The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ney Xeng, 2023-06-30 00:33:02

pdf_20230630_113154_0000

pdf_20230630_113154_0000

กระบวนการทางเทคโนโลยี 7 ขั้น ตอน หลักเออกอนอมิกส์ หลักวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ การออกแบบ ข้อพึงระวังในการออกแบบ จัดจัทำ โดย ด.ญ สุชสุาดา เชิดชิชู เสนอ คุณคุครูโกศล คนขยันยั


กระบวนการเทคโนโลยี มี 7 ขั้นตอนดังนี้ ㆍกำ หนดปัญหาหรือความต้องการ ㆍ รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาหรือสนองความต้องการ ㆍเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ㆍออกแบบและปฏิบัติการ ㆍทดสอบ ㆍ ปรับปรุงและแก้ไข ㆍ ประเมินผล เออร์โกโนมิกส์ ความหมายของคำ ว่า เออร์โกโนมิกส์ คำ ว่า เออร์โกโนมิกส์ (Ergonomics) มาจากคำ ว่า Erg = work (งาน) และ nomy law (กฎระเบียบ) ดังนั้นจึงแปลว่า กฎระเบียบของงาน นึกวิชาการหลายท่านได้ให้นิยามเกี่ยวกับคำ ว่า เออร์โกโนมิกส์ ไว้ซึ่งอาจจะพอ สรุปได้ คือ วิทยาการที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสิ่งแวดล้อมในการทำ งาน หรือ วิทยาการที่ว่าด้วยการออกแบบงานให้เหมาะสมกับคนที่ทำ งานนั้น องค์ประกอบของเออร์โกโนมิกส์ สามารถจัดเป็นหมวดหมู่ได้ 3 กลุ่ม คือ 1. ด้านกายวิภาคศาสตร์ (anatomy) กล่าวถึง 1.1 ขนาดมนุษนุย์ (anthropometry) ปกติแล้วจะมุ่งพิจารณาปัญหาที่อาจจะเกิด จากขนาด รูปร่างของคนและท่าทางการทำ งานของคน 1.2 ชีวกลศาสตร์ (Biomechainics) จะมุ่งพิจารณาปัญหาที่อาจจะเกิดจากการ ออกแรงหรือใช้แรงในขณะทำ งานของคน 2. ด้านสรีรวิทยา (physiology) นั้นจะกล่าวถึง 2.1 สรีรวิทยาการทำ งาน (work physiology) จะมุ่งพิจารณาถึงการใช้พลังงาน ขณะทำ งาน ถ้าหากงานนั้นเป็นงานหนักใช้พลังงานมากก็อาจเกิดปัญหาต่อ สุขภาพร่างกายได้ 2.2 สรีรวิทยาสิ่งแวดล้อม (environmental physiology) จะมุ่งพิจารณาถึงผลก ระทบต่อ สุขภาพที่อาจเกิดจากการทำ งานเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมทาง กายภาพ เช่น ความร้อน แสง เสียง การสั่นสะเทือน เป็นต้น 3. ด้านจิตวิทยา (psychology) นั้นจะกล่าวถึง 3.1 ความชำ นาญ (skill psychology) จะเกี่ยวข้องกับความเข้าอกเข้าใจใน ลักษณะงานของบุคคล ทราบว่าควรจะทำ งานะไร และทำ อย่างไร ตลอดจนการ ตัดสินใจในการทำ งานนั้นๆ ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความสมบูรณ์ขณ์องข่าวสาร ข้อมูลด้วย ทั้งนี้เพื่อมิให้เกิดการทำ งานผิดพลาดซึ่ง นอกจากจะทำ ให้เกิดผลเสีย ต่อการผลิตแล้วยังอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ 3.2 จิตวิทยาการทำ งาน (occupational psychology) จะพิจารณาถึงปัญหาด้าน จิตวิทยาสังคมของบุคคลที่เกิดหรือเนื่องมาจากการทำ งาน โดยจะหมายรวมถึง ปัญหาสภาวะด้านเวลา และสภาวะด้านสังคมด้วย


หลักวิทยาศาสตร์ที่นำ มาใช้ในการออกแบบ... ได้แก่ 1)หลักการทางฟิสิกส์ 2)หลักการทางชีววิทยา 3)หลักการทางเคมี 4)หลักการทางพันธุศาสตร์ 5)หลักการทางวิศวกรรมด้านความปลอดภัย ตัดตั สินสิ ใจในการทำ งานนั้นนั้ๆ ซึ่ง ซึ่ เป็นป็เรื่อ รื่ งที่เ ที่ กี่ย กี่ วข้อข้งกับกัความสมบูรบูณ์ขณ์องข่าวสาร ข้อข้มูลมูด้วด้ย ทั้งทั้นี้เ นี้ พื่อ พื่ มิใมิห้เห้กิดกิการทำ งานผิดผิพลาดซึ่ง ซึ่ นอกจากจะทำ ให้เห้กิดกิผลเสียสีต่อต่การผลิตลิแล้วล้ยังยัอาจก่อก่ ให้เห้กิดกิอุบัอุติบัเติหตุไตุด้ 3.2 จิตจิวิทวิยาการทำ งาน (occupational psychology) จะพิจพิารณาถึงถึปัญปัหาด้าด้น จิตจิวิทวิยาสังสัคมของบุคบุคลที่เ ที่ กิดกิหรือรืเนื่อ นื่ งมาจากการทำ งาน โดยจะหมายรวมถึงถึปัญปัหาสภาวะด้าด้นเวลา และสภาวะด้าด้นสังสัคมด้วด้ย การประยุกยุต์หต์ลักลัเออร์โร์กโนมิกมิ ส์เส์พื่อ พื่ ใช้ใช้นงานอุตอุสาหกรรม มีจุมีดจุประสงค์ที่ค์จ ที่ ะเพิ่มพิ่ผลผลิตลิ ในการทำ งาน และต้อต้งการให้คห้นงานมีปมีระสิทสิธิภธิาพ ดีมีดีคมีวามปลอดภัยภัระบบการทำ งานระหว่าว่งคนกับกัเครื่อ รื่ งจักจัรนั้นนั้ถ้าถ้มีกมีารวางแผน ที่ดี ที่ ก็ดีจก็ะทำ ให้คห้นงานมีคมีวามสะวสบาย คนงานก็สก็ามารถตั้งตั้ ใจพิจพิารณาทำ งาน ได้อด้ย่าย่งละเอียอีดมีปมีระสิทสิธิภธิาพ ความผิดผิพลาดก็จก็ะน้อน้ยลง การทำ งานกับกั เครื่อ รื่ งจักจัรนั้นนั้เน้นน้หลักลัการประหยัดยัพลังลังานในการเคลื่อ ลื่ นไหวร่าร่งกาย เช่นช่การ จับจัต้อต้งเครื่อ รื่ งจักจัรต้อต้งมีคมีวามสะดวกรวดเร็วร็มีคมีวามแน่นน่อน การเคลื่อ ลื่ นไหวของ แขนควรเป็นป็ ไปอย่าย่งสม่ำ เสมอ ควรใช้มืช้อมื ในการทำ งานมากกว่าว่เท้าท้หรือรืส่วส่นอื่น อื่ ใน ร่าร่งกาย วัสวัดุแดุละเครื่อ รื่ งมือมืควรอยู่ใยู่ นตำ แหน่งน่ที่สที่ ามารถเอื้อ อื้ มถึงถึ ได้หด้รือรื ไม่ต้ม่อต้ง ออกแรงมากเกินกิ ไปในการหยิบยิจับจัจะเห็นห็ ได้ว่ด้าว่การออกแบบด้าด้นเออร์โร์กโนมิกมิ ส์ จะช่วช่ยให้ทำห้ทำงานได้สด้ะดวกรวดเร็วร็ ปราศจากความเครียรีดในการทำ งาน นอกจาก นั้นนั้ยังยัช่วช่ยให้ผห้ลผลิตลิ ในการทำ งานเพิ่มพิ่ขึ้น ขึ้ อีกอีด้วด้ย ข้อควรระวังและควรคำ นึงถึงในการออกแบบ... ได้แก่ 1)ควรคำ นึงถึงวัตถุประสงค์ของการใช้งาน 2)ควรคำ นึงถึงความแข็งแรง ทนทาน 3)ควรคำ นึงถึงความปลอดภัยในการใช้งาน 4)ควรคำ นึงถึงสิ่งแวดล้อม 5)ควรไม่ขัดแย้งต่อหลักศาสนา 6)ควรคำ นึงถึงความขัดแย้งต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 7)ความต้องการของตลาดขณะนั้น 8)ความสวยงาม ความเป็นระบบระเบียบ (ใช้ง่าย/เก็บสะดวก) 9)ควรคำ นึงถึงยุคสมัยและการใช้งานได้ในระยะยาว 10)ควรคำ นึงถึงหลักศิลปะและวัฒนธรรมของกลุ่มผู้ใช้งานผลิตภัณฑ์นั้นๆ


Click to View FlipBook Version