนุมุ ัตั ิิ 3. พิจิ ารณาแต่่งตั้ง� /ถอดถอน
ข้อ้ บังั คับั และประกาศ รองอธิิการบดีี คณบดีี
มหาวิทิ ยาลัยั (77 ฉบัับ) 1. อนุมุ ััติิแผนพััฒนาและแผน 6. อนุมุ ััติปิ ริิญญา อนุุปริญิ ญา ผู้้�อำ�นวยการ และหัวั หน้า้
ปฏิบิ ัตั ิกิ ารมหาวิทิ ยาลัยั (1 วาระ) (6,588 ราย) ส่่วนงานฯ (8 ราย)
2. ออกข้้อบังั คัับ/ประกาศ
ข้้อบังั คัับการบริหิ ารงาน 2. อนุุมััติิการจัดั ตั้ง� การรวมและ 7. อนุมุ ััติิเปิิดสอน ปรัับปรุงุ รับั 4รอง
บุคุ คล (2 ฉบัับ) การยุบุ เลิกิ ส่่วนงาน (7 วาระ) รายวิิชา (39 รายวิชิ า)
1. รัับรองรายงานประจำ�ำ ปีีของ
3. ออกข้้อบัังคับั /ประกาศ 3. อนุมุ ััติิการรัับเข้้า/ยกเลิกิ 8. อนุมุ ัตั ิปิ ิดิ รายวิิชาปิดิ มหาวิิทยาลัยั และเสนอต่่อ
ข้้อบัังคับั การเงินิ พัสั ดุ ุ สมทบของสถานศึกึ ษาชั้น� สูงู หลักั สูตู ร รัฐั มนตรีีเพื่่อ� รับั ทราบ (1 วาระ)
และทรัพั ย์ส์ ินิ ฯ (1 ฉบัับ) หรืือสถาบัันอื่ �น
9. อนุมุ ัตั ิปิ ระกาศนีียบััตร/
4. อนุมุ ััติิการจััดการ และยกเลิิก ปริิญญากิิตติิมศัักดิ์�
การจััดการศึึกษาร่่วมกัับ (191 ราย)
สถานศึกึ ษาชั้น� สูงู หรืือ
สถาบันั อื่น� 10.อนุมุ ััติิงบประมาณรายรับั /
รายจ่่ายของมหาวิิทยาลััย
5. อนุุมััติิการเปิดิ สอน และ (2 วาระ)
ปรับั ปรุุง แก้้ไขหลักั สูตู ร
การศึึกษา (328 หลักั สููตร)

7

สำ�ำ นักั งานสภามหาวิิทยาลััยมหิดิ ล

บทบาทหน้าทข่ี องสำ�นักงานสภามหาวิทยาลัย

ฝ่ายเลขานุการ • การประชุมสภามหาวิทยาลัย ติดตามประเมินผลการดำ�เนินงานตามนโยบาย/
มติของสภามหาวิทยาลัย

• การเยี่ยมชมส่วนงานของสภามหาวิทยาลัย
• การประเมินผลการปฎิบัติหน้าที่อธิการบดี
• การประเมินส่วนงานของมหาวิทยาลัย
• การสรรหานายกสภามหาวิทยาลัย และกรรมการสภามหาวิทยาลัย ผู้ทรงคุณวุฒิ
• การเลือกตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัย จากผู้บริหารระดับคณบดีหรือเทียบเท่า
• การเลือกตั้งกรรมการสภามหาวิทยาลัย จากคณาจารย์ประจำ�
• การเลอื กตง้ั กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั จากผปู้ ฏบิ ตั งิ านในมหาวทิ ยาลยั ทม่ี ใิ ช่คณาจารยป์ ระจ�ำ
• การประชุมคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหิดล

การดำ�เนินการ • การประเมินผลการปฏิบัติงานของสภามหาวิทยาลัยมหิดล
• การวิเคราะห์ กลั่นกรอง และเสนอเรื่องเชิงนโยบายต่อสภามหาวิทยาลัย
• การประสานงานในการนำ�นโยบายหรือยุทธศาสตร์ของสภามหาวิทยาลัยไปสู่การปฏิบัติ
• การจัดทำ�งบประมาณของสำ�นักงานสภามหาวิทยาลัย และขออนุมัติในหลักการค่าใช้จ่าย
• การจัดทำ� Website ของสำ�นักงานสภามหาวิทยาลัย
• การปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

บคุ ลากรสำ�นกั งานสภามหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

รักั ษาการแทนหััวหน้้าสำ�ำ นัักงานสภามหาวิิทยาลััยมหิิดล

รองศาสตราจารย์์ นพ.สรายุทุ ธ สุภุ าพรรณชาติิ รองศาสตราจารย์์ นพ.ก้อ้ งเขต เหรีียญสุวุ รรณ
(ดำ�ำ รงตำ�ำ แหน่่ง 5 กันั ยายน 2563 – 3 มีีนาคม 2564) (ดำ�ำ รงตำ�ำ แหน่่ง 4 มีีนาคม 2564 – 14 มีีนาคม 2564)
(ดำ�ำ รงตำ�ำ แหน่่ง 15 มีีนาคม 2564 – 10 กันั ยายน 2564) (ดำ�ำ รงตำ�ำ แหน่่ง 11 กันั ยายน 2564 – ปัจั จุบุ ันั )

นางสุุนิิดา เกีียรติิวััฒนวิิศาล

หัวั หน้้าสำ�ำ นักั บริิหารกิจิ การสภามหาวิทิ ยาลัยั

เจ้า้ หน้า้ ที่บ่� ริหิ ารงานทั่่�วไป

นางสาวดุจุ ดาว ตู้้�จินิ ดา นายศุภุ โชค อินิ ทจักั ร์์ นายสถิติ ย์์ กองตรีี นายสาวอัญั ชลีี อัคั รเยนทร์์

นักั วิเิ คราะห์์นโยบายและแผน

นางสาวเทีียนทิพิ ย์์ เศีียรเมฆันั จันั ทร์ค์ ำ�ำ นางสาวสุกุ ัญั ญา ปุญุ ญกันั ต์์ นางสาวสุทุ ัสั ศรีี สายรวมญาติิ นางสาวอรวรรณ ห่่อหอม

8

การประชมุ สภามหาวิทยาลยั มหิดล

การประชุุมสภามหาวิิทยาลััย มีีการประชุุม จำำ�นวน 12 ครั้้�งต่่อปีี มีีจำำ�นวนกรรมการสภามหาวิิทยาลััยเข้้าร่่วมการประชุุม
เฉลี่ย�่ ตลอดทั้้ง� ปีงี บประมาณ 2564 ร้อ้ ยละ 93.58 โดยกำ�ำ หนดการประชุมุ ทุกุ วันั พุธุ ที่�่ 3 ของทุกุ เดือื น ตั้้ง� แต่่ตุลุ าคม 2563 - กันั ยายน 2564
มีีจำ�ำ นวนระเบีียบวาระการประชุมุ สภามหาวิทิ ยาลัยั ทั้้ง� สิ้น� 603 เรื่อ� ง ดังั แสดงในแผนภาพสรุปุ ระเบีียบวาระการประชุมุ สภามหาวิทิ ยาลัยั ดังั นี้้�

เรื่อ� งเสนอเชิิงนโยบาย

27 เรื่อ�่ ง
• รายงานจากอธกิ ารบดี
ประธานแจ้้งต่่อที่่�ประชุมุ • ผลการดำ�เนินงานคณะกรรมการ เรื่อ� งเสนอเพื่่�อ

26 เรื่อ�่ ง ตามมติสภามหาวิทยาลัย
• ขอ้ คดิ เหน็ เชงิ นโยบายกรรมการ
เรื่อ� งเสนอเพื่่�อรัับรอง
สภามหาวทิ ยาลยั ผู้ทรงคณุ วุฒิ
20 เรื่�่อง • วสิ ยั ทัศน์ ยุทธศาสตร์ และแผน

• รับรองรายงานการประชุมสภา การด�ำ เนินงานของหวั หน้าส่วนงาน
มหาวิทยาลยั
เรื่�องเสนอเพื่่�อพิจิ ารณา พิจิ ารณาทัักท้ว้ ง
• รบั รองรายงานการประชมุ สภา
มหาวิทยาลัย (วาระลบั ) 100 เรื่อ�่ ง 328 เรื่อ�่ ง
• ขออนุมัติตำ�แหนง่ ทางวชิ าการ
เรื่อ� งสืบื เนื่่�อง • การแต่งต้งั หัวหนา้ ส่วนงาน คณกรรมการ • การต่อเวลาปฏิบตั งิ านฯ
สรรหาและคณะกรรมการอื่น ๆ • ขออนมุ ัติปรับปรุงหลักสตู ร
16 เรื่่�อง • ขออนุมัตจิ ดั ซ้ือ จดั จา้ ง งบประมาณ • ขออนุมตั ิปรับปรุงแกไ้ ขหลกั สตู ร
• ขออนมุ ัตหิ ลักสูตร และหลกั การเปิด • ขออนุมตั เิ ปดิ -ปดิ หลกั สตู ร รายวิชา
หลกั สูตรใหม่ • ขออนมุ ตั ปิ รญิ ญาบตั ร และประกาศนยี บตั ร

• ขออนมุ ตั ิขอ้ บังคับมหาวิทยาลัยมหดิ ล
• คำ�วินิจฉัยคณะกรรมการอุทธรณ์และ
ร้องทุกข์ฯ เรื่�องแจ้ง้ เพื่่อ� ทราบ

82 เรื่�่อง

หมายเหตุุ : เรื่�องอื่�น ๆ 4 เรื่�อง

9

งบประมาณรายจ่าย มหาวทิ ยาลัยมหิดล

อ้้างอิิง กองแผนงาน สำ�ำ นัักงานอธิกิ ารบดีี

ผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนนิ งานของหนว่ ยงาน
ภาครฐั (Integrity and Transparency Assessment : ITA)

ITA ปีี 2564 มหาวิิทยาลััยมหิิดลได้้รับั
คะแนน 91.08 อยู่่�ในระดับั A

อ้า้ งอิงิ กองกฎหมาย สำ�ำ นักั งานอธิิการบดีี

10

พระรา ชบญั ญ ตั มิ หา วิทยาล ยั มหดิ ล พ.ศ . 2550 และDขo้อwบงัnคloบั a ทdี่เกL่ยี inวขkอ้ งhกtบัtpสsภ:/า/มuหc.าmวิทahยiาdลoยั l.มaหc.ดิ thล/

มหิดิ ลสิทิ ธาคาร มหาวิิทยาลัยั มหิดิ ล 11

อาคารศูนู ย์์การเรีียนรู้ม� หิิดล (Mahidol Learning Center : MLC)

12

สว่ นที่ 2
ผลการดำ�เนินงานของ
สภามหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

• เป้า้ หมายของสภามหาวิทิ ยาลััยในการผลักั ดัันเป้้าหมาย 14
การพัฒั นาที่ย�่ั่�งยืืน (SDGs)

• ผลการเยี่ย�่ มชมและรับั ฟังั ผลการดำ�ำ เนินิ งานของส่ว่ นงาน ปีี 2564 17
(MU Council Visit ครั้ง� ที่�่ 2)

• โครงสร้้างคณะกรรมการสภามหาวิิทยาลััยมหิดิ ล 25
• ผลการดำ�ำ เนิินงานของคณะกรรมการ 26

ตาม พ.ร.บ. มหาวิิทยาลััยมหิดิ ล พ.ศ. 2550 และ
คณะกรรมการตาม พ.ร.บ. การอุดุ มศึกึ ษา พ.ศ. 2562 (5 คณะ)
• ผลการดำำ�เนินิ งานของคณะกรรมการประจำ�ำ 28
สภามหาวิิทยาลัยั (7 คณะ)
• รายงานผลการดำำ�เนิินงานของอธิิการบดีีต่่อสภามหาวิทิ ยาลััย 30

13

14

“Will these

setbacks have a
permanent effect,
jeopardizing
progress towards
the Global Goals
for Sustainable

(DSeDvGelso)p”ment

ศาสตราจารย์ค์ ลินิ ิกิ เกียี รติคิ ุณุ นพ.ปิยิ ะสกล สกลสัตั ยาทร
นายกสภามหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล

Flagship of Mahidol
University Council

15

มหิดิ ลสิทิ ธาคาร มหาวิิทยาลัยั มหิดิ ล

16

การเยย่ี มชมและรบั ฟงั ผลการด�ำ เนนิ งานของสว่ นงาน
ประจ�ำ ปี 2564 (MU Council Visit คร้ังที่ 2)

ศาสตราจารย์ค์ ลินิ ิกิ เกียี รติคิ ุณุ นพ.ปิยิ ะสกล สกลสัตั ยาทร นายกสภามหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล ได้ม้ ีดี ำ�ำ ริเิ พื่อ�่ ติดิ ตามผลการดำ�ำ เนินิ งานตาม
เป้้าหมายและแผนการดำ�ำ เนิินงานของส่่วนงานที่่ไ� ด้เ้ สนอไว้ใ้ นการเยี่�ยมส่ว่ นงานประจำำ�ปีี 2562-2563 (ครั้ง� ที่่� 1) และเพื่่อ� ทราบถึงึ เป้า้ หมาย
ในการดำำ�เนิินงานอีีก 2 ปีขี ้้างหน้้า ตลอดจนปััญหาและอุุปสรรคในการดำำ�เนิินงาน รวมทั้้�งข้้อคิิดเห็็นและข้้อเสนอแนะจากกรรมการสภาฯ
ที่่�เป็็นประโยชน์์ต่่อการดำำ�เนิินงานของส่่วนงาน เพื่�่อการบููรณาการทั้้�งภายในและภายนอก ซึ่�่งจะนำำ�มหาวิิทยาลััยมหิิดลของเราสู่�การเป็็น
หนึ่ง่� ในร้อ้ ย “มหาวิทิ ยาลัยั ระดับั โลก”
นายกสภามหาวิิทยาลััย กรรมการสภามหาวิิทยาลััย และผู้�บริิหาร
มหาวิิทยาลััยได้้เยี่�ยมชมและรัับฟัังผลการดำ�ำ เนิินงานของส่่วนงาน ปีี 2564
(MU Council Visit 2) ตั้ง� แต่ว่ ันั ที่่� 1 มิถิ ุนุ ายน 2564 ถึงึ 30 สิงิ หาคม 2564
รวมทั้้ง� สิ้น� 41 ส่ว่ นงาน โดยได้แ้ บ่ง่ ส่ว่ นงานตามสายงาน 4 กลุ่�ม ดังั นี้้� 1. วิทิ ยาศาสตร์์
สุุขภาพ (Health Sciences) 15 ส่่วนงาน 2. วิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี
(Science and Technology) 8 ส่่วนงาน 3. สัังคมศาสตร์์และมนุุษยศาสตร์์
(Social Sciences and Humanities) 11 ส่่วนงาน และ 4. ส่ว่ นงานสนับั สนุนุ
(Support) 7 ส่่วนงาน ทั้้�งนี้้� มีีโครงการที่่�มีีผลผลิิตและผลลััพธ์์โดดเด่่น
(High Output/High Impact) จำ�ำ นวน 23 ส่่วนงาน 43 โครงการ

Mahidol University Council Visit 2

17

ผ(HลigกhารOเยu่ียtpมuชtม/HแลigะรhับImฟังpผaลctก)ารดำ�เนินงานของส่วนงาน

Health Sciences

คเปณ็็นศะูเูวนชย์ศ์กาลสาตงรร์อ์เขงตรัรับ้้อกนารเป็็น Ethics
Committee (EC) Secretariat ของย่า่ น
นวัตั กรรมการแพทย์โ์ ยธีี (Yo-thi Medical
Innovation District: YMID)
ย ุุทธศาสตร์์ที่�่ 1 Global Research and Innovation
ECtohimcsmitteeScience and Technology

คสรณ้า้ งะกวิาทิ รวยิจิาัยั ศแาบสบตPร์l์ atform-to-Platform มสุ่�งถเาป็บน็ันั “ชีWีวoวิrทิ ldย-าcศlaาsสsตRรe์์โsมeเaลrกcุhลุ Institute คกณาระพเัทัฒคนโานวโิิทลยยีสีาาศราสสนตเรท์์ ศเทแคละโนกโาลรยสืี่อ�ี่ วสิิจาััยร
สนับั สนุนุ นักั วิจิ ัยั คณาจารย์ใ์ ห้ไ้ ด้ร้ ับั การ ทั้้ง� ด้า้ นการศึึกษา การวิจิ ัยั และนวััตกรรม และนวััตกรรม ได้้แก่่ โครงการสนัับสนุุน
ยอมรัับในระดัับสากล Global Talent เสริมิ สร้า้ งความเข้ม้ แข็ง็ ของศูนู ย์ว์ ิจิ ัยั ฯ และ กลุ่�มวิิจััย Global Collaboration
เพิ่่ม� ขึ้น� ร้อ้ ยละ 5 ของจำ�ำ นวนบุคุ ลากร จััดตั้้�งศููนย์์วิิจััยประยุุกต์์และนวััตกรรมกุ้�ง (Germany, Japan, Australia, China,
สายวิชิ าการคิดิ เป็น็ จำ�ำ นวนที่่เ� พิ่่ม� ขึ้น� 15 คน เพื่อ่� รองรับั การวิจิ ัยั มุ่่�งเป้า้ และการถ่า่ ยทอด Taiwan) โครงการวิิจััยบููรณาการตาม
ภายในปีี 2564 ผลิติ ผลงานวิิจัยั ที่่�นำำ�ไป องค์์ความรู้�ภาคอุุตสาหกรรมการเกษตร ความต้้องการประเทศ (ด้้านสัังคมสููงวัยั
ใช้้ในกระบวนการแก้้ปััญหาท้้าทายของ และการส่่งออก ด้้านการแพทย์์ ด้้านสิ่่�งแวดล้้อม) และ
สังั คม จำำ�นวน 2 เรื่อ่� ง ภายในปีี 2564 โครงการศูนู ย์ร์ วมเทคโนโลยีดี ิจิ ิทิ ัลั อัจั ฉริยิ ะ
สกถราะบตัุัน้้�โนใภหช้้ภนาากคาเอร กชนมาร่่วมวิิจััยกัับ เพื่อ�่ สร้า้ งเศรษฐกิจิ การเรียี นรู้้� นวััตกรรม
สถาบันั ภายใต้ก้ รอบ Food Innopolis และ บููรณาการ ปััญญาประดิษิ ฐ์เ์ พื่�่อการแพทย์์
การเป็็น node การให้้ทุุนของแหล่่งทุุน (Intelligent Digital Hub in Medicine)

เช่น่ สำ�ำ นัักงานวิจิ ัยั การเกษตร

Support โครงการร่ว่ มวิจิ ััยและพััฒนาร่่วมกันั

สแลถาะบตัรนั ววิจทิ สยาารศใานสกตารร์กก์ ีาฬี ราวิเิ คราะห์์
นำำ�ผลงานวิิจััยไปใช้้ประโยชน์์ในสัังคม
และประเทศชาติิ เช่่น โครงการวิิจััย
ศููนย์์ตรวจสอบสารต้้องห้้ามในนัักกีีฬา
ร่่วมกัับองค์์การสุุรา กรมสรรพสามิิต
(โครงการร่่วมวิิจััยและพััฒนาร่่วมกััน
ในการวิิเคราะห์์สารออกฤทธิ์ �ยัับยั้้�ง
การพััฒนาการของลููกน้ำ��ำ ยุุง ในกลุ่�ม
non-nicotine จากกากวััตถุุดิิบใน
กระบวนการกลั่�นสุุราและยาสูบู )

Health
Sciences

Science & Social
Technology Sciences

Support

18

ปี 2564 ตามเปา้ หมายและ(แHผiนgกhาOรดu�ำtpเนuนิ tก/HารigขhองIสmว่ pนaงcาtน)

Health Sciences

คพัณฒั นะพาบยทาเบรียีาลนอศอาสนตไลรน์์์ใ์ นระดับั ปริญิ ญาตรีี คกาณระปรแับัพปทรุยงุ ศหาลัสกั ตสูรตู ์์ศริิรแิิรพาทชยพศยาสาบตรา์์ลให้เ้ ป็น็ ค• ณปรัะบั เวปชรุศงุ หาสลัตกั รส์ู์เตูขรตกร้าอ้ รนฝึกึ อบรมแพทย์์
และบััณฑิิตศึึกษาในรายวิิชาการพยาบาล Flexible,DigitalEducation,Non–technical ประจำ�ำ บ้า้ น สาขาเวชศาสตร์ป์ ้อ้ งกันั แขนง Intprerodgirsacimplimnearsy
ใช้้การเรีียนการสอนผ่่านระบบ Online Skills และ Pi-shaped program เวชศาสตร์ก์ ารเดินิ ทางและท่อ่ งเที่่ย� ว
25% ในปีีการศึึกษา 2563 และ 100% ให้ส้ ามารถรับั แพทย์ช์ าวต่า่ งชาติมิ า ย ุุทธศาสตร์์ที�่่ 2 Innovative Education and Authentic Learning
ในปีีการศึกึ ษา 2564 ศึกึ ษาให้ห้ ลักั สูตู รแพทย์ป์ ระจำ�ำ บ้้านฯ
คณะแพทยศาสตร์โ์ รงพยาบาลรามาธิบิ ดีี • หลักั สูตู รสารสนเทศศาสตร์ช์ ีวี เวชและ
แสขยลถาาะยบคัผรันอลแบกห่าคง่ รรชัเัวราีียตินเิ ตพื่่�่อ่อกเนาื่่�อรพงัตฒั ลนอาดเชดี็ีว็กิิตของ เปิดิ หลักั สูตู รร่ว่ ม รามา-วิทิ ยาลัยั การจัดั การ สุขุ ภาพ เป็น็ ระบบการเรียี นการสอน
สัังคมไทย ในรููปแบบหลัักสููตรการเรีียน (MD - MM) ปีกี ารศึกึ ษา 2564 ออนไลน์เ์ ต็ม็ รูปู แบบ ระดับั บัณั ฑิติ ศึกึ ษา
ร่่วมการเรีียนนอกระบบ การเรีียนตาม คเปณิิดะหสลััตั ักวสูแูตพรทRยeศsาidสeตnร์c์ y Training ทาง หลักั สูตู รแรกของมหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล
อััธยาศััย อย่า่ งน้อ้ ยให้ไ้ ด้้ 5 หลักั สูตู ร และ ด้้าน Veterinary Medicine
ครอบคลุุมผู้�เรีียน 2,000 คน

Science and Technology

คกาณรสะื่เอ�่ทสคาโรนโลยีสี ารสนเทศและ คณะวิทิ ยาศาสตร์์ NEEDSFOR 21ST CENTURY
การเสริิมสร้้างและพััฒนาศัักยภาพทุุน สร้้างหลัักสููตรด้้านวิิทยาศาสตร์์และ
มนุุษย์์ ได้้แก่่ โครงการพััฒนาหลัักสููตร เทคโนโลยีี ผลิติ บุคุ ลากรที่่ม� ีที ักั ษะการวิจิ ัยั
B.Sc. in Information and Communication เป็็นที่่�ยอมรัับในสากล/มีีทัักษะการเป็็น
Technology (ICT) หลักั สูตู ร B.Sc.in Digital ผู้้�ประกอบการ ดัังนี้้� 1. One MUSC
Science and Technology (DST) Educationและ2.การจัดั การเรียี นการสอน
หลัักสููตร Reskill (Flexi Education) ภาคพิเิ ศษ/Online Learning Platform
ที่่�สนับั สนุุนการเรีียนรู้้�ตลอดชีีวิิต

Social Sciences andHumanities LA - Double Degree in B.A.
Shanghai Jiao Tong University
พคัณฒั ะนศาิหิลปลัักศสาููตสรตรD์์ ouble Degree B.A. in เวพิิิท่่ม� ยสาาลขััยาวกิชิาารทจี่ั่ท�ัดันักสามรัยั และสร้า้ งความร่ว่ ม
Chinese ร่่วมกัับ Shanghai Jiao Tong มืือกัับคณะแพทยศาสตร์์ศิิริิราชพยาบาล คณะแพทยศาสตร์์
University เป็น็ ที่่�แรกในประเทศ คณะแพทยศาสตร์์โรงพยาบาลรามาธิิบดีี ศิริ ิริ าชพยาบาล
และวิทิ ยาลัยั ดุสุ ิติ ธานีี จัดั ทำ�ำ หลักั สูตู รร่ว่ ม คณะแพทยศาสตร์์
ที่่เ� ป็็น Interdisciplinary Programmes โรงพยาบาลรามาธิบิ ดีี

Support โมรหงเารีวียิิทนยสาาลธัิัยิตมนหาินิดาลชาติิ
การเพิ่่�มวิิชาที่่�ทัันยุุคสมััย 5 วิิชา ได้้แก่่
1. Introduction to Robotics 2. AP
Computer Science 3. International
Relations 4. University Engilsh Skills
และ 5. Intergated Music

19

(ผHลiกgาhรOเยuย่ี tมpชuมtแ/ลHะรigบั hฟIงั mผลpกaาcรt)ด�ำ เนนิ งานของสว่ นงาน

ย ุุทธศาสตร ์์ที �่่ 3 Policy Advocacy and Leaders in Professional / Academic Services Health Sciences

เรคปาณิดิมะศาูแนูธิพบิย์ทก์ดีาียรศแาพสทตยร์์์รโ์ รางมพาธยิิบาบดีศีาลรีีอยุธุ ยา สแถลาะบคันัรอแบห่ค่งชรััวาติิเพื่�่อการพัฒั นาเด็็ก รคะณบะบเวSชmศาaสrtตรH์เ์ ขoตspร้อ้itaนl นำ�ำ เทคโนโลยีี
ขัับเคลื่่�อนเพื่่�อให้้มีีนโยบายระดัับประเทศ มาปรับั ใช้ใ้ นการบริหิ ารจัดั การระบบฐาน
ในการแก้้ไขจุุดอ่่อนของการพััฒนาเด็็ก ข้้อมููล เพิ่่�มประสิิทธิิภาพการจััดบริิการ
ค• ณจััดะตัก้ �งาย“ภศูาูนพยบ์์ฝำึำ�ึกบอัดั บรมกายภาพบำำ�บััด ปฐมวัยั เพิ่่ม� พื้้น� ที่่เ� ล่น่ สู่่�การเรียี นรู้้�สำ�ำ หรับั ประชาชน ทั้้�งด้้านความสะดวกรวดเร็็ว
ในภาวะกระดููกสัันหลัังคด” และ เด็ก็ และครอบครัวั และพัฒั นาระบบเฝ้า้ ระวังั และความปลอดภััย
“ศูนู ย์ก์ ระตุ้้�นสมองด้ว้ ยคลื่น�่ แม่เ่ หล็ก็ ผลกระทบต่อ่ สมองเด็ก็ จากการเติบิ โตทาง
ไฟฟ้า้ ผ่า่ นกระโหลกศีรี ษะ ร่ว่ มกับั การฝึกึ เศรษฐกิิจและเทคโนโลยีี 4 เรื่�่อง ได้้แก่่ ค• ณขยะาเภยสคััชวศาามสร่ต่วรม์์ มืือจากการวิิจััยกัับ
กายภาพบำำ�บััดแบบเฉพาะเจาะจง” ความยากจนเหลื่อ่� มล้ำำ�� สิ่ง� แวดล้อ้ มเป็น็ พิษิ ภาคเอกชนสู่่�การนำ�ำ ความรู้�ไปใช้้ในเชิิง
• โครงการบริิการวิิชาการและวิิจััยให้้ เทคโนโลยีี IT และอุุบัตั ิเิ หตุ-ุ ความรุนุ แรง- พาณิชิ ย์์
กัับแรงงานต่่างด้้าวและผู้ �เกี่่�ยวข้้อง ภััยพิบิ ััติิ • เป็็นผู้้�นำำ�ทางวิิชาการด้้านการพััฒนา
ในชุุมชนจัังหวััดกาญจนบุุรีีร่่วมกัับ คณะสัตั วแพทยศาสตร์์ มาตรฐานคุุณภาพยาโดยการทำ�ำ งาน
International Organization of โรงพยาบาลสัตั ว์ท์ั้้ง� 2 แห่ง่ คืือ โรงพยาบาล ร่ว่ มกับั องค์ก์ รระดับั โลก (United States
Migration (IOM) สััตว์์ประศุุอาทร และโรงพยาบาลปศุุสััตว์์ Pharmacopoeia – USP) ในโครงการ
และสัตั ว์ป์ ่า่ ปศุปุ าลันั มุ่�งสู่�มาตรฐานสถาน Promoting Quality Medicine Plus
คกาณรพะัพฒั ยนาาบคุาณุ ลภศาาพสอตงรค์์์ก์ รผ่า่ นการรับั รอง พยาบาลสัตั ว์์ในประเทศไทย

มาตรฐานระดัับชาติิและนานาชาติิ
เช่น่ TQC Plus

Science and Technology

สถาบันั นวัตั กรรมการเรีียนรู้้� วิิทยาเขตกาญจนบุุรีี มสีถี ฺฺBาiบoันั lชoีgีวicวิsทิ ยCาaศnาdสiตdรa์์โtมeเลตกุ้้นลุ แบบที่่�มีี
ผลัักดััน Startup และ Business สร้้างเครืือข่่ายความร่่วมมืือทางวิิชาการ ศักั ยภาพในการผลิติ เชิงิ พาณิชิ ย์อ์ ย่า่ งน้อ้ ย
Development Unit (BDU) โดยขยาย กัับหน่่วยงานในประเทศ เช่่น จััดตั้้�งศููนย์์ 1 ตัวั
ขอบเขตการดำำ�เนิินงานไปสู่่� AI Robot, โอลิิมปิกิ วิชิ าการ สอวน. วิชิ าวิิทยาศาสตร์์ ตคั้้ง�ณศูะนู วิยทิ์์ ยMาศUาSสCตรs์์olutions เพื่อ�่ สร้า้ ง
Neuroscience และ Transformative โลกและอวกาศ ประจำ�ำ ภาคกลางตอนล่า่ ง 1
Education ศููนย์์เทคโนโลยีีเกษตรและนวััตกรรมและ
ศูนู ย์์ Global Learning and Observations ความร่ว่ มมืือในงานวิจิ ัยั กับั ภาคเอกชน
to Benefit the Environment (GLOBE) อย่า่ งมีปี ระสิทิ ธิภิ าพ เพิ่่ม� โครงการถ่า่ ยทอด
เป็น็ ต้น้ องค์์ความรู้�และเทคโนโลยีีสู่่�สังั คม

Social SciencesandHumanities

คณะสัังคมศาสตร์์และมนุษุ ยศาสตร์์ •ส ถจัาดั บทัำัน�ำ รวิะิจบััยบภสาาษรสาแนลเทะศวัอัฒัจั นฉธริรยิ ระมด้า้เอนเภชีาียษา • ผลักั ดันั นโยบายการสร้า้ งความเข้ม้ แข็ง็
ผลัักดัันการทำ�ำ งานเพื่่�อแก้้ปััญหาความ และวัฒั นธรรม ทางเศรษฐกิจิ และแข่ง่ ขันั ได้้ โดยวิจิ ัยั และ
เหลื่่�อมล้ำ�ำ�ทางสัังคมผ่่านกิิจกรรมการ • ผลักั ดันั นโยบายการสร้า้ งความเป็น็ ธรรม พัฒั นาการท่อ่ งเที่่ย� วพื้้น� ที่่เ� มืืองรองและ
วิิจััยและการผลัักดัันทางวิิชาการของ และลดความเหลื่อ�่ มล้ำ��ำ ในสังั คม ด้ว้ ยการ ภูมู ิภิ าค (จีนี อินิ เดียี และอาเซียี น) ด้ว้ ย
ศูนู ย์ค์ วามเป็น็ เลิศิ ด้า้ นเพศสภาวะ เพศวิถิ ีี วิจิ ัยั พัฒั นาระบบการศึกึ ษาและนวัตั กรรมใน ต้น้ ทุนุ ทางประวัตั ิศิ าสตร์แ์ ละวัฒั นธรรม
และสุขุ ภาพ ศูนู ย์ว์ ิจิ ัยั สังั คมไม่ท่ อดทิ้้ง� กันั พื้้น� ที่่พ� ิเิ ศษ(พหุชุ าติพิ ันัธุ์์�-พหุวุ ัฒั นธรรม)แถบ
และศูนู ย์จ์ ีนี ศึกึ ษาและโลกาภิวิ ัตั น์เ์ อเชียี ชายแดนไทย-พม่า่ และขยายให้ค้ รอบคลุมุ

ชายแดนทั่่�วประเทศ Health
Sciences

• ผลักั ดันั นโยบายการเสริมิ สร้า้ งและพัฒั นา Science & Social
ศักั ยภาพทุนุ มนุษุ ย์ด์ ้ว้ ยวัฒั นธรรม โครงการ Technology Sciences

ส่ง่ เสริมิ ความเข้ม้ แข็ง็ ของครอบครัวั ไทยผ่า่ น Support

ภาษาและวััฒนธรรม

20

ปี 2564 ตามเปา้ หมายแล(ะHแผigนhกOารuดtp�ำ เuนtนิ /กHารigขhองIสmว่ pนaงcาtน)

Support

ห• อมุ่�สงสมูุ่�กดุ าแรลรัะบั ครลอังังคมวาาตมรรฐู้ม�านหดา้าว้ ินทิ รยะาบลับยั มบหริิหิดิ าลร •ศู ูขนยย์ส์ าัตัยวแ์์ทลดะลเอพิ่ง่�มแขหี่ีด่งชคาวติาิ มสามารถของ ย ุุทธศาสตร์์ที �่่ 3
คุณุ ภาพ ISO 9001 : 2015 และมาตรฐาน หน่่วยงานให้้บริิการวิิจััยและทดสอบ
ด้า้ นการจัดั การสิ่ง� แวดล้อ้ มISO14001:2015 ผลิติ ภััณฑ์์ตามหลักั การ OECD GLP
ภายในปีี 2563
• ขยายงานด้้านพัันธกิิจสััมพัันธ์์เพื่�่อสัังคม • เพิ่่�มจำำ�นวนการให้้บริิการสััตว์์ทดลอง
และชุุมชนโดยรอบ เพื่่�อยกระดัับคุุณภาพ โดยเฉพาะ หนูตู ะเภา กระต่า่ ยให้้เพียี งพอ
การศึึกษาและการเรีียนรู้้�ตลอดชีีวิิตให้้ได้้ ต่อ่ ความต้อ้ งการของนักั วิจิ ัยั นักั วิทิ ยาศาสตร์์
ผลสัมั ฤทธิ์อ� ย่่างเป็็นรููปธรรม ทั่่�วประเทศ

Health Sciences Solar Rooftop

คณะแพทยศาสตร์์โรงพยาบาลรามาธิิบดีี “Green Campus”
นำำ�ระบบการติดิ ตั้ง� เซลล์พ์ ลังั งานแสงอาทิติ ย์์
บนหลัังคา (Solar Cell Rooftop) มาใช้้
ที่่�สถาบัันการแพทย์์จัักรีีนฤบดิินทร์์ (Green
Campus) เพื่อ่� การใช้พ้ ลังั งานอย่่างยั่�งยืืน

Support Management for Self-Sufficiency4
and Sustainable Organization
บัณั ฑิติ วิทิ ยาลัยั หอสมุดุ และคลังั ความรู้ม� หาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล
การนำ�ำ ระบบดิจิ ิทิ ัลั มาใช้ใ้ นการบริหิ ารจัดั การ พััฒนาระบบบริิการต่่าง ๆ ของห้้องสมุุด
การศึึกษาเพื่�่อความยั่ �งยืืนขององค์์กร ให้้ทััดเทีียมกัับห้้องสมุุดมหาวิิทยาลััยชั้้�นนำ�ำ
ระดับั โลก

สรุุปผลการประเมิิน ตามเปป้้าหมายของสส่่วนงาน

ย ุุทธศาสตร์์ที �่่

21

8 ข้อ้ คิิดเห็น็ และข้อ้ เสนอแนะ
นายกสภามหาวิทิ ยาลััย กรรมการสภามหาวิทิ ยาลัยั
และทีีมผู้้บ� ริิหารมหาวิทิ ยาลััยต่อ่ หัวั หน้้าส่ว่ นงาน
08 01

07 02

06 03
05 04

มหาวิิทยาลััยมหิิดล มีีส่่วนงานที่่�หลากหลายทั้้�งขนาดและพัันธกิิจ การบููรณาการทำำ�งานร่่วมกััน การกำ�ำ หนด
เป้้าหมายที่่�ชััดเจนในการพััฒนาที่่�ยั่่�งยืืนสอดรัับกัับเป้้าหมายการพััฒนาที่่�ยั่่�งยืืน มุ่�งประโยชน์์สุุขแก่่มวลมนุุษยชาติิ ดั่่�งปรััชญา
“ความสำ�ำ เร็จ็ ที่่แ� ท้จ้ ริงิ อยู่�ที่ก� ารนำำ�ความรู้ไ�้ ปประยุกุ ต์ใ์ ช้้ เพื่อ�่ ประโยชน์ส์ ุขุ แก่ม่ วลมนุษุ ยชาติ”ิ จึงึ เป็น็ สิ่่ง� ที่่ส� ภามหาวิทิ ยาลัยั ให้ค้ วามสำ�ำ คัญั
จากการเยี่ �ยมชมและรัับฟัังผลการดำำ�เนิินงานของส่่วนงานของสภามหาวิิทยาลััยมหิิดล (MU Council Visit ครั้�งที่่� 2)
นายกสภามหาวิิทยาลััย กรรมการสภามหาวิิทยาลััย และทีีมผู้�บริิหารมหาวิิทยาลััย ได้้ให้้ข้้อคิิดเห็็นและข้้อเสนอแนะส่่วนงานนำำ�ไปปรัับใช้้
เพื่่�อบรรลุุตามเป้้าหมายของส่่วนงาน โดยสอดคล้้องกัับแผนยุุทธศาสตร์์มหาวิิทยาลััยมหิิดล สรุุปได้้ดัังนี้้� 1. พััฒนาโครงสร้้างและสนัับสนุุน
การพััฒนาบุุคลากรทางการวิิจััย 2. สร้้างงานวิิจััยเพื่่�อตอบโจทย์์/แก้้ปััญหาสัังคมและประเทศ 3. ผลัักดัันหลัักสููตร Flexible Learning
and Interdisciplinary Education 4. พััฒนา Online & Extended Learning Platform 5. นำำ�องค์์ความรู้�เพื่่�อผลัักดัันเชิิงนโยบาย
และเผยแพร่่สู่�สาธารณะ 6. ร่่วมมืือกัับภาคเอกชนเพื่่�อเพิ่่�มหุ้้�นส่่วนเชิิงกลยุุทธ์์และพััฒนาเชิิงพาณิิชย์์ 7. นำำ�เทคโนโลยีีดิิจิิทััลและ
ปัญั ญาประดิษิ ฐ์์ (AI) มาประยุกุ ต์ใ์ ช้ใ้ นการทำำ�งานเพื่่อ� ความยั่ ง� ยืืนขององค์ก์ ร และ 8. ผนวกแนวคิดิ เรื่่อ� งเป้า้ หมายการพัฒั นาที่่ย�ั่ง� ยืืน (SDGs)
กัับการดำำ�เนิินพัันธกิิจของมหาวิิทยาลััย
22

อุทุ ยานธรรมชาติวิ ิิทยาสิิรีรี ุุกขชาติิ
มหาวิทิ ยาลัยั มหิิดล

ได้ร้ ับั การรับั รองจาก Botanic Gardens Conservation

“สวนพฤแกหษ่ง่ ศInแtาeรrสกnaตขtiรoอ์nท์ งีa่่lป�ม(ีBมีรGะาCเตทI)รใศห้ฐเ้ไปท็าน็ นยร”ะดับั สากล

อุทุ ยานธรรมชาติิวิิทยาสิิรีรี ุกุ ขชาติิ มหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล

23

อาคารศูนู ย์ก์ ารเรียี นรู้ม� หิดิ ล (Mahidol Learning Center : MLC)

24

โครงสร้างคณะกรรมการสภามหาวิทยาลยั มหดิ ล

โครงสร้า้ งคณะกรรมการสภามหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล ประกอบด้ว้ ย คณะกรรมการตามพระราชบัญั ญัตั ิิ (พ.ร.บ.) มหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล
พ.ศ. 2550 และคณะกรรมการตาม พ.ร.บ. การอุดุ มศึกึ ษา พ.ศ. 2562 จำ�ำ นวน 5 คณะกรรมการ และคณะกรรมการประจำ�ำ สภามหาวิทิ ยาลัยั
จำ�ำ นวน 7 คณะกรรมการ โดยมีกี รรมการสภามหาวิิทยาลัยั ผู้�ทรงคุณุ วุุฒิิ เป็็นประธาน ดัังนี้้�

สภามหาวิิทยาลััยมหิิดล

แคลณะคะกณรระกมรกรามรกตาารมตพา.มร.พบ..รม.หบา.วกิทิายราอุลดุ ัยั มมศึหกึิดิ ษลาพพ..ศศ..22555602(5 คณะ) คณะกรรมการประจำ�ำ สภามหาวิทิ ยาลััย (7 คณะ)
1. คณะกรรมการขัับเคลื่อ�่ นยุทุ ธศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยมหิิดล
1. คณะกรรมการตรวจสอบ 2. คณะกรรมการอุทุ ธรณ์แ์ ละร้อ้ งทุกุ ข์์
การบริหิ ารงานประจำ�ำ มหาวิทิ ยาลัยั ประจำ�ำ มหาวิทิ ยาลัยั มหิิดล นศาพสต.รบาจรารรย์จ์ ง

ดร.ทวีีศัักดิ์์� ดศารส.ตอรามจรารย์์ มไหสวริิยะ
อธิิการบดีี
กออนันั ตกููล จันั ทรสมบูรู ณ์์

3. คณะกรรมการ 4. คณะกรรมการบริหิ ารความเสี่ย�่ ง 2. คแลณะกะำกำ�กรัรับมดูกแู าลรดน้า้ โยนบกาายรวิิจััย 3. คแลณะกะำกำ�กรัรับมดูกูแาลรดน้า้ โยนบกาายรศึึกษา
พิจิ ารณาตำ�ำ แหน่ง่ ทางวิชิ าการ
นวลาังสัยารวััตน์์ ดร.สมเกีียรติิ ดรอรง.ศวารสตารการจาณร์ย์์์
ศนาสพตร.าอจาภริยิช์เ์ กีาียตริติิิคุณุ
ศรีอี รุณุ ตั้้ง� กิิจวานิิชย์์ สามโกเศศ
วิชิ ญาณรัตั น์์

5. คณะกรรมการ 4. คแลณะกะำก�ำ กรัรบั มดกูแู าลรดน้า้ โยนบทารัพยั ยากรบุคุ คล 5. คแลณะใะหก้ค้ รวรามมกเาห็รน็ พทิิจาางรกณฎหากมลาั่ยน� กรอง
ธรรมาภิบิ าลและจริยิ ธรรม
นมานยููญ ดศารสต.สรุาุรจศาัรกัย์์ ดิ์์�
ศดารส.ตสรุารุ จศาัรกัย์์ดิ์์�
สรรค์ค์ ุุณากร ลิิขสิิทธิ์ว�์ ัฒั นกุลุ
ลิิขสิิทธิ์ว�์ ัฒั นกุลุ

6. คดูณแู ละดก้า้รนรมกการาบรนริหิโยาบรสาิยินแทลรัะพั กยำ�ำ์ก์ ับั 7. คแณละะกการรรมสกร้า้ารงนโBยrบaาnยdด้า้ MนกAาHรรIDะดOมLทุนุ

ดร.สมศักั ดิ์์� ศนาสพต.รเาสจารีริ�ย์ค์ ลิินิิกพิเิศษ

ลีีสวัสั ดิ์ต�์ ระกูลู ตู้้�จิินดา

25

ผ ลก า รดำ �ำ เนินิ งาน ของคณะกรรมการตามพ.ร.บ.มหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ลพ.ศ.2550

และคณะกรรมการตาม พ.ร.บ. การอุดุ มศึกึ ษา พ.ศ. 2562 (5 คณะ)

คณะกรรมการตรวจสอบการบริิหารงาน คณะกรรมการพิจิ ารณาตำ�ำ แหน่่งทางวิิชาการ
ประจํํามหาวิิทยาลัยั

ศาสตราจารย์์คลิินิิกพิิเศษ นพ.เสรีี ตู้้�จินิ ดา ศาสตราจารย์เ์ กียี รติิคุุณ พญ.นีีโลบล เนื่อ่� งตััน

(ดํํารงตํําแหน่ง่ 15 มกราคม 2563 – 19 มกราคม 2564) (ดำ�ำ รงตำ�ำ แหน่ง่ 20 พฤศจิกิ ายน 2562 – 15 ธันั วาคม 2563)

ดร.ทวีีศักั ดิ์์� กออนัันตกูลู ศาสตราจารย์เ์ กียี รติคิ ุุณ นพ.อภิิชาติิ วิิชญาณรัตั น์์

(ดํํารงตํําแหน่ง่ 20 มกราคม 2564 - ปัจั จุบุ ันั ) (ดำ�ำ รงตำำ�แหน่ง่ 16 ธัันวาคม 2563 – ปัจั จุบุ ันั )

ผลการดํําเนินิ งาน สรุุปประเด็น็ สํําคัญั ดัังนี้้� ผลการดํําเนิินงาน สรุุปประเด็น็ สํําคัญั ดังั นี้้�
คณะกรรมการตรวจสอบการบริหิ ารงานประจำ�ำ มหาวิทิ ยาลัยั ปฏิบิ ัตั ิิ คณะกรรมการพิจิ ารณาตำ�ำ แหน่ง่ ทางวิชิ าการ (กพว.) พิจิ ารณาการขอ
หน้า้ ที่่ค� รบถ้ว้ นตามข้อ้ บังั คับั มหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล ว่า่ ด้ว้ ยการตรวจสอบ ตำ�ำ แหน่ง่ ทางวิชิ าการ โดยมีกี ารประชุมุ เดืือนละครั้ง� ในวันั จันั ทร์ส์ ัปั ดาห์์
ภายในของมหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล พ.ศ. 2563 โดยข้อ้ เสนอแนะสำ�ำ คัญั ที่่ห� นึ่่ง� ของเดืือน สรุปุ ดังั นี้้�
ที่่�ให้้ต่อ่ มหาวิิทยาลััย สรุปุ ดังั นี้้�
1. ควรให้ก้ ารปฐมนิเิ ทศเกี่ย� วกับั ระบบควบคุมุ และระบบสนับั สนุนุ เสนออนุมุ ัตั ิแิ ต่ง่ ตั้้ง� และไม่แ่ ต่ง่ ตั้้ง� บุคุ คลให้้ดํํารงตํําแหน่ง่ ทางวิชิ าการ
ต่อ่ สภามหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล
การปฏิบิ ััติงิ าน แก่่ผู้�บริิหารใหม่่ประจำำ�ส่่วนงาน
2. ควรใช้ร้ ะบบ ERP ให้เ้ ต็ม็ รูปู แบบ ในระดับั เดียี วกับั องค์ก์ รระดับั โลก จำ�ำ นวน (ราย) ผู้ช�้ ่ว่ ย
3. ควรพิิจารณาจััดตั้�งหน่่วยงานด้้าน Compliance เพื่�อ่ ให้้มั่�นใจ
ศาสตราจารย์์
ได้ว้ ่า่ มหาวิทิ ยาลัยั ถืือปฏิบิ ัตั ิติ ามกฎหมายและประกาศ ข้อ้ บังั คับั 173
ของมหาวิิทยาลััย ควรมีีความทัันต่่อสถานการณ์์ ไม่่เป็็น ศาสตราจารย์์
ข้อ้ ติิดขััดในการดำ�ำ เนิินงาน แต่ย่ ังั คงมีรี ะบบควบคุมุ ที่่เ� พียี งพอ รอง
4. เหตุุการณ์์ความเสี่�ยงในระดัับมหาวิิทยาลััย ควรพิิจารณาโดย 82 ศาสตราจารย์์
ครอบคลุุมความเสี่�ยงทุุกด้้าน (กลยุทุ ธ์์ การเงิิน การปฏิิบัตั ิกิ าร
และการปฏิิบัตั ิติ ามกฎ ระเบีียบ) 103

คณะกรรมการอุุทธรณ์์และร้้องทุุกข์ป์ ระจำ�ำ ศ.ได้้รับั เงินิ ประจำ�ำ ศาสตราจารย์์ ยังั ไม่แ่ ต่ง่ ตั้้ง�
มหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล ตำ�ำ แหน่ง่ สูงู ขึ้น�
ศาสตราจารย์์ ดร.อมร จัันทรสมบููรณ์์ 8คลินิ ิกิ 44นักั วิจิ ัยั
1
(ดํํารงตํําแหน่ง่ 18 เมษายน 2561 – ปัจั จุบุ ันั ) ระดับั 2

ผลการดำำ�เนิินงาน สรุุปประเด็น็ สํําคัญั ดัังนี้้� 3
คณะกรรมการอุุทธรณ์์และร้้องทุุกข์์
ประจำ�ำ มหาวิิทยาลััย พิิจารณาเรื่�่อง ข้อ้ มููล 1 ตุลุ าคม 2563 - 30 กันั ยายน 2564
อุุทธรณ์์และร้้องทุุกข์์ พร้้อมเสนอ
ความเห็็นและข้้อวิินิิจฉััย ต่่อสภา 1. การแต่่งตั้้�งและไม่่แต่่งตั้้�งบุุคคลให้้ดํํารงตํําแหน่่งทางวิิชาการ
มหาวิิทยาลัยั สรุุปดังั นี้้� รายละเอีียดดังั แผนภูมู ิทิ ี่�แ่ สดง
1. ดำ�ำ เนินิ การจัดั ประชุมุ คณะกรรมการ
2. เสนอแต่ง่ ตั้ง� ให้ด้ ำ�ำ รงตำ�ำ แหน่ง่ ศาสตราจารย์เ์ กียี รติคิ ุณุ จำ�ำ นวน12ราย
อุทุ ธรณ์์และร้้องทุุกข์ฯ์ 46 ครั้ง� และตำำ�แหน่่งศาสตราจารย์์คลินิ ิิกเกียี รติคิ ุุณ จำ�ำ นวน 11 ราย
2. พิจิ ารณาเรื่อ�่ งอุทุ ธรณ์ร์ ้อ้ งทุกุ ข์แ์ ละ
3. การเทีียบตํําแหน่่งรองศาสตราจารย์์ จํํานวน 4 ราย และ
เรื่อ� งที่่ส� ภามหาวิทิ ยาลัยั มอบหมาย ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ จำ�ำ นวน 10 ราย
จำ�ำ นวน 5 ราย
4. การทบทวนผลการพิจิ ารณาตํําแหน่ง่ ศาสตราจารย์์ จำ�ำ นวน 3 ราย
และผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ จำ�ำ นวน 1 ราย

5. การเทีียบเคีียงสาขาวิชิ าของผู้้�ดำำ�รงตำ�ำ แหน่่งทางวิิชาการ จำำ�นวน
3 ราย และอนุุสาขาวิิชา จำ�ำ นวน 1 ราย

6. การจัดั ทํําข้อ้ บังั คับั มหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล ว่า่ ด้ว้ ยตำ�ำ แหน่ง่ ทางวิชิ าการ
(ฉบับั ที่่� 3) พ.ศ. 2563

26

ลานมหิดิ ล มหาวิิทยาลััยมหิดิ ล คณะกรรมการบริหิ ารความเสี่ย� ง
นางสาววลััยรัตั น์์ ศรีอี รุณุ

(ดํํารงตํําแหน่ง่ 6 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2563 – 31 มกราคม 2564)
(ดํํารงตํําแหน่ง่ 1 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2564 – ปัจั จุบุ ันั )

ผลการดํําเนิินงาน สรุุปประเด็น็ สํําคััญ ดัังนี้้�
คณะกรรมการบริหิ ารความเสี่ย� ง เสนอเพิ่่ม� เหตุกุ ารณ์ค์ วามเสี่ย� ง
สำ�ำ คัญั ระดับั มหาวิทิ ยาลัยั ประจำ�ำ ปีงี บประมาณ 2564 สรุุปดัังนี้้�
1. การสื่อ�่ สารภายนอกมหาวิทิ ยาลัยั ในเรื่อ�่ งที่่ม� หาวิทิ ยาลัยั มีคี วาม

เชี่ย� วชาญ เพื่อ�่ ส่ง่ เสริมิ โอกาสการเป็น็ ผู้้�นำ�ำ
2. การสร้า้ งโอกาสจากวิกิ ฤต COVID-19 พลิกิ บทบาทจากความ

ท้า้ ทายใหม่่ (New normal) การเรียี นการสอนในรูปู แบบ
ออนไลน์์ โอกาสในการสร้า้ งรายได้เ้ พิ่่ม�
3. การศึกึ ษาหลังั COVID-19ที่่อ� าจส่ง่ ผลต่อ่ จำ�ำ นวนนักั ศึกึ ษาต่า่ งชาติิ
ลดลง (mobility ของนักั ศึกึ ษาต่า่ งชาติ)ิ
4. ภัยั คุุกคามทางไซเบอร์์ Ransomware
5. การสร้้างแรงจููงใจเพื่่�อให้้ได้้คนเก่่ง และรัักษาคนที่่�มีีความ
สามารถไว้ก้ ัับองค์ก์ ร
“เสนอทบทวนและปรับั ชื่อ�่ เหตุกุ ารณ์ค์ วามเสี่ย� งตัวั ชี้้ว� ัดั ความเสี่ย� ง
กิจิ กรรมการบริหิ ารความเสี่ย� งให้ม้ ีคี วามเหมาะสม และให้้
ปรัับรููปแบบการรายงานผลการประเมิินความเสี่่�ยงระดัับ
มหาวิทิ ยาลัยั ในรอบไตรมาส 3 - 4 ให้ม้ ีคี วามชัดั เจนยิ่่ง� ขึ้น� ”

คณะกรรมการธรรมาภิบิ าลและจริยิ ธรรม
ศาสตราจารย์์ ดร.สุุรศัักดิ์์� ลิิขสิทิ ธิ์ว� ัฒั นกุลุ

ประธานกรรมการ

การประชุุมสภามหาวิิทยาลััยมหิิดล ครั้�งที่่� 571 เมื่�่อวัันที่่� 18
สิิงหาคม 2564 ได้้มีีมติิแต่่งตั้�ง ศาสตราจารย์์ ดร.สุุรศัักดิ์�
ลิิขสิิทธิ์�วััฒนกุุล ให้้ดำำ�รงตำ�ำ แหน่่งประธานคณะกรรมการ
ธรรมาภิิบาลและจริิยธรรม และการประชุุมสภามหาวิิทยาลััย
มหิดิ ล ครั้ง� ที่่� 572 เมื่อ�่ วันั ที่่� 15 กันั ยายน 2564 ได้พ้ ิจิ ารณาเลืือก
กรรมการธรรมาภิิบาลและจริิยธรรม ผู้�ทรงคุุณวุุฒิิจากภายนอก
2 ท่า่ นดังั นี้้�1.ศาสตราจารย์ค์ ลินิ ิกิ เกียี รติคิ ุณุ พญ.วรรณาศรีโี รจนกุลุ
และ 2. ศาสตราจารย์์แสวง บุุญเฉลิิมวิิภาส ทั้้�งนี้้� คำำ�สั่่�งแต่่งตั้้�ง
คณะกรรมการธรรมาภิบิ าลและจริยิ ธรรม อยู่�ระหว่า่ งดำำ�เนินิ การ

27

ผลการดำ�ำ เนินิ งานของคณะกรรมการประจำ�ำ สภามหาวิทิ ยาลัยั (7คณะ)

คณะกรรมการขับั เคลื่อ�่ นยุทุ ธศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล

ศาสตราจารย์์ นพ. บรรจง มไหสวริยิ ะ อธิิการบดีี Flagship 1.1 MU-MRC และกลุ่�มนักั วิจิ ัยั สำ�ำ เร็จ็ รูปู (โครงการต่อ่ เนื่อ�่ ง)
Flagship 1.2 เพื่อ�่ ผลักั ดันั อันั ดับั Subject Ranking โดยสนับั สนุนุ
(ดํํารงตํําแหน่ง่ 15 มกราคม 2563 – 31 มกราคม 2564)
(ดํํารงตํําแหน่่ง 1 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2564 – ปัจั จุุบันั ) งานวิจิ ััยเฉพาะสาขา
Flagship 1.3 เพิ่่�มศัักยภาพโครงสร้้างพื้้�นฐานด้้านการวิิจััย เพื่่�อ
ผลการดำ�ำ เนินิ งาน สรุุปประเด็น็ สํําคััญ ดังั นี้้�
1. ให้้คำ�ำ ปรึึกษา ข้้อคิิดเห็็น และแนะแนวทาง รวมถึึงชี้�ให้้เห็็น รองรัับศาสตร์์ในอนาคต
Flagship 2.1 การศึึกษาแบบยืืดหยุ่่�นและระบบคลัังหน่่วยกิิต
ประเด็็นสำำ�คััญ การดำำ�เนิินงานตามแผนยุทุ ธศาสตร์์
1.1 การเปลี่่ย� นชื่อ�่ ยุทุ ธศาสตร์ท์ ี่่� 2 จาก Academic and (โครงการต่อ่ เนื่อ่� ง) (Flexible Education & Credit
Entrepreneurial Education เป็น็ Innovative Unit Bank System)
Education and Authentic Learning Flagship 2.2 พัฒั นาอาจารย์ต์ ามเกณฑ์ม์ าตรฐานคุณุ ภาพอาจารย์์
1.2 การปรับั ตัวั ชี้้ว� ัดั และค่า่ เป้า้ หมายของแผนยุุทธศาสตร์์ (MUPSF - Professional Standards Framework)
มหาวิทิ ยาลัยั มหิิดล พ.ศ.2563-2566 ให้ส้ อดคล้้องกับั Flagship 2.3 Mahidol University Extension (MUx) Platform
ผลการดำำ�เนิินงานและสถานการณ์์ปัจั จุุบันั Flagship 2.4 Career Support Services
2. ให้ค้ ำ�ำ ปรึกึ ษา ข้อ้ คิดิ เห็น็ และแนะแนวทาง รวมถึงึ ชี้ใ� ห้เ้ ห็น็ ประเด็น็ Flagship 3 MUSocialEngagementPlatform(โครงการต่อ่ เนื่อ�่ ง)
สำ�ำ คัญั ของการจัดั ทำ�ำ โครงการ Flagship Project ประจำ�ำ ปีี 2564 (เดิมิ คืือ Wisdom of the Land Platform)
จำ�ำ นวน 10 โครงการ และติดิ ตามความคืืบหน้า้ จำ�ำ นวน 2 ครั้ง� Flagship 4.1 สร้า้ ง Global Talents Platform (โครงการต่อ่ เนื่อ�่ ง)
Flagship 4.2 Finance and Branding (โครงการต่อ่ เนื่อ�่ ง)

คณะกรรมการนโยบายและกำ�ำ กับั ดูแู ลด้้านการวิจิ ัยั คณะกรรมการนโยบายและกำ�ำ กับั ดูแู ลด้้านการศึกึ ษา

ดร.สมเกียี รติิ ตั้้ง� กิจิ วานิชิ ย์ ์ ดร. ทวีศี ักั ดิ์์� กออนันั ตกูลู

(ดํํารงตํําแหน่ง่ 15 มกราคม 2563 – 31 มกราคม 2564) (ดํํารงตํําแหน่ง่ 15 มกราคม 2563 – 31 มกราคม 2564)
(ดํํารงตํําแหน่ง่ 1 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2564 – ปัจั จุบุ ันั )
รองศาสตราจารย์์ ดร.วรากรณ์์ สามโกเศศ
ผลการดํําเนินิ งาน สรุุปประเด็น็ สํําคัญั ดัังนี้้�
1. การสร้้าง Research Sandbox ของคณะแพทยศาสตร์์ (ดํํารงตํําแหน่ง่ 1 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2564 – ปัจั จุบุ ันั )

ศิริ ิริ าชพยาบาล (Siriraj Sandbox) ผลการดํําเนินิ งาน สรุุปประเด็น็ สํําคััญ ดังั นี้้�
2. การสนัับสนุุนงานวิิจัยั และงานวิิชาการด้้านสัังคมศาสตร์์และ 1. การพััฒนาบทเรีียนออนไลน์์ Mahidol University Extension

มนุษุ ยศาสตร์์ ของมหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล และการทำ�ำ งานร่ว่ มกันั (MUx) Platform โดยรายวิิชา MOOCs มุ่�งเน้้นในเรื่�่องของ
ของสาขาสังั คมศาสตร์ฯ์ และด้า้ นการแพทย์์ โดยมหาวิทิ ยาลัยั คุุณภาพของบทเรีียนเป็็นสิ่่�งสำ�ำ คััญ และให้้เป็็นไปตามมาตรฐาน
มีคี ณะกรรมการ เพื่่อ� ขับั เคลื่อ่� นงานดังั กล่่าว 2 ชุดุ ได้แ้ ก่่ สากล Certificate of ISO 40180:2017
2.1 คณะกรรมการอำำ�นวยการเพื่อ่� ขับั เคลื่อ�่ น กำ�ำ หนดมาตรฐาน
2. การพััฒนาอาจารย์์ทั้้�งในด้้านการจััดการเรีียนการสอน การวััด
และสนับั สนุนุ วิชิ าการ ด้า้ นสังั คมศาสตร์์ มนุษุ ยศาสตร์์ และ และประเมิินผล ตลอดจนให้เ้ ป็็นไปตามเกณฑ์ม์ าตรฐานคุุณภาพ
ศิลิ ปะ ของมหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล อาจารย์์ Mahidol University Professional Standards
2.2 คณะกรรมการอำ�ำ นวยการภาคีเี ครืือข่า่ ย ด้า้ นสังั คมศาสตร์์ Framework (MUPSF)
มนุษุ ยศาสตร์์ และศิลิ ปะ ของมหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ล
3. การสนัับสนุุนและเพิ่่�มจำำ�นวนนัักศึึกษาหลัังปริิญญาเอก 3. การวางแผนการศึกึ ษาที่่ม� องไปถึงึ สถานการณ์ใ์ นอนาคต ความต้อ้ งการ
(Postdoctoral Fellow) เพื่่�อเพิ่่�มงานวิิจััย โดยมหาวิทิ ยาลัยั ของตลาด เช่น่ การเปิดิ หลัักสูตู ร การปรัับปรุุงหลัักสูตู ร การปิดิ
ได้ด้ ำ�ำ เนินิ การปรับั ปรุงุ ประกาศทุนุ การศึกึ ษาสำำ�หรับั นักั ศึกึ ษา หลัักสููตร ตลอดจนการทำ�ำ หลักั สูตู รให้เ้ ป็็นแบบยืืดหยุ่่�น
หลังั ปริญิ ญาเอก ได้แ้ ก่่ 1. ไม่จ่ ำ�ำ กัดั อายุนุ ักั ศึกึ ษาหลังั ปริญิ ญาเอก
2. ตำ�ำ แหน่ง่ รองศาสตราจารย์ข์ อนักั ศึกึ ษาหลังั ปริญิ ญาเอกได้้ 1 คน 4. การติดิ ตามผลการดำ�ำ เนินิ งานด้า้ นการศึกึ ษาเป็น็ ระยะ ทุกุ 3 เดืือน
ศาสตราจารย์์ขอได้้ 3 คน ในโครงการ MU-MRC ขอได้้ 5 คน เป็น็ ต้น้ เพื่อ�่ เป็น็ การกระตุ้้�นให้แ้ ต่ล่ ะส่ว่ นงานได้ร้ ับั รู้�ถึงึ การดำ�ำ เนินิ งาน
3. กรณีีโครงการระยะยาว 3 ปีี สามารถทำ�ำ สัญั ญาระยะยาวได้้ ด้า้ นการศึกึ ษาของมหาวิทิ ยาลััย
4. เสนอการให้ท้ ุนุ นักั ศึกึ ษาหลังั ปริญิ ญาเอกเป็น็ 1 ใน Flagship
ด้้านการวิจิ ััย 5. การขับั เคลื่อ่� นการจัดั การศึกึ ษาให้เ้ ป็น็ รูปู แบบ Digital Education
4. ปรับั ตัวั ชี้้ว� ัดั ด้า้ นวิจิ ัยั ในการทำ�ำ Performance Agreement หรืือเป็็นในลักั ษณะของ New Normal
กับั ส่ว่ นงาน (เปลี่่�ยนเป็น็ ร้อ้ ยละของหััวหน้้าโครงการใหม่่)
5. การสร้า้ งเครืือข่า่ ยวิจิ ัยั ทั้้ง� ในประเทศและต่า่ งประเทศ เช่น่
การสนับั สนุนุ ทุนุ Mahidol University–Global Partnering
Initiative (MU-GPI)
28

คณะกรรมการนโยบายและกำ�ำ กัับดูแู ล คณะกรรมการพิจิ ารณากลั่่�นกรองและ
ด้้านทรััพยากรบุุคคล ให้้ความเห็็นทางกฎหมาย
นายมนูญู สรรค์ค์ ุณุ ากร ศาสตราจารย์์ ดร.สุุรศักั ดิ์์� ลิขิ สิิทธิ์�วัฒั นกุลุ

(ดํํารงตํําแหน่ง่ 15 มกราคม 2563 – 31 มกราคม 2564) (ดํํารงตํําแหน่ง่ 15 มกราคม 2563 – 31 มกราคม 2564)
(ดํํารงตํําแหน่ง่ 1 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2564 – ปัจั จุบุ ันั ) (ดํํารงตํําแหน่ง่ 1 กุมุ ภาพัันธ์์ 2564 – ปััจจุบุ ััน)

ผลการดํําเนินิ งาน สรุุปประเด็น็ สํําคััญ ดังั นี้้� ผลการดํําเนินิ งาน สรุุปประเด็น็ สํําคััญ ดัังนี้้�
1. ขับั เคลื่อ�่ นการดำ�ำ เนินิ งานตามแผนยุทุ ธศาสตร์ก์ ารบริหิ าร 1. ข้้อบัังคัับมหาวิิทยาลััยมหิิดล ซึ่�่งสภามหาวิิทยาลััยอนุุมััติิและ

ทรัพั ยากรบุคุ คล โดยถ่า่ ยทอดไปยังั ทุกุ ส่ว่ นงานเพื่อ�่ จัดั ทำ�ำ แผน ให้ป้ ระกาศบังั คับั ใช้แ้ ล้ว้ จำ�ำ นวน 14 ฉบับั
ดำ�ำ เนินิ งานของส่ว่ นงานที่่ส� อดคล้อ้ งกับั ยุทุ ธศาสตร์ก์ ารบริหิ าร 2. ข้้อบังั คับั มหาวิิทยาลัยั มหิดิ ล ซึ่�ง่ อยู่�ระหว่า่ งการพิิจารณา จำ�ำ นวน
ทรัพั ยากรบุคุ คลของมหาวิทิ ยาลัยั รวมถึงึ ติดิ ตามผลสำ�ำ เร็จ็ ของ
การดำ�ำ เนินิ การเป็น็ ระยะ ซึ่ง�่ ส่ว่ นงานสามารถดำ�ำ เนินิ การได้้ 3 ฉบับั
ตามแผน คิดิ เป็น็ ร้อ้ ยละ 79.26 3. ให้ค้ วามเห็น็ ประเด็น็ เชิงิ กฎหมายและธรรมาภิบิ าล เพื่อ�่ ประกอบ
2. กำ�ำ หนดแนวทางการสนับั สนุนุ ด้า้ นทรัพั ยากรบุคุ คลเพื่อ�่
ขัับเคลื่�่อน Flagship Projects ของมหาวิิทยาลััยทั้้�ง 4 ด้้าน การพิจิ ารณาของมหาวิทิ ยาลัยั และสภามหาวิทิ ยาลัยั จำ�ำ นวน 2 ฉบับั
ร่่วมกัับผู้้�รับผิดิ ชอบของแต่ล่ ะ Flagship Project
3. ขัับเคลื่�่อนการดํําเนิินโครงการ Flagship Project 4.1 คณะกรรมการนโยบายด้้านการระดมทุนุ
สร้้าง Global Talents Platform ด้า้ นการวิจิ ัยั ดังั นี้้� และการสร้้าง Brand MAHIDOL
3.1. พััฒนาระบบการสรรหาบุุคลากรผู้้�มีีศัักยภาพสููงจาก ศาสตราจารย์ค์ ลินิ ิกิ พิเิ ศษ นพ.เสรีี ตู้้จ� ินิ ดา
ภายนอก (Global Talents) และกำ�ำ หนดเป็็น ประกาศ
มหาวิทิ ยาลััยมหิิดล เรื่�อ่ ง หลัักเกณฑ์์การสรรหานัักวิจิ ัยั (ดํํารงตํําแหน่ง่ 1 กุมุ ภาพันั ธ์์ 2564 – ปัจั จุบุ ันั )
สำ�ำ เร็็จรููปและอาจารย์์ศัักยภาพสููง (Global Talents)
พ.ศ. 2564 โดยมีผี ลบังั คับั ใช้ต้ั้ง� แต่่ วันั ที่่� 17 มีนี าคม 2564 ผลการดํําเนิินงาน สรุุปประเด็น็ สํําคััญ ดัังนี้้�
3.2. พััฒนาระบบบริิหารจััดการคนเก่่ง มหาวิิทยาลััยมหิิดล 1. การทำำ� Brand MAHIDOL มีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อมุ่�งเน้้นให้้เกิิด
(MU-Talents) เพื่่�อค้้นหาและระบุุคนเก่่งจากภายใน
โดยเริ่�มดำ�ำ เนิินการในส่่วนงานต้้นแบบ 2 ส่่วนงาน การระดมทุุนสนัับสนุุนการดำำ�เนิินงานในแต่่ละพัันธกิิจของ
คืือ คณะทัันตแพทยศาสตร์์ และคณะวิิศวกรรมศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั ซึ่ง�่ กระบวนการสร้า้ ง Brand เป็น็ เพียี งส่ว่ นหนึ่่ง� ของ
และส่่วนงานขยายผลเพิ่่�มเติิม 8 ส่่วนงาน ได้้แก่่ กระบวนการดำำ�เนินิ การ “ด้้านการตลาด” ดัังนั้้�น มหาวิิทยาลััย
คณะเทคนิิคการแพทย์์ คณะเวชศาสตร์์เขตร้้อน ควรนำ�ำ ประเด็น็ ที่่โ� ดดเด่น่ ของแต่ล่ ะยุทุ ธศาสตร์ม์ าจัดั ทำ�ำ แผนการ
คณะกายภาพบำำ�บัดั คณะเภสัชั ศาสตร์์ คณะสาธารณสุขุ - ตลาดสู่�ภายนอก โดยจะต้อ้ งกำ�ำ หนดโครงสร้า้ ง และวิธิ ีที ำ�ำ การตลาด
ศาสตร์์ สถาบันั ชีวี วิทิ ยาศาสตร์โ์ มเลกุลุ สถาบันั วิจิ ัยั ภาษา รวมทั้้ง� ยึดึ โยงให้เ้ ข้า้ กัับยุุทธศาสตร์ม์ หาวิิทยาลัยั
และวัฒั นธรรมเอเชียี และวิทิ ยาลััยนานาชาติิ 2. เสนอให้้ทำ�ำ เรื่อ�่ ง Brand ให้ม้ ีีความชััดเจนและเข้้มแข็ง็ แต่่ไม่่ควร
3.3 จัดั ตั้ง� ศูนู ย์บ์ ริหิ ารบุคุ ลากรชาวต่า่ งประเทศ (International เป็็นการ Re-Brand เนื่่�องจากมหาวิิทยาลััยมีี Brand ที่่�โดดเด่่น
Affairs Office) เพื่อ�่ ดูแู ลบุคุ ลากรชาวต่า่ งประเทศ รวมถึงึ ด้้านการแพทย์์และสาธารณสุุขอยู่�แล้้ว แต่่อาจต้้องใช้้วิิธีีการนำ�ำ
Global Talents ของมหาวิิทยาลััย Sub-Brand มาสนับั สนุุนให้้เกิิดประโยชน์์มากขึ้น�
4. กำ�ำ หนดแนวทางการปรัับปรุุงระบบบริิหารเงิินเดืือนและ 3. ควรกำ�ำ หนดวิธิ ีกี ารระดมทุนุ (Endowment Fund) จากเงินิ บริจิ าค
ค่่าตอบแทนของพนัักงานมหาวิิทยาลััย โดยการจััดทำ�ำ ระบบ 4. กำำ�หนดโครงสร้า้ งด้้านการตลาด เพื่่�อจััดทำ�ำ แผนกลยุทุ ธ์์
ค่า่ งาน (Job Grade) 5. จััดทำำ� Sandbox 2 เรื่่�อง เพื่่�อสนัันบสนุุนการดำำ�เนิินงานด้้าน
Marketing และการระดมทุุน
5.1 Cutting Edge Research
5.2 Music & Culture Promotion

คณะกรรมการนโยบายและกำ�ำ กับั ดููแล
ด้้านการบริหิ ารสินิ ทรัพั ย์์
ดร.สมศักั ดิ์์� ลีสี วัสั ดิ์์�ตระกูลู

(ดํํารงตํําแหน่่ง 15 มกราคม 2563 – 31 มกราคม 2564)
(ดํํารงตํําแหน่่ง 1 กุุมภาพันั ธ์์ 2564 – ปััจจุบุ ััน)

อยู่�ระหว่่างดำำ�เนินิ การ

อ้้างอิงิ กองทรัพั ยากรบุุคคล สำ�ำ นัักงานอธิกิ ารบดีี

29

รายงานผลการดำ�เนินงานของ

อธกิ ารบดตี อ่ สภามหาวทิ ยาลยั

ตามประกาศสำำ�นัักนายกรััฐมนตรีีฯ ศาสตราจารย์์ นพ.บรรจง มไหสวริิยะ ได้้รัับโปรดเกล้้าโปรดกระหม่่อมแต่่งตั้�งให้้ดำำ�รง
ตำ�ำ แหน่่งอธิิการบดีีมหาวิิทยาลััยมหิิดล ตั้�งแต่่วัันที่่� 10 กรกฎาคม 2563 ทั้้�งนี้้� เพื่่�อเสริิมสร้้างความเข้้มแข็็ง และให้้การปฏิิบััติิหน้้าที่่�
ของอธิิการบดีีมีีประสิิทธิิภาพและประสิิทธิิผลยิ่่�งขึ้�น ในการประชุุมสภามหาวิิทยาลััยมหิิดล ครั้�งที่่� 560 เมื่่�อวัันที่่� 16 กัันยายน 2563
จึงึ มีมี ติอิ นุมุ ัตั ิขิ ้อ้ บังั คับั มหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล ว่า่ ด้ว้ ยการประเมินิ ผลการปฏิบิ ัตั ิหิ น้า้ ที่่ข� องอธิกิ ารบดีี 2563 และได้ม้ ีคี ำ�ำ สั่่ง� แต่ง่ ตั้ง� คณะกรรมการ
ประเมิินผลการปฏิิบััติิหน้้าที่่�ของอธิิการบดีี (คำำ�สั่่�งสภาฯ ที่่� 51/2563) ทั้้�งนี้้� เพื่�่อเป็็นไปตามข้้อบัังคัับฯ อธิิการบดีีได้้ลงนามการจััดทํํา
ข้อ้ ตกลงการปฏิบิ ัตั ิงิ านของอธิกิ ารบดีรี ะหว่า่ งนายกสภามหาวิทิ ยาลัยั และอธิกิ ารบดีี ในการประชุมุ สภามหาวิทิ ยาลัยั ครั้ง� ที่่� 561 เมื่อ�่ วันั ที่่�
21 ตุลุ าคม 2563 โดยเป็็นการจัดั ทํําข้้อตกลงการปฏิบิ ััติิงานฯ ประจำำ�ปีีงบประมาณ 2564 ซึ่�ง่ อธิิการบดีไี ด้ร้ ายงานความก้้าวหน้า้ ในการ
ปฏิบิ ัตั ิงิ านตามข้อ้ ตกลงรายไตรมาสต่อ่ ที่่ป� ระชุมุ สภามหาวิทิ ยาลัยั โดยมีสี าระสำำ�คัญั เพื่อ่� เป็น็ การขับั เคลื่อ�่ นโครงการตามแผนยุทุ ธศาสตร์์
มหาวิิทยาลัยั ระยะ 4 ปีี คืือ พ.ศ. 2563 – 2566 และมุ่�งเน้้นการขยายผลการดำำ�เนิินการ Flagship Projects รวมทั้้ง� สิ้�น 10 โครงการ
30

10 Flagship Projects
การนำำ�มหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ล
สู่�่การเป็น็ มหาวิทิ ยาลััยชั้�นนำ�ำ ของโลก
มหาวิทิ ยาลัยั ให้ก้ ารสนับั สนุนุ ทุกุ ส่ว่ นงานในการดำ�ำ เนินิ งานตามยุทุ ธศาสตร์์
เพื่�่อผลัักดัันให้้มหาวิิทยาลััยบรรลุุเป้้าหมายตามวิิสััยทััศน์์ ที่่�มุ่�งเป้้าหมาย
สู่�การเป็็นมหาวิทิ ยาลัยั ชั้้น� นำำ� 1 ใน 100 ของโลก

Flagship 1.1 Flagship 1.2

MU-MRC และกลุ่�มนัักวิิจััยสำำ�เร็็จรููป ผลักั ดันั Subject Ranking โดยสนับั สนุนุ งานวิจิ ัยั
เฉพาะสาขา
Flagship 1.3
Flagship 2.1
เพิ่่�มศัักยภาพโครงสร้้างพื้้�นฐานด้้านการวิิจััย
เพื่่�อรองรัับศาสตร์์ในอนาคต การศึึกษาแบบยืืดหยุ่่�นและระบบคลัังหน่่วยกิิต
(Flexible Education & Credit Unit Bank System)
Flagship 2.2
Flagship 2.3
พัฒั นาอาจารย์ต์ ามเกณฑ์ม์ าตรฐานคุณุ ภาพอาจารย์์
(MUPSF - Professional Standards Framework) Mahidol University Extension (MUx)
Platform
Flagship 2.4
Flagship 3
Career Support Services
MU Social Engagement Platform
Flagship 4.1
Flagship 4.2
สร้้าง Global Talents Platform
Finance and Branding

รายงานผลการดำำ�เนิินงานของอธิิการบดีตี ่่อสภามหาวิิทยาลััยมหิดิ ล ครั้�งที่่� 570 เมื่�่อวัันที่่� 21 กรกฎาคม 2564 31
อ้้างอิิง กองแผนงาน สำ�ำ นักั งานอธิกิ ารบดีี

รายงานผลการด�ำ เนนิ งานของอธกิ ารบดี ปงี บประมาณ 2564

เป้า้ หมาย ผลการดำำ�เนิินงาน

ย ุุทธศาสตร์์ที่่� 1 Global Research and InnovationนFัlกั aวgิจิsัhยั สipำำ�เ1ร็.จ็1รูMูปU-MRC และกลุ่�ม 1. สนับั สนุนุ กลุ่�ม MU-MRC จำ�ำ นวน 3 กลุ่�ม 1. มแบีูกบีูรณลบุ่�มานักMักาวUริิจแั-ัยMลหะRลสCหาจยสำรำ�ุา่น่ข�นวานกล3ุ่�มกนลุั่�ักมวิกิจัลุั่ย�มแวิบจิ ับยั
วใคัุนตัณุ วถภุาปุ ารรพสะราสะรงดคัQบ์ั ์ :1สูมุงู่�งแผลลิะติ ไดผ้รล้ ับังากนารวิตจิ ีัพียั ทิีมิ่่พม� ์ีี์ 2. อยู่�ระหว่า่ งพิิจารณา จำ�ำ นวน 2 กลุ่�ม

FRเฉlaaพngาskะhiสinpาgข1.าโ2ดผยลัสกั นดัันับั อสันั นดุันุบั งSาuนbวjิeจิ ัcยั t 2. สจำน�ำ ับนั สวนนุนุ 2ก0ลุ่�มกวิลจุิ่ั�ยมั ขนาดเล็ก็ MU-MiniRC 1. ม1ี1กี ลุ่ก�มลุ่ว�มิจิ ัยั ขนาดเล็ก็ MU-MiniRC จำำ�นวน
Sวแใัหตัuล้ถ้อbะุปุยjู่ePร�ใcะhนtอสaังrRันmคaด์์ั:naบัมุck่�งyinเ1นg้-&น้1สก0Pาา0hรขaผาขrลอmัMกั งดaโeันcลั dอoกัiclนั oดingับัey 2. อยู่�ระหว่า่ งพิิจารณา จำำ�นวน 3 กลุ่�ม

1. สชานัวับต่ส่างนุปุนรนะัเักทวศิิจััจยำำ�หนลัวังนปร2ิ0ิญทญุนุ าเอก 1. สปนรัะบั เสทนศุนุ นจำั�ำ กั นวิวจิ ันยั ห1ล5ังั รปาริยญิ จญาากเอ4กสช่ว่ านวตง่าา่ นง
2. อนจำัำ�ยักู่�รนวะิวิจหันัยว่หา่5งลักรังาาปรยรพิิิญจิ าญราณเาอจกัดั ชสารวรตทุ่่านุ งสปนรับั ะสเทนุนุศ

2. สจMำนำ�eันบัdวiสcนนinุนุeอก/ย่ลPุ่า่�hมงaวนิ้rจิmอ้ัยั ยaสcา1yข0&ากPLhลiุf่e�aมrsm(c5iae0cnoรcloาegย&y) 1. Pจวปำิ�ำจิhรันaัยะวrกสmนาาศaข3cรา8yารยL&ชาiืfย่eอ�่Pผhู้s�ไacดri้emร้ ัnบั acทcุeนุolส&oนgัMบัyสeรนdอุiนุบcกiทnี่ลุ่�e่�ม1/
2. เอพิยู่่่�ม�รเะตหิิมว่ใา่นงรพิอจิ บาทรี่่ณ� 2าผู้�ได้ร้ ับั ทุนุ สนับั สนุนุ ฯ

3. สPhนัaับsสeนุ2นุ กจำา�ำ รนดำว�ำ นเนิ3นิ กงาลุ่น�ม Joint Unit 1. จจPำ�ำhานกaวsผeนล1ก1า1มรีสีสด่่ำว่ว่ �ำ นนเนงงิาานิ นนทกี่่า� รไดข้ร้ อับั งกาJรoจiัnดั tสรUรทnุนุit
2. Jคโคoวรiาnงมtกร่Uา่วรnมทีiม่t่ื�ไือดP้ร้รhัะับaหsทุวeุน่่า2สงปนัรับะสเนทุุนศกต่า่อรเนพืั่�่อัฒงนในา

Fโรคอlรaงงรgัสบั sรศ้hา้ างiสpพื้ต้น� ร1ฐ์์ใ.าน3นอด้นเา้พาิน่่ค�มกตาศัรักวิยจิ ัภยั เาพืพ่อ่� 1. ม1ขียีคแาวหย่าง่ฐมาพนศรู้้อนู มย์ใเ์ นครกื่อ่� างรมืปือฏวิิิบทิ ััตยิาิกเาขรตปแีีลละะ 1. ขณยาคยณศัะกั วยิิทภยาาพศศาูนูสยต์เ์รค์์ ร(ื่วอ�่ิิทงยมืืาอเวขิทิ ตยพาญศาาสไทต)ร์์
(วโัFคตั rรถoุงุปnสรtร้iะา้eงสrพืง้R้คน� ์e์ฐs:าeมนุ่aด�งr้สcา้ รhน้า้)กงาครววิาจิ ัมยั ขพั้้รน� ้สอ้ ูมงู 2. ขยายพื้้น� ที่่ก� ารให้บ้ ริกิ าร Core Facility
2. ข2ส่ว่ยแนาหงย่าง่ คนวภาามยใร่น่วแมลมืะือภาPยiนloอกt อPยl่aา่ งnนt้อ้ สยู่� 1. คคกาณณระะขวแยิิทาพยยทคายศวศาามาสสรต่ว่ตร์ม์ร์ม์ศืืิอิริภิราายชใพนยมาหบาาวิลทิ ยแาลลัยะั
2. ก-----าบบบคบพมรขอหรรรรริิิิยิิิิษษษษะรา์ัััั์ปจาวััััททททิยิทออคเแคใมยเจิบรวอินเาเชกยัานลส่เั�นจมลพาัเย้ซูน้ารเ่ไจูตนทธ่วำิฟำ�ไินกมแคกบโบัมดตโุืไโัดืนบอนฟุรอีทโีสโเาู่ล์ทอ�ภรย์ ์คีไ์มาจีบำยำ�จจโำกำนอำ�ำั�กอกัดเััทกัดัดค
3. จแัดั ขทนำำ�งใEหcมo่่sจyำ�ำ sนteวmน 3เพื่กอ่� ลุร่�มองรับั ศาสตร์์ 1. จแัขัดนทำงำ�ใหEมc่่ oจำs�ำ yนsวtนem5 กเลพุ่ื�่ม�่อรองรัับศาสตร์์
2. ได้ร้ ับั งบประมาณสนับั สนุนุ เพิ่่ม� เติมิ ภายใต้้
โครงการพลิกิ โฉมมหาวิทิ ยาลัยั (Re-inventing
University) จากสำำ�นักั งานปลัดั กระทรวง
การอุุดมศึึกษา วิิทยาศาสตร์์ วิิจััย และ
นวัตั กรรม(สป.อว.)จำ�ำ นวน178,971,000บาท

32

รอบ 9 เดอื น (ตลุ าคม 2563 - มถิ นุ ายน 2564) ตอ่ สภามหาวทิ ยาลยั

เป้้าหมาย ผลการดำำ�เนินิ งาน

SแEFldyลasuะgtรcsehะamบtipi)oบ2nค.1ล&ังักหาCรนศr่ึว่eึกยdษกitิาติ แUบ(nFบiltยeืืxBดหiabยnุl่e่k�น 1. มยขืืหดยาาหวยิทิยผุ่ย่ล�านสกลูั่ยั่า�สร่อ่วจยัน่ัดา่ ทงงำนา�ำ้อ้หนอยลืั่5ัก�่นสสูภู่ตว่ านรงแยาบในนบ 1. สขู่่�ยส่วานยงผาลนอกื่นา�่ รภจาัดัยทใำน�ำ มหหลัากั วิสทิ ูตูยารลแัยับ6บยสื่ืว่ดนหงยาุ่น่�น
หวัตัลัถกัุปุ สูรตู ะรสแงบค์บ์ :ยเืืพดื่อ�่หขยุ่ย่�นาสูย่่�สผ่ว่ ลนกงาารนจอัืดั่น�่ทำ�ำ 2. บห(มหหีันีลณัลัลัักัักัักกัฑศสิสสึููกึูติตูตููตษรรรสากนศทาีิาา่่ิลเข�นรข้ปศาาา้ึวชกึศศิึชิากษึาตาษิสา)ิเแาตทขแบอรคลบ้แงโว้ วยนลิืทิืจดะโำย�ำลหวายนิิทยีลวุั่สี ่ยัยน�นรนา้1า้(าศนง9นำา�ำสารคสร่ชนอ่ ตรางคตร์)ิ์ิ
ย ุุทธศาสตร ์์ที�่่ 2 Innovative Education and Authentic Learning
3. สหERำdล�ำoัuกหัacสdรูaัตู ับstรhioสรo่ะn่วwดนัแบั ลงปแะารนินญCิทวีr่ทญe่�จาdาััดงตitกกรีUาี าทัรn้้รง�จiสtัเิ้ดัรน�Bีทียaำ2�ำนn2kกFสSาl่ว่eyรนxsสงtibeอานmlนe
4. จัดั ทำ�ำ Flexible Assistant Clinic (FAC)
5. มหีกีลัากั รสเูจตู รรจแาบกับบั ยืภืดาหคยอุุ่่ตุ�นสาหกรรมในการจัดั ทำ�ำ

SFตอtาlาaaจมngาเdsรกยha์ณ์ripd(Mฑs์U2์มF.Prา2aSตmFพรัe-ฐัฒwPานroนoาrคfkุอe)ุณsาsจiภoาnารaพย์l์ 1. มอีาีเกจณารฑย์์์์ม4ารตะรดฐัับานระดัับสมรรถนะ ยก4การรระ่สา่ ดงอัเบั นกณตาฑม์ม์ เกาตณรฑฐ์า์มนาคตุณุรฐภาานพคุกุณารภจาัดัพกอาารจเราียีรนย์์
อวตรูั่ปูตัอา่ จถแกุาปุบรระรบยบ์ะใใ์ หสวนนงมม่คกแ่ห์์าลา:รวะิจเทิมัพดีัืยคี่อ�่กาวพาลาััรฒัยัมเรใหนีหยี ้ลาต้นาศอกักกั บาหยรสลภสนาอาอยพนง 2. มอีาผี จลากรายร์์จจำา�ำ กแกนากรรปะรดัะบั เมสิินมรตรนถเอนงะของ อSนมำkบ�าำ iผตlรlมลรGกฐกaาาารpนรพคจัำุขฒั�ำ ณุอแนงนภาออกาาาพรจจะาอาดรารัยบัจย์์์ ใสา์เหพรมื้ไ่้อ�ย่ดร์้น์ใรก้ำน�ำถาไรรนประพัะบัดัอัรฒับั าอนทจงี่่ตาาส� ูหรางู มยลข์ึั้เม์กั�นกาสณูหตู ฑาร์์

3. มสีมจี ำ�ำรนรวถนผนู้ะ้�อปารจะาเมริยนิ ์์ จ(Aำ�ำ sนsวeนss3o0r) คระนดับั มอEdบหuารวมcิทิaแtยลioาะลnพัยัั ฒัรไ่ดว่น้้แมาลกก้ั้วบั ลุ่�มจบำ�ำผูร้ิน้ษิ�ปัวรทั ะนเAม3ิdน5ิ vสคaมnนรcรeถHนะigขhอeงr

FElxatgesnhsipio2n.3(MMaUhxi)doPllaUtnfoivremrsity 1. รทISุาOุกยวิว4ิชิิช0า1าต8้้อ0M:ง2Oอ0O1ยู่ �7ภCาsยทีใ่่ต�ผ้้มลิิตาตขึ้้�นรฐใหานม่่ 1. เoA(ผEพ่ืา่fu่xอ�่ นtdCปeกioรrtาn)ะmรaกแตlาpลรAศlะวuiอaจกdยn่ปาiา่ tcรง)รeเตโะปด็รเน็ภมยวิทอานิจยายูภป่ง�รใการนะยาะหเรดใเวืมนื่อา่ินิงน(รสภIอnิางิtLยหeeนrาtnคอteaมกrl
มแยวััตอลหถมะาุุปครวัุิบัรุณิทะตภยสาาามงพลคมั์์ัยบา:ตใทหเรเพ้ืรฐ้ม่ี�่อีียาีคสนนุุณรสอ้้าาอภงกนมาลไพาลตเนรป์็์ฐข็นทาอีน่ง่�
2. I22มSี..ีรO21าอยเป4ยวูิ่ิ�ิด0ริชะส1าห8อที่ว0น่�พ่า่ัแ:ัฒงลพ2้ันว้ 0ฒั า1จนตำ7�ำ าานจมจำวำ�ำ แ�ำ นนนนว3ววนนทร1าา1งย63มวิรรชิาาาตายยรววิิฐิชชิ าาาน


FSleargvsicheips 2.4 Career Support 1. สแสแลานลัมะะบั าผนสรลานัถกัุนเนุ ดขาั้กนัา้ชทาใาำหร�ำต้ไนง้ิดัิากั้นง้ ศาึใกึนนษทอำางำ�ทคีข่์่ม�ก์อีศีรังกัรนะยักัดภัศบัาึกึพชษาสูตางูิิ 1. วมีากี งารระดบำ�ำ บเนCิินaกreารer Support Services โดย
132ว...ัตั เนศใทแเเสถิำนพปรุิษิ�าำร่็ุปิ่กงม�งยมน็ิยงจรส์าาทชเ์ื้าะนร่ัก่า้นอ่กั่�อ่สเทาง่ ตีษงง่ก่รทแคมะ�ีล์ยีี ลท์คาีีามุ่:่ะงจณ�ุ งำคใส�ำ รภนวเถะปาากา็หมนพ็นาพใวรป่หร่าเ้ร้ขแ้อ้ง้ะาก้นมก่ัถน่กักึอั่งึกัอ่ บศตศึนึกึกลกึ กาษาษารดารา/ 1.1 จCัดัaทrำe�ำ eWrseSbesirtvei:cMeaเhสiรd็จ็ oสิl้น�Uแnลi้vว้ ersity
1.2 จัดั ทำ�ำ วีดี ิโิ อแนะนำ�ำ อาชีพี
1.3 จแLัeลดั aะสrบรnัณัรinฑLgิติ”icเขจe้ำา้�ำnถนึsงึ วePนsla1สt0ำf�ำo,0หrm0รั0บั “Lนัliกiัcneศkึneกึ sdษeinาs
1.4 แอกาลารชะีจพีัดัOใกnนิจิรlูกinปู รeแรมบเบสผริมสิ ทมักผั ษสาะนทที่ั่จ�้ำ้�ำง� เปO็น็nดs้iา้tนe
1 .5 โอคารชีงพี กขาอรงบน่ัม่ กั เศพึกึ าษะาความเป็น็ เลิศิ ทาง
1 .6 จัPดัlatJfoobrmFaขiอrงในjรoูbปู แBบKบK Online บน

33

รายงานผลการด�ำ เนนิ งานของอธกิ ารบดี ปงี บประมาณ 2564

เป้้าหมาย ผลการดำ�ำ เนิินงาน

ผลการดำำ�เนินิ งานตามยุุทธศาสตร์์ด้้านการศึึกษา

1(คE.วnกาาtมรrเสeข่้ง่pา้ เใสrจeริใมิnนใeหก้uน้าักรัriเศึaปึก็lน็ษผEูา้dป�้มีพรuีื้้ะน�cกฐaอาtนบioแกnลา)ะร 1. มรผูี้าีร้�ยปารวยิะชิ วกิาิชอาบศึกึกาษราทเั่พ่ิ�ว่่ม�ไปขทึ้ีน�่่�สออย่นา่ งกนา้อ้รเยป็็น2 1. 2ใที่น่ส� ปรอีากีนยทาวัิรชิกัศาึษกึ ะษกาา2รเ5ป6็น็ 4ผู้ม้ี�ปรี ราะยกวิอชิ บากศึากึ รษจาำ�ำทั่น่ว� วไปน

ย ุุทธศาสตร์์ที ่่� 2 ผนMวูัั้ตั้ัก�iปnถรุศdปุะึึกsกรeษะอtสบา)งใกคห์า้์ ร้ม:ีเีท(พัืE่ัก�่อnษพtัrฒัะeใpนนrาeกศัnักาeรยuเภปrา็ia็นพl 2. นทตอีั้่่อ้ย�เกั ่กงี่า่ศลย�ึงกึวงนข้ทษ้อ้ะ้อายเรงบี2กหยีััับสันหกเกนรี่าายีว่ รรนยเศกรปึิ็ากึ ็นิตยผษูว้ิ้าชิ�ปาร6ศะึ4กึ กษอทาุบทกุั่ก่ว�คไานปร 1. ยบมรุานุครุยิษุิหดวิิยิจาชิ ิศริทาัสาัลำสส�ำ มตหขสรร์อคั์ ับจงำ1�ำกค2นาณ3วรนะเกปสา็2ั็นรังผตูหคั้ดั้นม�่สปว่ศิรินยะากใิสกจติ ทตอารบ์ง์แกกลาาะรร
2. ขกกราาอายรรงวเพริปัชิ็าัฒ็นายผูนว้มิ้ิช�ามปรมาศะนทมุกุษอม1ยบศ์0์ กท0มีาีกกร1าใา0นรร0ปรศึราึกใัยหับษ้วิ้คาิชcทรัา่่oอว�นี้nไ้บ� ปtคeเพลืnุุ่มอ�่ t

ห2.ลัักกสาููรตไรดร้ร้ะับั ดักับาสรารักบั ลรองมาตรฐาน 1. จรำะ�ำ ดนับั วสนากหลลัจกัำ�ำ สนูตู วรนอที่่ยไ� ่าด่ ้งร้ นับ้ั อ้ กยา8รหรัลบัักั รสูอตู งร อทใี่น่าร�ปเอีซงีีรยีบับั นปกรจาะำ�ำรมนตาวรณนว2จ85ป6หร4ะลัมเกั มหสิูนิ ตูาวริAทิ UยาNลั-ยั QมีAหี ลัรกั ะสูดตูับั ร
วหรััับัตลัรกัถุอสุปูงตู ตรราะขมสอเงงกมคณ์ห์ ฑา:์วม์ ิเทิ าพืยต่�่อารลฐผัยาั ลนัไักดส้ร้ดาัับั กันกลใาหร้้

Policy Advocacy and Leaders in FPllaagtsfhoiprm3 MU Social Engagement 1. ขมุ่ั�งับเนเ้ค้นลดื่้�่อ้านนนHโeยaบltาhยชี้P้�นolาicสัyังค1มเโรืด่่�อยง 1. ปจโำีคำ�ี รน2งว5กน6า35รขมโัคับหรเาคงวกลิืิทา่่�อรยนานลัโัยยใบห้า้ทุยุนชี้ส้�นนำั�ำ ับสัสังนคุุนม
Professional / Academic Services กนววมัิตัจิาหโัยถรยัาุบกปุขวำิ�ำทิารอหยะยชงีสน้าม้น�งลดหำัค�ยำัม์าส์ ัา:วงัิตเทิคพรืย่มอ�่ฐาขาแัลนบััทลยัีเ่ะคไ่ถ�ปสลูส่ืูกู่ง่่อ�่่สเ�กนสร้าผรา้ิมริลงเใโงปหดา็้น็นม้ยีี 2. ปจชีำี้้�ำ�นี ำน2ำ�สว5ัน6ัง4ค2มมโีคีโทีคร่่�ผงร่ก่างนากรการาขรัคับััดเคเลลืืื่อ่�อกนรนอโบยบที่่า� ย1
3. จวติัำิชำ�ัดาแกกิหิจานรก่ด่ง้รทว้ รยามผงวลเิพิชงื่าา�่อนกสวาินิชรัาับขกอสางรนบุรุัุนับุคกใลช้าา้สักรังรเคขสม้้าาสยู่�
4. จ(SัMoัดUcงiาSaEนlFมE2หn0กg2รa1รg) มeในmมรูหปูeิิดแnบลtบเFพืV่o่�อirrสtuัuังmaคlมE2v0Me2nU1t

2. ม1ีมี มาาตตรรฐฐาานทนี่่ถ� ูกู สร้า้ งโดยมหาวิทิ ยาลัยั จงHมสัิีาดังิกีeนหทaาำมlาร�ำ tคหทรhะมyาดบวลิ2Uทบิ อ5nตยงิ6iดิาเv4รลตeีัยี ยัrาบsสมiุtรแขุ้yอ้ ลภยFะาrแปพaลmรภ้ว้ะาeเยมเwิปในิิoติดผ้r้ ใkลAช้กUโ้จาดรNริยิงด–รำเ�ำHดะืเืบอPนิNบนนิ

ย ุุทธศาสตร ์์ที่�่3

34 มหิดิ ลสิิทธาคาร มหาวิิทยาลัยั มหิดิ ล

รอบ 9 เดอื น (ตลุ าคม 2563 - มถิ นุ ายน 2564) ตอ่ สภามหาวทิ ยาลยั

เป้้าหมาย ผลการดำำ�เนินิ งาน

PFllaagtsfhoirpm4.1 สร้า้ ง Global Talents 1. ขดส่้าว้ย่ นนากยงาาผรนลวติจิ้Gันย้ัสlู่แo่�สบb่ว่ บaนlงจาTำ�ำนaอนืl่eวน�่ nนนt1อs0กPเlสหa่ว่นtืืfนอoงจrาาmนก 1. ขตวิ้ิจย้นัาัยแยบผสู่บ่ล�ส่่วGจำนlำ�oงนbาวaนนอlืT่1่�นa0lนeอสn่กว่tsนเหPงlนาaืืนtอfจoาrmกสด่้่วา้ นนงกาานร ย ุุทธศาสตร ์์ที �่่4 Management for Self-Sufficiency and Sustainable Organization
กTรวGเัปวตaัาl็oน็มlรถeุbศถปุ GnึึaงึึกรtllพษsะoTัฒัสPbaางllaนeaคl์nาt์fT:บtoุsเaคุพrแืlm่ลeอ่�ลาnสะดกt้ขรา้sรรยนภจหากาายาายกผบรุใภลคุวนิาGจลิใัยหยัlาo้นกแเ้ bปอรล็aทน็กะี่l่� 2. ดส้า้ร้น้างกาGรlศoึึกbษaาl Talents Platform 2. มีนี ัักวิิจัยั สำำ�เร็จ็ รููปปฏิิบััติิงานแล้ว้ 8 ราย
3. Oชอายูf่f�วรiตcะ่eห่างว:่ปา่IAงรกOะาเ)ทรจศัดั (ตัI้้nง� ศtูeนู rยn์บ์ aรtิหiิ oาnรaบlุคุ Aลfาfกaiรr
วMศึาึกUงษแPผาSนFเกพรืา่ะ�่อรดัเคับขััด้ส้าเมรลืัืับรอรกกถานMระปUอร-าTะจaเาlมรeิยินn์์ ตt4sารมดะ้้าเดกันับณกาฑร์์

Flagship4.2FinanceandBranding 1. ไศริดะิษ้้อดยย์ม่์เ่ากท่งุ่านุนแ้ผอ้ ล่ย่าะน2Eก0nาdลร้้าoพันwัฒบmนาทาeเnคtรืืFอuข่n่าdย แกำผ�ำ หนนMดaโrคkeรtงiสngร้า้ แงลด้ะา้ จนัดั ทMำ�ำ aSraknedtibnogxเ2พื่เอ�่รื่อจ� ังดั ทคืำือ�ำ
1. Cutting Edge Research และ
2. Music & Culture Promotion
รวมถึึงการจัดั ทำ�ำ แผนการระดมทุุนระยะสั้�น
ผลการด�ำเนินงานตามยทุ ธศาสตร์ด้านการบรหิ ารจัดการ

ธ1ร. รพมััฒาภนิิบาากลารดำำ�เนิินงานตามหลััก ก(ใรไัIนดบัTา้ร้กAรกับั ปา)ารครรขดะปะำอ�ำแเรงมเนะิกนินิเนลคินุม่ ิ�ุอมงนิ ุณยาสู่ �นธใถนรขารเบอกัมงนั ณแอหุลฑนดุ ์่ะ์ ว่ ม“คยศดวึีงกึมี าาษมานกโาภป”ราที่่คข่่ง�เขอรใั้สฐั้าง 1. จสปั่ว่ัรดะนโเเคมสิีนริยี งภITกาAายรปในอรมะบจหำร�ำ าปมวีิงีใทิ บหย้ป้คารลวะัยัามมาเพณรืู่้อ�่้�ผูพเ้้ข�้ม.ีศา้ีส่ร.ั่วบั2น5กไ6าด4ร้้
2. คมหะแาวนิทินย9าล1ัย.ั 0ไ8ด้ผ้ รละกดัาับรป“รAะ”เมินิ ITA ปีี 2564

G2.reTeHnEUnImivperascitty RRaannkkiinnggss / 1. ป1ี0ี 12-022010 ขมอหงาTวิHิทEยาImลัยัpอacยู่t�ใRนลaำn�ำ kดัinับgทีs่่� 1 ลผำ�ำลดกับั าทรี่่ป� 1ร0ะ1เมิ–นิ ป2ี0ี 20021 มหาวิทิ ยาลัยั อยู่�ใน
2. aรปจ7มับัาnหรเกกdะปา้มวเาา้ ิมหทิWหรินิาจยมัeวดัาาิทิlโลยอlดััยbยันั ยตจาดeิลาัดิiัGบัnกยั ทอีgOั่นั1่เเ�ดAปข6ม้็ัา้Lน็บัหเรล่ปาว่ำ้31�าำ้มว:ิดหทิทััใ้Gมบั้นง�ยoาหทาี่ย่1oมทล� ีั0่7ดdยั่เ�0ขม8้ขHา้ห7จอริำe1ั�ำดิบังaนลแโกlลวหtไา่hกดนรง่้้
วมัหัตาถวุิุปทิ ยราะลัสยัสูง่่�คก์า์ ร:พัเฒัพื่น�่อาขอัับย่เา่ คงยลั่ื่ง� �่อยืนืน

3. เววิทเิาีคงียรแบาผะกนัหับก์ข์ มา้อ้ รหมพูาัลูฒั วผิิทนลยากทาัา้้�งลรัจัย1ัดั 7อTัเนัOปด้ั้าPบัหเ5มพืา่อ�่สยำเำ�ปรหีรยี ัับบ
4. มปหริะดิ กลสูา่่�ศกนารโพยับัฒานยาขัอับย่เ่าคงลยัื่่่�อ�งยนืืมน หาวิิทยาลััย
5. ปเเชกรีิ่ังิ�ยับนวิขเิป้วร้อศุงุงน์เป์พืร่่�อะสกร้า้าศงคมวหาามวเิิปท็็นยมาลหััยาวมิิทหิยิดาลลทัีัย่่�

2. ปขีอี2ง02G1reมeหnาวิUทิ ยnาivลัeยั rอsยู่i�tลyำ�ำ ดRับัaทnี่่�k1i-n1g0s0 ม2Gจัดั0หre2ลาำe1ว�ำ ิดnทิ ัใMบัยนาชจe่ละัt่วยัrทงจicัรเดดัาืืWทอบำน�ำใoขตน้rุชอ้lุ่ลdมว่ าูงลูคUเสดมำืnืำ�อiห2vนร5eับัธ6rัsนัส4i่tวง่ yปโาดครRยะมaผเnม2ลิkนิ5กi6nาU4รgI

3. Digital Convergence University Cคoวnาvมeสำrgำ�eเnร็็cจeขUอnงกivาeรrsเiปt็y็นร้้อDยiลgะit7a0l มเมUปีห้ีกn้าาาหivวริมeิทดำาr�ำยยsเานitลริ้ัyิน้อัยกยใดหลาำ้�ำร้เะปเท็ัน้7็น้ิ�ง0ินห.Dก6มi5าgดรitสa6ำำ�l เดCร้็้าo็จนnเปเvพ็ื็นe่่�อrไgพปัeัฒตnานcมeา
ขสปสวั้รัน้อตนัััมบับัถับูุลูสุปสปกนนรรุุลุนุนุะอุงาพืส่งเั่น�ทเงนั พืธคๆค่์่�อก์ ิรโก:จินวามหเรโพถืลตลึ่ััย�่งอึดักั ีกพสแีดิาัินิลัฒริจิใะสิทจนพรั้ััลา้านั งธแเฐพกลืาิ่�่อนะจิ
35

มหิดิ ลสิทิ ธาคาร มหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล

36

ส่วนท่ี 3
จากสภามหาวิทยาลยั สกู่ ารปฏบิ ตั ิ

• นโยบายของนายกสภามหาวิิทยาลัยั มหิิดลต่่อ 39
กรรมการสภามหาวิิทยาลัยั มหิิดล และผู้้ท� รงคุณุ วุฒุ ิิ (ชุุดใหม่่)

• แนวทางด้้านการวิจิ ััยมหาวิิทยาลัยั มหิิดล 40
ดร.สมเกียี รติ ิตั้้ง� กิจิ วานิชิ ย์์ กรรมการสภามหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล ผู้ท�้ รงคุณุ วุฒุ ิิ

• เส้้นทางการเปลี่ย� นผ่า่ นสู่�มหาวิิทยาลััยยุุคดิิจิทิ ััล 41
ดร.ทวีศี ักั ดิ์� กออนันั ตกููล กรรมการสภามหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล ผู้ท�้ รงคุณุ วุฒุ ิิ

• วิสิ ัยั ทัศั น์์ ยุุทธศาสตร์์ แผนการดำ�ำ เนิินงานของ 42
หัวั หน้้าส่ว่ นงานที่่ร� ับั ตำ�ำ แหน่ง่ ใหม่่ (ตุลุ าคม 2563 - กันั ยายน 2564)

37

“การเรีียนรู้ �ที่ �ดีี เป็น็ สิ่่�งที่�ประเสริิฐที่่�สุุดของมนุษุ ย์์
”เป็็นหน้้าที่�ของมหาวิิทยาลััยที่�จะต้้องช่่วยให้้เพื่�่อนมนุษุ ย์์

มีีการเรีียนรู้ ท� ี่ �ดีี

ศาสตราจารย์เ์ กีียรติคิ ุุณ นพ.ประเวศ วะสีี
กรรมการสภามหาวิิทยาลััยมหิิดล ผู้ท้� รงคุณุ วุฒุ ิิ
กล่า่ วในการประชุมุ สภามหาวิทิ ยาลััยมหิิดล ครั้้ง� ที่่� 569 เมื่อ�่ วัันที่่� 16 มิิถุุนายน 2564

อาคารศูนู ย์์การเรียี นรู้�มหิิดล (Mahidol Learning Center : MLC)

38

กนรโยรบมากยาขรอสงภนาามยหกาสวทิภยามาลหยัามวหทิ ดิยลาลแัยลมะผหทู้ดิ รลงตคอ่ ณุ วฒุ ิ (ชดุ ใหม)่

ตามที่�่มีีพระบรมราชโองการโปรดเกล้้าโปรดกระหม่่อมแต่่งตั้�้งกรรมการสภามหาวิิทยาลััย
ผู้�้ ทรงคุณุ วุฒุ ิิ ของมหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ลจำ�ำ นวน15รายตั้ง�้ แต่ว่ัันที่�่ 6ธันั วาคม2563 ทั้ง�้ นี้� ในการประชุมุ สภามหาวิทิ ยาลััย
มหิดิ ล ครั้�้งที่่� 563 เมื่�่อวัันที่่� 16 ธันั วาคม 2563 ศาสตราจารย์ค์ ลินิ ิิกเกีียรติคิ ุณุ นพ.ปิิยะสกล สกลสััตยาทร
นายกสภามหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ล ได้ก้ ล่า่ วต้อ้ นรัับกรรมการสภามหาวิทิ ยาลััย ผู้�้ ทรงคุณุ วุฒุ ิิ (ชุดุ ใหม่)่ และกล่า่ วถึงึ
คำ�ำ ขวััญ ปรััชญา วิสิ ััยทััศน์์ พัันธกิิจ ยุทุ ธศาสตร์์ วััฒนธรรมองค์ก์ รของมหาวิิทยาลััย และนำ�ำ เสนอภาระหน้า้ ที่ข�่ อง
กรรมการสภามหาวิทิ ยาลััย ตามมาตรา 24 ของพระราชบััญญััติิ มหาวิิทยาลััยมหิิดล พ.ศ. 2550 ดัังนี้้�

1. กำ�ำ หนดเป้า้ หมาย วางนโยบาย กำ�ำ กัับ และติิดตามการดำ�ำ เนิินงานของมหาวิทิ ยาลััย
2. ออกข้้อบัังคัับต่่าง ๆ
3. อนุุมััติกิ ารแบ่ง่ หน่่วยงาน การจััดการศึกึ ษา และปริิญญา
4. สรรหานายกสภามหาวิทิ ยาลััย และอธิิการบดีี
5. แต่่งตั้้�งถอดถอนตำ�ำ แหน่่งทางวิิชาการ และตำ�ำ แหน่ง่ บริหิ าร
6. อนุุมััติงิ บประมาณรายรัับ/รายจ่่ายของมหาวิทิ ยาลััย
7. แต่่งตั้้ง� คณะกรรมการ กำ�ำ กัับดููแล ด้า้ นต่า่ ง ๆ

“คิดิ นอกกรอบ ทำำ�ให้้เร็็ว
ปพึิ่ดิ ่ง� ตทอนงเอหงลใัหัง้้พได้ร้ ะเพ”ื่�อ่ ความยั่�งยืนื

ศาสตราจารย์์คลินิ ิิกเกีียรติคิ ุณุ นพ.ปิยิ ะสกล สกลสััตยาทร
นายกสภามหาวิิทยาลััยมหิิดล

กล่่าวในการประชุมุ สภามหาวิิทยาลััยมหิดิ ล ครั้ง� ที่่� 563 เมื่อ�่ วันั ที่่� 16 ธันั วาคม 2563

39

แนวทางดา้ นการวิจยั มหาวิทยาลยั มหิดล

มุ่ง�่ สร้า้ ง “ปัญั ญาของแผ่น่ ดินิ ” ที่�่ “กินิ ได้้ ใช้ด้ ีี”

มหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ลมีีบทเรีียนที่ด�่ ีีมากมายได้แ้ ก่่ความร่ว่ มมืือกัับมหาวิทิ ยาลััยระดัับโลกตััวอย่า่ งจากMORUTropicalHealth
Network การขอทุุนก้้อนใหญ่่จากต่่างประเทศ ตััวอย่่างจาก คณะแพทยศาสตร์์ศิิริิราชพยาบาล และคณะเวชศาสตร์์เขตร้้อน
การหารายได้้จากทรััพย์์สิินทางปััญญา ตััวอย่่างจาก สถาบัันชีีววิิทยาศาสตร์์โมเลกุุล การวิิจััยและพััฒนางานพื้้�นที่�่ ตััวอย่่างจาก
โครงการสมุุทรสาคร และการสร้้างผลกระทบเชิิงนโยบายที่�่มีีตััวอย่่างมากมาย ที่�่ส่่วนงานต่่าง ๆ สามารถเรีียนรู้�้ จากบทเรีียนที่�่ดีี
เพื่อ�่ ต่่อยอดการทำำ�งานต่่อไป (เสนอที่�่ประชุุมสภามหาวิิทยาลััยมหิดิ ล ครั้�ง้ ที่�่ 570 เมื่อ�่ วัันที่่� 21 กรกฎาคม 2564)

7 ข้้อเสนอแนะเพื่อ�่ ขัับเคลื่�อน
และผลัักดันั การวิจิ ััยและนวัตั กรรมระดัับโลก

GLOBALIZATION ชวนสังั คมและมนุษุ ยศาสตร์์
มาร่่วมวิจิ ัยั
สร้้างองค์ค์ วามรู้�ใหม่่
ร่ว่ มกับั มหาวิทิ ยาลััยระดัับโลก

วิิจััยเชิิงพาณิชิ ย์์ วิจิ ััยเพื่่อ� แก้้ปััญหาสังั คม
โดยเข้า้ ร่ว่ มใน Value Chain ที่พ�่ ร้้อม ร่ว่ มกัับผู้ก�้ ำำ�หนดนโยบาย

สร้้าง Research Sandbox วิจิ ััยแบบปาสเตอร์์
ที่�่ใช้้ Multiyear Block Grant เป็น็ โมเดลหลักั

ดร.สมเกีียรติิ ตั้้�งกิิจวานิชิ ย์์ ปรัับแหล่ง่ ทุนุ
กรรมการสภามหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล ผู้ท้� รงคุุณวุุฒิิ ให้้สอดคล้้องกับั ผู้�้ได้้ประโยชน์์

40

เส้นทางการเปลย่ี นผา่ นสู่ มหาวทิ ยาลยั ยคุ ดจิ ทิ ลั

“Digital Transformation Roadmap”

เส้น้ ทางการเปลี่ย�่ นผ่า่ นสู่�มหาวิทิ ยาลััยยุคุ ดิจิ ิทิ ััล อาศััย 3 องค์ป์ ระกอบหลััก ได้แ้ ก่่ 1. การลงทุนุ ทางเทคโนโลยีี
(Technology) 2. กระบวนการ (Process) และ 3. บุคุ ลากร (People) โดยจะเห็น็ ได้ว้ ่า่ มหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ลมีีการลงทุนุ ในโครงสร้า้ ง
พื้้น� ฐานได้เ้ ป็น็ อย่า่ งดีีและต่อ่ เนื่อ�่ ง ยกตััวอย่า่ งเช่น่ คณะแพทยศาสตร์ศ์ ิริ ิริ าชพยาบาลที่เ�่ ป็น็ ตััวอย่า่ งที่โ�่ ดดเด่น่ ในการแสวงหา
New Customer Experience และการพััฒนาด้ว้ ยโครงการ Smart Hospital ตลอดจนมหาวิทิ ยาลััยได้ม้ ีีการจััดทำ�ำ Application
“We Mahidol” ในการทำ�ำ บริกิ ารดิจิ ิทิ ััลแก่น่ ัักศึกึ ษาและคณาจารย์์ (เสนอที่ป�่ ระชุมุ สภามหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ล ครั้ง�้ ที่�่ 572 เมื่อ�่ วัันที่�่ 15
กัันยายน 2564)

8 ข้้อเสนอแนะเพื่อ�่ ขัับเคลื่�อน
และผลัักดัันสู่�มหาวิิทยาลัยั ยุคุ ดิิจิทิ ัลั

เ“สFนlอagship 4.3 MU Digital Transformation”

MU Digital Culture Data Govenance
Design Thinking Digital
Value Chain
Analysis and Design of Customer
Customer Journey Experience

New Business Model for ดร.ทวีศี ัักดิ์์� กออนันั ตกููล
New Normal กรรมการสภามหาวิิทยาลัยั มหิดิ ล ผู้ท้� รงคุณุ วุุฒิิ

41

วิิสััยทััศน์์ ยุุทธศาสตร์์ แผนการดำำ�เนิินงานของ

HEALTH “ปีี 2567 คณะกายภาพบำ�ำ บััดจะเป็น็ “เป็็นสถาบัันการศึึกษา
SCIENCES สถาบัันอัันดัับ 1 ใน 3 ของเอเชีีย ด้า้ นเภสััชศาสตร์์ที่ม�่ ีี
ด้า้ นการศึกึ ษา วิิจััย นวััตกรรม
และบริกิ ารสุขุ ภาพที่ม�่ ีีผลกระทบ PT มาตรฐานระดัับสากล PY
ต่อ่ สุขุ ภาวะของประชาชน” สู่่�การพััฒนาสัังคม
ที่�ย่ั่ง� ยืืน”
รศ. ดร. กภ.จารุุกููล ตรีีไตรลัักษณะ
คณบดีีคณะกายภาพบำ�ำ บััด รศ. ภก.สุรุ กิจิ นาฑีีสุุวรรณ
คณบดีีคณะเภสััชศาสตร์์
Faculty of Physical Therapy
Faculty of Pharmacy

SOCIAL “เป็็นสถาบัันชั้น�้ นำำ�ในระดัับ “สถาบัันชั้้�นนำำ�ระดัับ
SCIENCES & นานาชาติิที่่�สรรสร้า้ ง นานาชาติิในการวิจิ ััย
HUMANITIES วิิทยาการด้้านประชากร
และสัังคม เพื่่�อการพััฒนา ด้้านภาษาและวััฒนธรรม
อย่่างยั่ �งยืืน” เพื่อ�่ การพััฒนาอย่า่ งยั่ง� ยืืน”

รศ. ดร.อารีี จำำ�ปากลาย IPSR ผศ. ดร.มรกต ไมยเออร์์ LC
ผู้�้ อำ�ำ นวยการสถาบัันวิจิ ััยประชากรและสัังคม ผู้้�อำำ�นวยการสถาบัันวิิจััยภาษาและวััฒนธรรมเอเชีีย

Institute for Population and Social Research Reserch Institute for Languages
and Cultures of Asia

SCIENCE & “สถาบัันการศึกึ ษาด้า้ นสิ่ง� แวดล้อ้ ม “เป็็นผู้�้ นำำ�การศึกึ ษาและ
TECHNOLOGY เป็น็ ลำ�ำ ดัับที่่� 1 ของประเทศ วิชิ าการแบบบููรณาการ
ภายในปีี พ.ศ. 2568 และ บนฐานทรััพยากรในภููมิภิ าค
ตะวัันตกของอาเซีียน”
ลำำ�ดัับ 1 ใน 3 ของอาเซีียน
ภายในปีี พ.ศ. 2574” EN ผศ. ดร.ธัชั วีีร์์ ลีีละวััฒน์์ KA
รองอธิกิ ารบดีีฝ่า่ ยสารสนเทศและวิทิ ยาเขตกาญจนบุรุี
รศ. ดร. สุุระ พััฒนเกีียรติิ
คณบดีีคณะสิ่ง� แวดล้้อมและทรััพยากรศาสตร์์

Faculty of Environment and Resource Studies Mahidol University Kanchanaburi Campus

42

หวั หนา้ สว่ นงานทร่ี บั ต�ำ แหนง่ ใหม่ (ตลุ าคม 2563 - กนั ยายน 2564)

HSCEIAELNTCHES “เป็น็ คณะทัันตแพทยศาสตร์์ “เป็น็ ผู้�้ นำ�ำ ทางวิิทยาศาสตร์์
ชั้น�้ นำ�ำ ในระดัับสากล” การกีีฬาในระดัับ
นานาชาติิ”

รศ. ดร. นพ. ทพ.ศิริ ิชิ ััย เกีียรติิถาวรเจริญิ DT รศ. นพ.บวรฤทธิ์์� จัักรไพวงศ์์ SS
คณบดีีคณะทัันตแพทยศาสตร์์ คณบดีีวิิทยาลััยวิิทยาศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีีการกีีฬา

Faculty of Dentistry College of Sports Science and Technology

“สร้้างคน สร้า้ งความรู้้� “เปน็ สถาบนั การศึกษา “To be the Wisdom
ขัับเคลื่อ่� นไทย เชื่่�อมโยงโลก ด้านศลิ ปศาสตร์ช้ันน�ำ of the Land in
Management
สู่ �การพััฒนาสัังคม ระดับประเทศ” Education”
อย่า่ งยั่ง� ยืืน”
รศ. ดร.วิิชิติ า รัักธรรม
รศ. ดร.เสาวคนธ์์ รััตนวิิจิิตราศิลิ ป์์ SH ผศ. ดร.ณััฏฐพงศ์์ จัันทร์์อยู่� LA คณบดีีวิิทยาลััยการจััดการ CM
คณบดีีคณะสัังคมศาสตร์์และมนุษุ ยศาสตร์์ คณบดีีคณะศิลิ ปศาสตร์์
College of Management
Faculty of Social Sciences Faculty of Liberal Arts
and Humanities

“เป็น็ สถาบัันวิจิ ััย SUPPORT “มุ่�งมั่�นที่จ�่ ะเป็็นห้้องสมุุด
ชั้�้นนำ�ำ ระดัับโลกด้า้ น และแหล่่งเรีียนรู้้�ชั้�นนำำ�
ชีีววิิทยาศาสตร์โ์ มเลกุลุ ” เพื่อ�่ ขัับเคลื่อ่� น
มหาวิิทยาลััยมหิิดล
สู่่�ระดัับโลก”

ศ. ดร. นพ.นรััตถพล เจริญิ พัันธุ์� MB ผศ. ดร.นพพล เผ่า่ สวััสดิ์� LI
ผู้้�อำ�ำ นวยการสถาบัันชีีววิทิ ยาศาสตร์์โมเลกุลุ ผู้้�อำำ�นวยการหอสมุุดและคลัังความรู้้ม� หาวิิทยาลััยมหิดิ ล

Institute of Molecular Biosciences Mahidol University Library
and Knowledge Center

43

การวิจิ ัยั และนวัตั กรรม (Research and Innovation)
01
Research Cluster
(PY) พััฒนาระบบวิจิ ััยและขัับเคลื่อ�่ นองค์ค์ วามรู้� (MB) • พััฒนานวััตกรรมและเทคโนโลยีี เพื่อ�่ รองรัับ
(PT) • พััฒนาระบบสนัับสนุนุ การดำ�ำ เนินิ งานวิจิััยที่ม�่ีี เภสััชศาสตร์์สู่�นวััตกรรม เพื่�่อตอบสนองความ สัังคมผู้้�สู งอายุุ เช่่น ปััญหานอนไม่่หลัับ
คุณุ ภาพระดัับสากล และผลัักดัันโครงการจััดตั้ง�้ ต้้องการของสัังคม โดยมุ่�งสร้้าง New Research • สร้้างเครืือข่า่ ยวิจิ ััยสหวิทิ ยาการ
Research Center of Human Movement Sciences Eco-system • หน่ว่ ยวิจิััย และบริกิ ารใหม่่ เช่น่ หน่ว่ ยสััตว์ท์ ดลอง
• คลินิ ิกิ เฉพาะกายภาพบำำ�บััด การกระตุ้�นสมอง (CM)เพิ่่ม� จำ�ำ นวนกลุ่�มงานวิจิััย(Researchclusters) ที่ใ�่ ห้บ้ ริกิ ารครบวงจร
ผ่่านกระโหลกศีีรษะด้้วยสนามแม่่เหล็็กไฟฟ้้า ที่ม�่ ีีผลกระทบต่อ่ ภาคส่ว่ นต่า่ ง ๆ เช่น่ Innovation (LC) จััดทำ�ำ นวััตกรรมทางด้า้ นภาษาและวััฒนธรรม
การรัักษาแนวใหม่่ เพื่อ�่ ส่ง่ เสริมิ การฝึกึ แขนและมืือ and Technology, Supply Chain Analytics และ เพื่อ�่ การพััฒนาสัังคมพหุวุ ััฒนธรรม เช่น่ งานวิจิ ััยที่�่
ในโรคหลอดเลืือดสมอง Sustainability ออกแบบเครื่อ�่ งมืือการสอนแบบทวิภิ าษา (ภาษา

02(DT) พััฒนางานวิิจััยเพื่�่อสร้้างนวััตกรรมที่�่มีี (IPSR) สร้า้ งกลุ่�มวิจิ ััยที่ป�่ ระกอบด้ว้ ยนัักวิจิ ััยหลาย ไทย-มลายููถิ่่น� ) ได้ร้ัับรางวััล THE UNESCO KING
รุ่�นและมีีความเป็น็ สหสาขาสรรหานัักวิจิััยสำ�ำ เร็จ็ รููป SEJONG LITERACY PRIZE 2016 เป็น็ นวััตกรรม
คุณุ ภาพและต่อ่ ยอดเชิงิ พาณิชิ ย์์ เช่น่ การพััฒนายา เพื่อ�่ เพิ่่ม� ความเข้ม้ แข็ง็ ของงานวิจิ ััย โดยเฉพาะด้า้ น แห่่งการรู้้�หนัังสืือ
Fluocinolone gel เพื่อ�่ การรัักษาแผลช่อ่ งปาก, Migration, Aging และอื่น�่ ๆ

ปลอกจัับอุุปกรณ์์ทำ�ำ ความสะอาด
ช่อ่ งปาก เป็น็ ต้น้
Research Network and Global Connectivity

(PT) ส่ง่ เสริมิ และผลัักดัันการทำ�ำ งานวิจิ ััยร่ว่ มกัับ (SS) มีีคู่่�ความร่ว่ มมืือด้า้ นวิทิ ยาศาสตร์ก์ ารกีีฬา กัับ (IPSR) สนัับสนุุน Global Connectivity ด้ว้ ย
นัักวิิจััยภายนอกสถาบัันทั้�้งในและต่่างประเทศ มหาวิทิ ยาลััยและสถาบัันการศึกึ ษาต่า่ งประเทศ เช่น่ การสร้้างความร่่วมมืือวิิจััยกัับสถาบััน/โครงการ
และการเป็น็ ผู้�้ นำ�ำ ASEAN ด้้านกายภาพบำำ�บััด Loughborough University, Liverpool John วิิจััยระดัับนานาชาติิแบบสหสถาบัันที่�ม่ ีี Global
Moores University, University of Western Impact และเน้น้ การเป็น็ ประตููสู่่�ภููมิภิ าค
(PY)ทำ�ำ งานร่ว่ มกัับแหล่ง่ ทุนุ ภาคเอกชนและเครืือข่า่ ย Australia เป็น็ ต้น้ (CM) ต่อ่ ยอดและขยายความร่ว่ มมืือด้า้ นการ
เภสััชศาสตร์ร์ ะดัับโลก เช่น่ Research Unit
03ด้า้ น Aging and Chronic Diseases กัับคู่�พัันธมิติ ร (LC) ยกระดัับการสร้า้ งผลงานวิจิ ััยด้า้ นภาษา เรีียนรู้ว� ิจิ ััยและพััฒนา ระหว่า่ ง CMMU/ ASEAN
วััฒนธรรม พหุวุ ััฒนธรรม การสื่อ�่ สารระหว่า่ ง Centre for Sustainable Development Studies
(EN) สร้า้ งและขยายเครืือข่า่ ยการวิจิ ััยด้า้ น วััฒนธรรมและพิพิ ิธิ ภััณฑ์ศ์ ึกึ ษา การบููรณาการ and Dialogue : ACSDSD และหน่ว่ ยงานอื่น�่ ๆ
สิ่ง� แวดล้อ้ มกัับกรมควบคุมุ มลพิษิ ดำ�ำ เนินิ การเชื่อ�่ ม ข้า้ มศาสตร์์ ที่ม�ุ่่�งเน้้นความเป็็นเลิิศระดัับโลกกัับ เน้น้ งานวิจิ ััยที่เ�่ กี่ย�่ วข้อ้ งกัับการพััฒนาอย่า่ งยั่ง� ยืืน
โยงข้อ้ มููลจากดาวเทีียมในการพยากรณ์์สภาวะ คู่่�พัันธมิติ ร การได้ร้ัับทุนุ การศึกึ ษาและวิจิััยจากองค์ก์ รภายนอก
สิ่ง� แวดล้อ้ ม เช่น่ ฝุ่�นละอองขนาดไม่เ่ กินิ 2.5 ไมครอน (SH)ขยายการสร้า้ งเครืือข่า่ ยความร่ว่ มมืือทางวิชิ าการ เช่น่ มููลนิธิ ิเิ อสซีีจี (SCG Foundation)
(DT) ประสานความร่ว่ มมืือกัับ WHO CC (Center ทั้ง�้ ระดัับท้อ้ งถิ่น� ระดัับชาติิ และระดัับนานาชาติิ (KA) สร้า้ งพัันธมิติ รที่เ�่ ข้ม้ แข็ง็ ทั้ง้� ภาครััฐและเอกชน
for Continuing Education and Research) เช่น่ ร่ว่ มมืือในการพััฒนารายวิชิ าและการวิจิ ััย ทั้ง้� ในและต่า่ งประเทศ โดยเน้น้ เชื่อ�่ มโยงโจทย์ว์ ิจิ ััย
Minamata Convention; Prevention of Oral ด้า้ น Developmental Studies ภายใต้้ Thai-UK เชิงิ พื้้น� ที่ก�่ ัับคู่่�พัันธมิติ รในเอเชีียตะวัันออก
World Class University Consortium
Disease
Research Commercialization (MB) เน้้นวิิจััยสู่่�ความเป็็นเลิิศแบบมุ่�งเป้้าและมีี (SS) มุ่�งเป้้างานวิิจััยที่�่ตรงกัับกระแสคนกลุ่�มใหญ่่
ปลายทางเป็น็ การผลิติ องค์ค์ วามรู้แ� ละนวััตกรรมที่�่
04(PY) วิิจััยและพััฒนาระบบการนำ�ำ ส่่งยาเพื่่�อการ นำ�ำ ไปใช้ป้ ระโยชน์ไ์ ด้จ้ ริงิ และเกิดิ รายได้จ้ ากทรััพย์ส์ ินิ (PT)ผลัักดัันผลงานวิจิััยและนวััตกรรมไปใช้ป้ ระโยชน์์
ทางปัญั ญา เช่น่ การพััฒนาวััคซีนี ไข้เ้ ลืือดออกเดงกีี ในสัังคมและเชิงิ พาณิชิ ย์์เช่น่ นวััตกรรมอุปุ กรณ์ด์ าม
รัักษาแบบมุ่ �งเป้้า (Dengue) ชุดุ ตรวจและเครื่อ�่ งมืือแพทย์์ จากเทอร์โ์ มพลาสติกิ ในโครงการMUReinventing
University Splint Innovative Project

Publication (PY) ผลัักดััน “วารสารเภสััชศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลััย (DT) พััฒนาวารสาร “วิทิ ยาสารทัันตแพทยศาสตร์์

(LI) ร่ว่ มมืือกัับองค์ก์ รต่า่ งประเทศ เพื่อ�่ พััฒนาและ มหิดิ ล” เข้า้ สู่�ฐานข้อ้ มููล Web of Sciences และ มหิดิ ล” เข้า้ สู่�ระดัับสากล
สนัับสนุนุ การวิจิ ััย โดยแสวงหาแหล่ง่ อำ�ำ นวยความ มุ่�งผลงานวิจิ ััยที่ไ�่ ด้ร้ ัับการตีีพิมิ พ์ใ์ นวารสารชั้น�้ นำ�ำ
สะดวก ให้น้ ัักวิจิ ััยได้ม้ ีีการเผยแพร่บ่ ทความระดัับ ระดัับโลก ที่ม�่ ีีการอ้า้ งอิงิ สููง (IPSR) สนัับสนุนุ การวิจิััยที่ต�่ อบสนองความต้อ้ งการ
คุณุ ภาพสากล (SS) • มีีคู่่�ความร่ว่ มมืือด้า้ นวิทิ ยาศาสตร์ก์ ารกีีฬา เชิงิ นโยบายและความต้อ้ งการของสัังคมทุกุ ระดัับ
(KA) • มุ่�งสร้า้ งผลงานตีีพิมิ พ์ใ์ ห้เ้ ทีียบเท่า่ คู่�เทีียบ กัับมหาวิทิ ยาลััยและสถาบัันการศึกึ ษาต่า่ งประเทศ มุ่�งผลงานตีีพิมิ พ์ใ์ นวารสาร Q1
University of Malaya เช่น่ Loughborough University เป็น็ ต้น้ (EN) พััฒนาวารสาร “EnNRJ” เข้า้ สู่�ฐานข้อ้ มููล
• ส่ง่ เสริมิ และพััฒนาผลงานวิจิ ััยสู่�ระดัับสากล โดย • เน้้นการตีีพิิมพ์์ผลงานวิิจััยในวารสาร Q1 ที่่�มีี Science Citation Index Expand (SCIE) ซึ่ง� อยู่�ใน
มีีผลงานวิจิ ััยตีีพิมิ พ์ใ์ น Q1 เทีียบกัับผลงานวิจิ ััย Impact Factor สููง Web of Science Core Collection
ที่ต�่ ีีพิมิ พ์ท์ ั้ง�้ หมดในแต่ล่ ะปีี ไม่ต่ ่ำ��ำ กว่า่ ร้อ้ ยละ 50
44


Click to View FlipBook Version