The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by taw14rungtip, 2021-06-05 03:46:36

รวม แผนฯ วิทยาการคำนวณ หน่วย 1 ป.4

1

1

























โครงสร้างเวลา




รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี



(วิทยาการคำนวณ) ประถมศึกษาปีที่ 4

2

โครงสร้างเวลา


รายวิชา รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ประถมศึกษาปีที่ 4

เวลา 40 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา
(ชั่วโมง)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขั้นตอนการแก้ปัญหา

- แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ข้อความปริศนากับเจ้าหนูยอดนักสืบ 2
- แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 รหัสลับของนักสืบเยาวชน 1
- แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังแสนสนุก 3

รวม 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เขียนโปรแกรมอย่างง่าย
- แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 สำรวจโลกของ Scratch (การเขาใช้งานโปรแกรม Scratch 2

- แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ scratch เบื้องต้น (1) 2

- แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ scratch เบื้องต้น (2) 3
- แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 โปรเจกต์วงดนตรี 4
รวม 11

สอบกลางภาคเรียน 2
หน่วยการเรียนรู้ที 3 การใช้งานอินเทอร์เน็ต
- แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล 5
รวม 5


หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนอข้อมลด้วยซอฟต์แวร์
- แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติส่วนตัวของฉัน 4
- แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 นักพรีเซนต์คนเก่ง 3

- แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 โปรแกรมจัดการตัวเลข 3
รวม 10
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย
- แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แชร์ได้ไหมนะ 4

รวม 4
สอบปลายภาคเรียน 2

รวมเวลาทั้งหมด 40

3

คำอธิบายรายวิชา


รายวิชาพื้นฐาน วิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เวลา 40 ชั่วโมง


ศึกษาการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา มาใช้พิจารณาในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน
หรือการคาดการณ์ผลลัพธ์ ศึกษาการออกแบบโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ storyboard หรือ การออกแบบอลกอริทึม

การเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์ Scratch หรือ logo ศึกษาการใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ การใช้
คำค้นที่ตรงประเด็น กระชับ การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล ศึกษาการรวบรวมข้อมูล การประมวลผลอย่าง

ง่าย วิเคราะห์ผลและสร้างทางเลือกที่เป็นไปได้ ตลอดจนประเมินทางเลือก พร้อมทั้งการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบ
ตามความเหมาะสม ศึกษาการใช้ซอฟต์แวร์เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิในสิทธิของผู้อื่น


โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้การคิดเชิงคำนวณและปัญหาเป็นฐาน (Problem – based Learning)
เพื่อเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ จากการฝึกแก้ปัญหาต่าง ๆ ผ่านกระบวนการคิด การปฏิบัติอย่างมีระบบ และสร้าง

องค์ความรู้ใหม่จากการใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวันได้

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและ

เป็นระบบ มีทักษะในการตั้งคำถาม หรือกำหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้ หรือตามความสนใจ
คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถาม วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ

อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคณภาพ ค้นหาข้อมูลอย่าง

มีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูล ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา ตลอดจนนำ
ความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชีวิต จนสามารถ

พัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และ
ความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์






ตัวชี้วัด


ว. 4.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5



รวม 5 ตัวชี้วัด

4

โครงสร้างรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ป.4


ลำดับ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ เวลา

ที่ การเรียนรู้ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ (ชม.)


1. ขั้นตอนวิธีใน ว 4.2 ขั้นตอนวิธีหรืออัลกอริทึม คือกระบวนการแก้ปัญหา 6
การแก้ปัญหา ที่มีลำดับชัดเจน สามารถคาดคะเนผลลัพธ์ได้
ป. 4/1 การอธิบายอัลกอริทึมแบ่งได้เป็นการแสดงอัลกอริทึม


ด้วยข้อความ การแสดงอัลกอริทึมด้วยรหัสจำลอง และ
การแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงาน


2. การเขียน ว 4.2 โปรแกรม Scratch สามารถนำมาใช้พัฒนาซอฟต์แวร์เชิง 11
โปรแกรมอย่าง ป. 4/2 สร้างสรรค์ เช่น การสร้างนิทาน การสร้างเกม เป็นต้น

ง่าย การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลำดับของคำสั่งให้
คอมพิวเตอร์ทำงาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการ
หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบ การทำงานทีละคำสั่ง เมื่อ

พบจุดที่ทำให้ผลลัพธ์ ไม่ถูกต้อง ให้ทำการแก้ไขจนกว่า
จะได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
ตัวอย่างโปรแกรมที่มีเรื่องราว เช่น นิทานที่มีการตอบ

โต้กับผู้ใช้การ์ตูนสั้น เล่ากิจวัตรประจำวัน ภาพเคลื่อนไหว
การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อื่นจะ
ช่วยพัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหาได้ดียิ่งขึ้น


3. การใช้งาน ว 4.2 อินเตอร์เน็ต คือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกัน 5
อินเตอร์เน็ต ป. 4/3 จำนวนมากและครอบคลุมไปทั่วโลก

การค้นหาข้อมูลความรู้จากอินเตอร์เน็ต ควรใช้คำค้นที่
ตรงประเด็น กระชับ จะทำให้ได้ผลลัพธ์ที่รวดเร็วและตรง
ตามความต้องการ
การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น พิจารณา
ประเภทของเว็บไซต์ (หน่วยงานราชการ สำนักข่าว

องค์กร) ผู้เขียน วันที่เผยแพร่ข้อมูล การอ้างอิง
เมื่อได้ข้อมูลที่ต้องการจากเว็บไซต์ต่าง ๆ จะต้องนำ
เนื้อหามาพิจารณา เปรียบเทียบ แล้วเลือกข้อมูล ที่มี
ความสอดคล้องและสัมพันธ์กัน

5

ลำดับ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ เวลา

ที่ การเรียนรู้ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสำคัญ (ชม.)


การทำรายงานหรือการนำเสนอข้อมูลจะต้องนำข้อมูล
มาเรียบเรียง สรุป เป็นภาษาของตนเองที่เหมาะสมกับ
กลุ่มเป้าหมายและวิธีการนำเสนอ


4. การนำเสนอ ว 4.2 การรวบรวมข้อมูลที่ต้องการจากแหล่งต่าง ๆ ทำได้โดย 10
ข้อมูลด้วย ป. 4/4 กำหนดหัวข้อที่ต้องการ เตรียมอุปกรณ์ในการจดบันทึก

ซอฟต์แวร์ การประมวลผลอย่างง่าย เช่น เปรียบเทียบ จัดกลุ่ม

เรียงลำดับ การหาผลรวม
การวิเคราะห์ผล การสร้างทางเลือกที่เป็นไปได้ และ
การประเมินทางเลือก
การนำเสนอข้อมูลโดยใช้โปรแกรมต่างๆ เช่น

ไมโครซอฟต์เวิร์ด ไมโครซอฟต์เอ็กเซล ไมโครซอฟต์
เพาเวอร์พอยด์
การใช้ซอฟต์แวร์ในการทำงาน เช่น ใช้พิมพ์เอกสาร
ใช้คำนวณ ใช้สร้างกราฟ ใช้ออกแบบ และนำเสนองาน

5. การใช้ ว 4.2 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในยุคดิจิทัลอย่าง 4
เทคโนโลยี ป. 4/5 ปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของ

อย่างปลอดภัย ผู้อื่น เช่น ไม่สร้างข้อความเท็จและส่งให้ผู้อื่น ไม่สร้าง
ความเดือดร้อนต่อผู้อื่นโดยการส่งสแปม ข้อความลูกโซ่

ส่งต่อโพสต์ที่มีข้อมูลส่วนตัวของผู้อื่น ส่งคำเชิญเล่นเกม
ไม่เข้าถึงข้อมูลส่วนตัวหรือการบ้านของบุคคลอื่นโดย
ไม่ได้รับอนุญาต ไม่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์/ชื่อบัญชีของ
ผู้อื่น

การปกป้องข้อมูลส่วนตัว เช่น การออกจากระบบเมื่อ
เลิกใช้งาน ไม่บอกรหัสผ่าน ไม่บอกเลขประจำตัว
ประชาชน

6





















หน่วยการเรียนรู้ที่ 1




ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา

7


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา ระยะเวลา 6 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ข้อความปริศนากับเจ้าหนูยอดนักสืบ เวลา 2 ชั่วโมง

สอนวันที่........เดือน.........................พ.ศ.............. ภาคเรียนที่ 1


1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระที่ 4 เทคโนโลย ี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ
เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทันและมีจริยธรรม
ตัวชี้วัด ป.4/1 ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จาก
ปัญหาอย่างง่าย
2. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถอธิบายการทำงานและคาดการณ์ผลลัพธ์ โดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ และอัลกอริทึมได้ (K)
2. นักเรียนสามารถใช้เหตุผลเชิงตรรกะ และอัลกอริทึมในการแก้ปัญหาอย่างง่ายได้ (P)
3. นักเรียนสามารถยกตัวอย่างการแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะและอัลกอริทึมในชีวิตประจำวันได้ (A)

3. สาระสำคัญ
เหตุผลเชิงตรรกะ คือ การใช้เหตุผล กฎ กฎเกณฑ์ หรือเงื่อนไขที่เกี่ยวข้อง เพื่อตรวจสอบความสมเหตุสมผลมี
ความสำคัญในการวิเคราะห์หาเหตุผล สร้างการจัดลำดับเรื่องราวก่อนหลัง โดยแยกแยะความสำคัญของเรื่องราว

ด้วยการเปรียบเทียบปัจจัยต่าง ๆ ทำให้การตัดสินใจแก้ปัญหาเป็นไปตามหลักวิทยาศาสตร์

อัลกอริทึม คือ กระบวนการแก้ปัญหาที่มีลำดับขั้นตอน วิธีการแกไขปัญหาใดปัญหาหนึ่งอย่างเป็นขั้นตอน
และชัดเจน ซึ่งการแก้ปัญหาโดยการใช้อัลกอริทึมนี้ สามารถใช้แก้ปัญหาทั่ว ๆ ไปและยังใช้กับการเขียนโปรแกรม

คอมพิวเตอร์ด้วย
การแสดงอัลกอริทึมด้วยข้อความ คือการใช้ข้อความแสดงขั้นตอนการทำงาน มีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ ลำดับ
และขั้นตอนการทำงาน
4. สาระการเรียนรู้

- เหตุผลเชิงตรรกะและอัลกอริทึม

- การใช้เหตุผลเชิงตรรกะและอลกอริทึมในการแก้ปัญหา
- การแสดงอัลกอริทึมด้วยข้อความ

5. รูปแบบการสอน/วิธีการสอน
- รูปแบบการสอนแบบการอภิปราย
- วิธีการสอนแบบแสดงบทบาทสมมติ

- Computational Thinking

8

6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
 ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด

 ความสามารถในการแก้ปัญหา
7. ทักษะ 4 Cs


 ทักษะการคดวิจารณญาณ (Critical Thinking)
 ทักษะการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skill)
 ทักษะการสื่อสาร (Communication Skill)
 ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)

8. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
 มีวินัย

 ใฝ่เรียนรู้
 มุ่งมั่นในการทำงาน
9. การจัดกระบวนการเรียนรู้

ชั่วโมงที่ 1
ขั้นนำ (10 นาที)
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยถามนักเรียนว่า นักเรียนเคยดูการ์ตูนโคนันเจ้าหนูยอดนักสืบหรือไม่ โคนันเป็นนักสืบ

ที่มีไหวพริบดีมาก เดี๋ยวเราจะมาเป็นนักสืบแบบโคนันกัน
2. ครูสนทนากับนักเรียนว่า นักเรียนรู้ไหมว่าในสืบคดีหรือการแก้ปัญหาต้องทำอย่างเป็นลำดับขั้นตอนและต้อง
ใช้เหตุผลเชิงตรรกะช่วยวิเคราะห์รายละเอียดและหลักฐานต่าง ๆ
ขั้นสอน (40 นาที)

ิ่
1. ครูอธิบายเหตุผลเชิงตรรกะเพมเติมในหนังสือเรียนวิทยาการคำนวณ และยกตัวอย่างในชีวิตประจำวันประกอบ
2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน 3-4 คน แจกใบกิจกรรมเรื่อง ข้อความปริศนากับเจ้าหนูยอดนักสืบ ให้นักเรียนทำ
กิจกรรมที่1 เรื่อง สมบัติชิ้นสุดท้าย
3. ครูสมมติบทบาทให้นักเรียนเป็นโคนัน แล้วเล่าสถานการณ์ให้นักเรียนฟังเพอดึงดูดความสนใจ
ื่
4. ให้นักเรียนภายในกลุ่มช่วยกันสืบคดีโดยการเรียงข้อความในกิจกรรมที่1 เรื่อง สมบัติชิ้นสุดท้าย ให้ถูกต้อง
และวิเคราะห์หาคำตอบว่าใครคือขโมย พร้อมทั้งหลักฐาน ภายในเวลา 15 นาที
5. ครูสุ่มถามนักเรียนว่า ใครคือขโมย เพราะเหตุใดถึงคิดว่าคนนี้คือขโมย จากนั้นถามกลุ่มอื่น ๆ ที่ได้คำตอบ

แตกต่าง พร้อมเหตุผล
ขั้นสรุป (10 นาที)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ลำดับข้อความ สรุปว่าใครคือขโมย พร้อมหลักฐาน
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหามีความสำคัญอย่างไร

(แนวคำตอบ มีความสำคัญในการวิเคราะห์หาเหตุผล จัดลำดับเรื่องราวก่อนหลัง โดยแยกแยะความสำคัญ
ของเรื่องราว ทำให้การตัดสินใจแก้ปัญหามีความสมเหตุสมผล)
3. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนทำกิจกรรมที่2 เรื่อง ทางเลือกของโคนัน อาจแบ่งเวลาทำท้ายคาบหรือให้เป็น
การบ้าน

9

ชั่วโมงที่ 2
ขั้นนำ (10 นาที)
1. ครูและนักเรียนทบทวนความรู้เดิมที่เรียนในชั่วโมงที่แล้ว

2. จากใบกิจกรรมที่2 เรื่อง ทางเลือกของโคนัน ครูสุ่มนักเรียนถามเส้นทางที่ดีที่สุด และให้นักเรียนบอก
ขั้นตอนการเดินทาง ในขณะเดียวกันให้นักเรียนกลุ่มอื่น ๆ ลองเดินตามขั้นตอนที่เพื่อนนำเสนอ

(ครูควรสุ่มนักเรียน 1-2 กลุ่ม เพื่อให้นักเรียนนำเสนอขั้นตอนการเดินทาง และตรวจสอบว่าเพื่อน
คนอื่นสามารถทำตามขั้นตอนที่นักเรียนนำเสนอได้หรือไม่)
3. ครูถามนักเรียนว่า ทำไมจึงคิดว่าเส้นทางที่เลือกนั้นเป็นเส้นทางที่ดีที่สุด
ขั้นสอน (40 นาที)

1. ครูถามคำถามนักเรียนว่า ทำไมนักเรียนสามารถเดินทางไปถึงสถานที่เกิดเหตุตามที่เพื่อนนำเสนอได้
(แนวคำตอบ เพราะนักเรียนสามารถใช้ข้อความ แสดงลำดับขั้นตอนที่ชัดเจนได้ เมื่อใครอ่านข้อความ
ดังกล่าวก็สามารถเดินทางไปถึงสถานที่เกิดเหตุได้ )

2. ครูบอกนักเรียนว่า ขั้นตอนวิธีที่นักเรียนใช้แก้ปัญหา เรียกว่าอัลกอริทึม เป็นการแสดงอัลกอริทึมด้วยข้อความ
3. ครูอธิบายความหมายและขั้นตอนของอัลกอริทึมในหนังสือเรียน พร้อมทั้งยกตัวอย่างในชีวิตประจำวัน
ขั้นสรุป (10 นาที)
1. ครูให้นักเรียนอภิปรายความหมายของเหตุผลเชิงตรรกะและอัลกอริทึม และสุ่มนักเรียนยกตัวอย่างการใช้

อัลกอริทึมด้วยข้อความในชีวิตประจำวัน
ู้
10. สื่อแหล่งการเรียนร
1. หนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) ๒. ใบกิจกรรมเรื่อง ข้อความปริศนากับเจ้าหนูยอดนักสืบ
11. การวัดและการประเมินผล

จุดประสงค์ วิธีการประเมิน เครื่องมือการประเมิน เกณฑ์การประเมิน

1. นักเรียนสามารถ 1.การตอบคำถามในใบ 1.ใบกิจกรรมเรื่อง 1.สามารถตอบคำถาม
อธิบายการทำงานและ กิจกรรมเรื่อง ข้อความ ข้อความปริศนากับเจ้า ในใบกิจกรรมได้ถูกต้อง
คาดการณ์ผลลัพธ์ โดย ปริศนากับเจ้าหนูยอด หนูยอดนักสืบ ตามหลักการ 60% ขึ้น
ใช้เหตุผลเชิงตรรกะ นักสืบ ไป

และอัลกอริทึมได้ (K)
2.นักเรียนสามารถใช้ 1.การตอบคำถามในใบ 1.แบบประเมินใบ 1.สามารถตอบคำถาม
เหตุผลเชิงตรรกะ และ กิจกรรมเรื่อง ข้อความ กิจกรรม เรื่อง ข้อความ ในใบกิจกรรมได้ถูกต้อง

อัลกอริทึมในการ ปริศนากับเจ้าหนูยอด ปริศนากับเจ้าหนูยอด ตามหลักการ 60% ขึ้น
แก้ปัญหาอย่างง่ายได้ (P) นักสืบ นักสืบ ไป

3.นักเรียนสามารถ 1.ยกตัวอย่างการ 1.แบบประเมิน 1.นักเรียนสามารถ

ยกตัวอย่างการแก้ปัญหา แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล พฤติกรรม ยกตัวอย่างการแก้ปัญหา
โดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ เชิงตรรกะและ โดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
และอัลกอริทึมใน อัลกอริทึมใน และอัลกอริทึมใน
ชีวิตประจำวันได้ (A) ชีวิตประจำวัน ชีวิตประจำวันได้

10
ชื่อ………………………………………………………………………………….เลขที่....................ชั้น...................


ใบกิจกรรมเรื่อง ข้อความปริศนากับเจ้าหนูยอดนักสืบ

กิจกรรมที่ 1 เรื่อง สมบัติชิ้นสุดท้าย


คำชี้แจง ให้นักเรียนสืบคดี โดยการวิเคราะห์ภาพและการจัดลำดับข้อความสถานการณให้ถูกต้อง พร้อมทั้งหา

คำตอบว่าใครเป็นคนขโมยแหวนประจำตระกูล































ชายชราสงสัยว่าคนที่ขโมยไปต้องเป็นลูกคนใดคนหนึ่งของเขา

โคนันเรียกทุกคนมาบริเวรที่เกิดเหตุ แล้วสอบปากคำทีละคน

..……………..เป็นคนขโมยแหวนประจำตระกูล

มินนี่ให้การว่าในวันที่เกิดเหตุ เขาได้ออกไปช็อปปิ้งข้างนอก ฉันจะเอาเวลาที่ไหนขโมยล่ะ

ชายชราได้เข้ามาในห้องแล้วพบว่าแหวนประจำตระกูลได้หายไป

ชายชราให้การว่าไม่มีใครเคยเปิดตู้เซฟนี้นอกจากเขา

โคนันเดินดูรอบ ๆ สถานที่เกิดเหตุอีกรอบ แล้วได้หลักฐานชิ้นสำคัญ


ภูริให้การว่าเขาไปเลื่อยไม้ที่หลังบ้าน ไม่ได้ขึ้นมาที่นี่เลย อีกอย่างตู้เซฟนี้ก็เปิดยาก ผมทำงานทั้งวันไม่มีแรง

เปิดหรอก

ชายชราจึงไม่แจ้งตำรวจแต่จ้างนักสืบมาสืบว่าใครคือขโมย


หลักฐานอะไรที่ทำให้ตัดสินได้ว่าคนนี้คือขโมย

..........................................................................................................................................................................

กิจกรรมที่ 2 เรื่อง ทางเลือกของโคนัน .......................................................
...................................................................................................................

11

คำชี้แจง จากตารางแผนที่ ให้นักเรียนวางแผนการเดินทางไปสืบคดีอย่างเป็นลำดับขั้นตอน โดยหาเส้นทางที่ดีที่สุด
เพื่อไปที่เกิดเหตุให้เร็วที่สุด


































……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………

12

แบบประเมินใบกิจกรรม


คำอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมิน
ชิ้นงาน ดี (3 คะแนน) พอใช้ (2 คะแนน) ปรับปรุง (1 คะแนน)



1.ความสอดคล้องกับ การจัดลำดับขั้นตอนการ การจัดลำดับขั้นตอนการ การจัดลำดับขั้นตอนการ
เนื้อหา วิเคราะห์ภาพสอดคล้อง วิเคราะห์ภาพสอดคล้อง วิเคราะห์ภาพไม่

เรื่องราวและการแสดง เรื่องราวบางส่วนและการ สอดคล้องเรื่องราวและ
ลำดับขั้นตอนการทำงาน แสดงลำดับขั้นตอนการ การแสดงลำดับขั้นตอน
ชัดเจนและเข้าใจ ทำงานเข้าใจได้เป็นส่วน การทำงานได้เพียง
ใหญ่ บางส่วน


2.การใช้เหตุผลเชิง อธิบายการวิเคราะห์โดยใช้ อธิบายการวิเคราะห์โดย อธิบายการวิเคราะห์โดย
ตรรกะ เหตุผลเชิงตรรกะได้ ใช้เหตุผลเชิงตรรกะได้ ใช้เหตุผลเชิงตรรกะได้
ถูกต้องและเหมาะสม ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน


3.การแสดง เขียนแสดงลำดับขั้นตอน เขียนแสดงลำดับขั้นตอน เขียนแสดงลำดับขั้นตอน
อัลกอริทึม ชัดเจน ภาษาเข้าใจง่าย ชัดเจน ภาษาเข้าใจได้ ได้และการใช้ภาษาได้

เป็นส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน

4.การแก้ปัญหาอย่าง สามารถแกปัญหาโดยใช้ สามารถแกปัญหาโดยใช้ สามารถแกปัญหาโดยใช้



ง่ายโดยใช้เหตุผลเชิง เหตุผลเชิงตรรกะและ เหตุผลเชิงตรรกะและ เหตุผลเชิงตรรกะและ
ตรรกะและ อัลกอริทึมหาคำตอบได้ อัลกอริทึมหาคำตอบได้ อัลกอริทึมหาคำตอบได้
อัลกอริทึม ถูกต้องและเหมาะสม เป็นส่วนใหญ่ เพียงเล็กน้อย



เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
9-12 ดี

5 – 8 พอใช้
1 – 4 ปรับปรุง

13

แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
คำชี้แจง : ครูพิจารณาให้คะแนนนักเรียนรายบุคคลตามข้อคำถามที่กำหนดให้ในใบรายชื่อนักเรียน
โดยใช้เกณฑ์ในการประเมิน ดังนี้
3 = มาก 2 = ปานกลาง 1 = น้อย


ระดับคะแนน
พฤติกรรมที่สังเกต
3 2 1
1. แสวงหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
2. ยกตัวอย่างการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะและอัลกอริทึมในชีวิตประจำวันได้

3. มีวินัย และมุ่งมั่นในการทำงาน
4. เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้

รวม (15)

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ



ช่วงคะแนน ระดับคณภาพ
14 – 15 ดีมาก

11 – 13 ดี
8 – 10 พอใช้
1 – 7 ปรับปรุง

14

บันทึกหลังการสอน
ผลการจัดการเรียนการสอน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………..…….................…………

ปัญหาและอุปสรรค

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แนวทางการแก้ไขปัญหา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………........

ลงชื่อ.................................................ผู้สอน

(นางสาวรุ้งทิพย์ มะกอกนา)
............/................./.................
ความคิดเห็นของวิชาการ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


ลงชื่อ................................................................
(นางสาวธัญลักษณ์ มณีโชติ)
ตำแหน่งวิชาการประถมศึกษา

............/................./.................
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………



ลงชื่อ................................................................
(ไพรฑูรณ์ เฉลิมดิษฐ)

ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดน้ำพุ ฯ
............/................./.................

15




กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา ระยะเวลา 6 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง รหัสลับของนักสืบเยาวชน เวลา 1 ชั่วโมง

สอนวันที่........เดือน.........................พ.ศ.............. ภาคเรียนที่ 1


1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 4 เทคโนโลย ี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ

เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทันและมีจริยธรรม
ตัวชี้วัด ป.4/1 ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์
จากปัญหาอย่างง่าย

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการเขียนอัลกอริทึมด้วยรหัสจำลอง (K)
๒. นักเรียนสามารถแกปัญหาอย่างง่ายได้ โดยใช้อัลกอริทึมด้วยรหัสจำลอง (P)

๓. นักเรียนสามารถยกตัวอย่างการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ โดยใช้อัลกอริทึมด้วยรหัสจำลอง (A)
3. สาระสำคัญ

การแสดงอัลกอริทึมด้วยรหัสจำลอง คือการอธิบายด้วยรหัส โดยเราสามารถกำหนดรหัส จำลอง ขึ้นเองได้
4. สาระการเรียนรู้
- อัลกอริทึมด้วยรหัสจำลอง

- การใช้อัลกอริทึมด้วยรหัสจำลองในการแก้ปัญหา
5. รูปแบบการสอน/วิธีการสอน
- รูปแบบการสอนแบบการอภิปราย

- วิธีการสอนแบบแสดงบทบาทสมมติ
- Computational Thinking
6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา

7. ทักษะ 4 Cs

 ทักษะการคดวิจารณญาณ (Critical Thinking)
 ทักษะการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skill)

 ทักษะการสื่อสาร (Communication Skill)
 ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)

16

8. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
 มีวินัย
 ใฝ่เรียนรู้

 มุ่งมั่นในการทำงาน

9. การจัดกระบวนการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1

ขั้นนำ (10 นาที)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายความรู้เดิมเรื่องการแก้ปัญหาโดยใช้อัลกอริทึม
2. ครูสนทนาเกี่ยวกับกิจกรรมที่ 2 ทางเลือกของโคนัน จากชั่วโมงที่แล้วว่านักเรียนได้เขียนอลกอริทึมเป็น

ข้อความ ในชั่วโมงนี้นักเรียนจะได้เขียนอัลกอริทึมด้วยรหัสจำลอง

ขั้นสอน (40 นาที)
1. ครูอธิบายหลักการของรหัสจำลอง จากนั้นแจกใบกิจกรรม เรื่องรหัสจำลอง ให้นักเรียนได้ทดสอบความเข้าใจ
ภายในเวลา 10 นาที
2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน 3-4 คน จากนั้นครูแจกใบกิจกรรม เรื่อง ภารกิจลับของนักสืบเยาวชน

ื่
3. ครูเล่าสถานการณ์เพอดึงดูดความสนใจสมมติว่า นักเรียนได้รับภารกิจลับให้เดินทางไปสืบคดีระดับชาติ โดย

ต้องเดินทางไปสืบคดีที่ต่างแดนผ่านทางเรือขนส่งสินค้า จุดเริ่มต้นอยู่ที่บ้าน แต่กอนที่จะไปขึ้นเรือ นักเรียน
จะต้องเดินทางไปเอาแผนที่เดินเรือที่กระท่อมหลังป่ามรณะ โดยห้ามเข้าป่ามรณะจากนั้นเดินทางต่อไปที่

ปราสาท เพื่อขอความช่วยเหลือจากทหารให้ติดตามไปด้วยถึงจะข้ามสะพานไปขึ้นเรือได้
4. ครูให้นักเรียนพิจารณาเส้นทางการเดินทางในใบกิจกรรม และสร้างรหัสจำลองการเดินทางในใบกิจกรรม
ภายในเวลา 20 นาที
ขั้นสรุป (10 นาที)
1. ครูสุ่มนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาเขียนรหัสจำลองหน้ากระดาน และให้เพอนกลุ่มอื่น ๆ ช่วยตรวจสอบ
ื่
2. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายหลักการแสดงอัลกอริทึมด้วยรหัสจำลอง และสรุปลงในสมุด


ู้
10. สื่อแหล่งการเรียนร
1. หนังสือเรียนวิทยาการคำนวณ
2. ใบกิจกรรม เรื่องรหัสจำลอง

3. ใบกิจกรรม เรื่องรหัสลับของนักสืบเยาวชน

17

11. การวัดและการประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการประเมิน เครื่องมือการประเมิน เกณฑ์การประเมิน
1. นักเรียนสามารถ 1.การตอบคำถามในใบ 1.แบบประเมินใบ 1.สามารถตอบคำถามได้

อธิบายหลักการเขียน กิจกรรม เรื่องรหัส กิจกรรม เรื่องรหัส ในใบกิจกรรมถูกต้อง
อัลกอริทึมด้วยรหัส จำลอง จำลอง ตามหลักการ 60% ขึ้น
จำลอง (K) ไป


2.นักเรียนสามารถ 1.การตอบคำถามในใบ 1.แบบประเมินใบ 1.สามารถตอบคำถาม
แก้ปัญหาอย่างง่ายได้ กิจกรรม เรื่องรหัสลับ กิจกรรม เรื่องรหัสลับ ในใบกิจกรรมได้ถูกต้อง
โดยใช้อัลกอริทึมด้วย ของนักสืบเยาวชน ของนักสืบเยาวชน ตามหลักการ 60% ขึ้น

รหัสจำลอง (P) ไป


3.นักเรียนสามารถ 1.ยกตัวอย่างการ 1.แบบประเมิน 1.นักเรียนสามารถ
ยกตัวอย่างการแก้ปัญหา แก้ปัญหาใน พฤติกรรม ยกตัวอย่างการแก้ปัญหา
ในชีวิตประจำวันได้ โดย ชีวิตประจำวันได้ โดยใช้ ในชีวิตประจำวันได้ โดย

ใช้อัลกอริทึมด้วยรหัส อัลกอริทึมด้วยรหัส ใช้อัลกอริทึมด้วยรหัส
จำลอง (A) จำลอง จำลอง

18
ชื่อ………………………………………………………………………………….เลขที่....................ชั้น...................



ใบกิจกรรม เรื่องรหัสจำลอง


คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้

1. การแสดงอลกอริทึมด้วยรหัสจำลอง คือ.........................................................................................................
........................................................................................................................................................................
2. ให้นักเรียนอธิบายความหมายของรหัสจำลองต่อไปนี้ และสร้างรหัสจำลองเพิ่มพร้อมอธิบายความหมาย
รหัสจำลอง ความหมาย
เดินไปทางขวา

19
ชื่อ………………………………………………………………………………….เลขที่....................ชั้น...................

ใบกิจกรรม เรื่องรหัสลับของนักสืบเยาวชน

คำชี้แจง ให้นักเรียนหาเส้นทางเพอทำภารกิจลับด้วยรหัสจำลอง
ื่

ภารกิจของนักสืบ ให้เดินทางไปสืบคดีระดับชาติ โดยต้องเดินทางไปสืบคดีที่ต่างแดนผ่านทางเรือขนส่ง

สินค้า จุดเริ่มต้นอยู่ที่บ้าน แต่ก่อนที่จะไปขึ้นเรือ นักสืบจะต้องเดินทางไปเอาแผนที่เดินเรือที่กระท่อมหลังป่ามรณะ
โดยห้ามเข้าป่ามรณะจากนั้นเดินทางต่อไปที่ปราสาท เพื่อขอความช่วยเหลือจากทหารให้ติดตามไปด้วยถึงจะข้าม
สะพานไปขึ้นเรือได้

20

แบบประเมินใบกิจกรรม เรื่องรหัสจำลอง


คำอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมิน
ชิ้นงาน ดี (3 คะแนน) พอใช้ (2 คะแนน) ปรับปรุง (1 คะแนน)



1.ความสอดคล้องกับ สามารถอธิบายหลักการ สามารถอธิบายหลักการ อธิบายหลักการ
เนื้อหา อัลกอริทึมด้วยรหัสจำลอง อัลกอริทึมด้วยรหัส อัลกอริทึมด้วยรหัส

ชัดเจนและเข้าใจ จำลองเข้าใจเป็นส่วน จำลองได้เพียงบางส่วน
ใหญ่


2.ความหมายของ อธิบายความหมายของ อธิบายความหมายของ อธิบายความหมายของ
รหัสจำลอง รหัสจำลองถูกต้องและ รหัสจำลองถูกต้องเป็น รหัสจำลองได้เพียง
เหมาะสม ส่วนใหญ่ บางส่วน


เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ





ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
5 – 6 ดี

3 – 4 พอใช้
1 – 2 ปรับปรุง

21

แบบประเมินใบกิจกรรม เรื่องรหัสลับของนักสืบเยาวชน


คำอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมิน
ชิ้นงาน ดี (3 คะแนน) พอใช้ (2 คะแนน) ปรับปรุง (1 คะแนน)



1.ความสอดคล้องกับ การจัดลำดับขั้นตอนการ การจัดลำดับขั้นตอนการ การจัดลำดับขั้นตอนการ
เนื้อหา วิเคราะห์ภาพ ข้อความ วิเคราะห์ภาพ ข้อความ วิเคราะห์ภาพ ข้อความ

สอดคล้องกับการแสดง สอดคล้องกับการแสดง สอดคล้องกับการแสดง
ลำดับขั้นตอนการทำงาน ลำดับขั้นตอนการทำงาน ลำดับขั้นตอนการทำงาน
ชัดเจนและเข้าใจ ชัดเจนและเข้าใจได้เป็น ชัดเจนและเข้าใจได้เพียง
ส่วนใหญ่ บางส่วน


2.การแสดง เขียนแสดงลำดับขั้นตอน เขียนแสดงลำดับขั้นตอน เขียนแสดงลำดับขั้นตอน
อัลกอริทึม ด้วยรหัสจำลองชัดเจน ด้วยรหัสจำลองเข้าใจได้ ด้วยรหัสจำลองได้เพียง
และเข้าใจง่าย เป็นส่วนใหญ่ บางส่วน




3.การแก้ปัญหาอย่าง สามารถแกปัญหาโดยใช้ สามารถแกปัญหาโดยใช้ สามารถแกปัญหาโดยใช้

ง่ายโดยใช้อัลกอริทึม อัลกอริทึมด้วยรหัสจำลอง อัลกอริทึมด้วยรหัส อัลกอริทึมด้วยรหัส
ด้วยรหัสจำลอง ได้ถูกต้องและเหมาะสม จำลองได้เป็นส่วนใหญ่ จำลองได้เพียงเล็กน้อย


เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ


ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
8 – 9 ดี
5 – 7 พอใช้

1 – 4 ปรับปรุง

22

แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
คำชี้แจง : ครูพิจารณาให้คะแนนนักเรียนรายบุคคลตามข้อคำถามที่กำหนดให้ในใบรายชื่อนักเรียน
โดยใช้เกณฑ์ในการประเมิน ดังนี้
3 = มาก 2 = ปานกลาง 1 = น้อย


ระดับคะแนน
พฤติกรรมที่สังเกต
3 2 1
1. แสวงหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
2. ยกตัวอย่างการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้
โดยใช้อัลกอริทึมด้วยรหัสจำลอง

3. มีวินัย และมุ่งมั่นในการทำงาน
4. เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้

รวม (15)

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ


ช่วงคะแนน ระดับคณภาพ

14 – 15 ดีมาก

11 – 13 ดี
8 – 10 พอใช้
1 – 7 ปรับปรุง

23

บันทึกหลังการสอน
ผลการจัดการเรียนการสอน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….................…………

ปัญหาและอุปสรรค

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………

แนวทางการแก้ไขปัญหา

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
…………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………........

ลงชื่อ.................................................ผู้สอน

(นางสาวรุ้งทิพย์ มะกอกนา)
............/................./.................
ความคิดเห็นของวิชาการ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


ลงชื่อ................................................................
(นางสาวธัญลักษณ์ มณีโชติ)
ตำแหน่งวิชาการประถมศึกษา

............/................./.................
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………



ลงชื่อ................................................................
(ไพรฑูรณ์ เฉลิมดิษฐ)

ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดน้ำพุ ฯ
............/................./.................

24



กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา ระยะเวลา 6 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง แผนผังแสนสนุก เวลา 3 ชั่วโมง

สอนวันที่........เดือน.........................พ.ศ.............. ภาคเรียนที่ 1

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระที่ 4 เทคโนโลย ี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ

เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทันและมีจริยธรรม
ตัวชี้วัด ป.4/1 ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จาก
ปัญหาอย่างง่าย

๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. นักเรียนสามารถอธิบายการทำงานของอัลกอริทึมด้วยผังงานหรือโฟลวชาร์ตได้ (K)

๒. นักเรียนสามารถแก้ปัญหาอย่างง่าย โดยใช้อัลกอริทึมด้วยผังงานหรือโฟลวชาร์ตได้ (P)
๓. นักเรียนสามารถยกตัวอย่างการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้ โดยใช้อัลกอริทึมด้วยผังงานหรือโฟลวชาร์ต (A)
๓. สาระสำคัญ
การแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงานหรือโฟลวชาร์ต คือ แผนผังแสดงขั้นตอนการทำงาน ซึ่งสามารถใช้แผนผังนี้แสดง

ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมได้ การแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงาน แบ่งออกเป็น 2 แบบ ได้แก่ ผังงานแบบ
โครงสร้างเรียงลำดับ และผังงานแบบโครงสร้างทางเลือก
๔. สาระการเรียนรู้

- การแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงานหรือโฟลวชาร์ต
- การแก้ปัญหาโดยใช้อัลกอริทึมด้วยผังงานหรือโฟลวชาร์ต
๕. รูปแบบการสอน/วิธีการสอน

- รูปแบบการสอนแบบการอภิปราย
- Computational Thinking
๖. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ความสามารถในการสื่อสาร
 ความสามารถในการคิด

 ความสามารถในการแก้ปัญหา
๗. ทักษะ 4 Cs


 ทักษะการคดวิจารณญาณ (Critical Thinking)
 ทักษะการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skill)
 ทักษะการสื่อสาร (Communication Skill)
 ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)

25

๘. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
 มีวินัย
 ใฝ่เรียนรู้

 มุ่งมั่นในการทำงาน

๙. การจัดกระบวนการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1

ขั้นนำ (10 นาที)
๑. ครูทบทวนความรู้เดิม โดยการถามคำถามนักเรียนว่า การแก้ปัญหาโดยใช้อัลกอริทึมสามารถแสดงได้กี่ แบบ
ได้แกอะไรบ้าง (แนวคำตอบ มี 3 แบบ ได้แก่ การแสดงอัลกอริทึมด้วยข้อความ การแสดงอัลกอริทึมด้วยรหัส

จำลองหรือซูโดโค้ด และการแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงานหรือโฟลวชาร์ต


๒. ครูสนทนาเกี่ยวกับกิจกรรมที่ 2 ทางเลือกของโคนัน จากชั่วโมงที่แล้วว่านักเรียนได้เขียนอลกอริทึมเป็น
ข้อความ ในชั่วโมงนี้นักเรียนจะได้เขียนอัลกอริทึมด้วยรหัสจำลอง
ขั้นสอน (40 นาที)
๓. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน 3-4 คน จากนั้นแจกบัตรข้อความชื่อและความหมายสัญลักษณ์ผังงานให้นักเรียนกลุ่ม

ละ 1 ชุด จากนั้นให้นักเรียนเล่นเกมบัตรภาพแผนผังเพอทดสอบความรู้และไหวพริบ
ื่
๔. ครูบอกกติกาแก่นักเรียน กติกามีอยู่ว่าเมื่อครูชูบัตรภาพรูปเรขาคณิตที่เป็นสัญลักษณ์ของผังงาน ให้นักเรียน
พิจารณาคาดการณ์ว่าสัญลักษณ์ที่ครูชูขึ้นนั้นมีชื่อและความหมายว่าอย่างไร ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแข่งกันยก

บัตรข้อความที่เป็นคำตอบ กลุ่มไหนตอบได้เร็วและถูกต้อง รับคะแนนไปครั้งละ 5 คะแนน
๕. หลังจากเล่นเกมครบทุกบัตรภาพแล้ว ครูอธิบายการแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงานเพิ่มเติม จากหนังสือเรียน
วิชาวิทยาการคำนวณ
๖. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงานหรือโฟลวชาร์ต
ขั้นสรุป (10 นาที)

๗. ครูให้นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้จากการเล่นเกมลงในสมุด
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นนำ (10 นาที)

1. ครูทบทวนความหมายของสัญลักษณการแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงานหรือโฟลวชาร์ต ด้วยการสุ่มถามคำถาม

นักเรียน 3-4 คน
ขั้นสอน (40 นาที)
1. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 3-4 คน จากนั้นแจกใบกิจกรรมเรื่อง การเดินทางด้วยผังงาน

2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทำใบกิจกรรมเรื่อง การเดินทางด้วยผังงาน
ขั้นสรุป (10 นาที)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบกิจกรรมเรื่อง การเดินทางด้วยผังงาน
2. ครูสุ่มนักเรียนยกตัวอย่างการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน โดยใช้การแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงาน เช่น การตื่น

นอนของนักเรียน

26

ชั่วโมงที่ 3
ขั้นนำ (10 นาที)
1. ครูและนักเรียนทบทวนความรู้เดิมจากกิจกรรมในชั่วโมงทแล้ว
ี่
2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4-5 คน เพื่อทำกิจกรรมแผนผังแสนสนุก

ขั้นสอน (45 นาที)
1. ครูแจกอุปกรณ์ให้นักเรียน ได้แก่ กระดาษปรู๊ฟกลุ่มละ 1 แผ่น และปากกาเมจิกกลุ่มละ 2 ด้าม
2. ครูให้นักเรียนจับสลากเลือกสถานการณ์ (ให้ครูสร้างสถานการณ์โดยที่แต่ละกลุ่มสถานการณ์ไม่ซ้ำกัน
ตัวอย่างสถานการณ์ เช่น การเดินทางจากโรงเรียนกลับบ้าน) แล้วให้นักเรียนออกแบบการแก้ปัญหาโดยใช้

การแสดงอัลกอริทึมด้วยผังงาน ภายในเวลา 15 นาที
3. หลังจากที่นักเรียนทำกิจกรรมเสร็จแล้ว ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอหน้าชั้นเรียน กลุ่มละ 2-3 นาที
ขั้นสรุป (10 นาที)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายกิจกรรมแผนผังแสนสนุก

2. ครูถามคำถามนักเรียนว่า ระหว่างเหตุผลเชิงตรรกะและอลกอริทึมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ให้นักเรียน

ตอบคำถามลงในสมุดของตนเอง
3. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดในหนังสือแบบฝึกหัดวิชาวิทยาการคำนวณ ข้อ 4 หน้า 9

ู้
๑๐. สื่อแหล่งการเรียนร
1. หนังสือเรียนเทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ)
๒. แบบฝึกหัดเทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ)

๓. บัตรภาพและบัตรข้อความ
๔. ใบกิจกรรมเรื่อง การเดินทางด้วยผังงาน
๕. อุปกรณ์ในการทำกิจกรรมได้แก่ กระดาษปรู๊ฟและปากกาเมจิก

27

๑๑. การวัดและการประเมินผล
จุดประสงค์ วิธีการประเมิน เครื่องมือการประเมิน เกณฑ์การประเมิน
1. นักเรียนสามารถ 1.การตอบคำถามในใบ 1.แบบประเมินใบ 1.สามารถตอบคำถามได้


อธิบายการทำงานของ กิจกรรมเรื่อง การ กิจกรรมเรื่อง การ ในใบกิจกรรมถกต้อง
อัลกอริทึมด้วยผังงาน เดินทางด้วยผังงาน เดินทางด้วยผังงาน ตามหลักการ 60% ขึ้น
หรือโฟลวชาร์ตได้ (K) ไป

2.นักเรียนสามารถ 1.ตรวจกิจกรรมแผนผัง 1.แบบประเมินใบ 1.สามารถตอบคำถาม
แก้ปัญหาอย่างง่ายได้ แสนสนุก กิจกรรมแผนผังแสน ในใบกิจกรรมได้ถูกต้อง
โดยใช้อัลกอริทึมด้วยผัง สนุก ตามหลักการ 60% ขึ้น
งานหรือโฟลวชาร์ต(P) ไป


3.นักเรียนสามารถ 1.ยกตัวอย่างการ 1.แบบประเมิน 1.นักเรียนสามารถ

ยกตัวอย่างการแก้ปัญหา แก้ปัญหาใน พฤติกรรม ยกตัวอย่างการแก้ปัญหา
ในชีวิตประจำวันได้ โดย ชีวิตประจำวันได้ โดยใช้ ในชีวิตประจำวันได้ โดย
ใช้อัลกอริทึมด้วยรหัส อัลกอริทึมด้วยรหัส ใช้อัลกอริทึมด้วยรหัส

จำลอง (A) จำลอง จำลอง



แบบประเมินใบกิจกรรม การเดินทางด้วยผงงาน

คำอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมิน

ชิ้นงาน
ดี (3 คะแนน) พอใช้ (2 คะแนน) ปรับปรุง (1 คะแนน)

1.ความสอดคล้องกับ การจัดลำดับขั้นตอน การจัดลำดับขั้นตอน การจัดลำดับขั้นตอน
เนื้อหา ข้อความสอดคล้อง ข้อความสอดคล้อง ข้อความสอดคล้อง

เรื่องราวลำดับขั้นตอนการ เรื่องราวลำดับขั้นตอน เรื่องราวลำดับขั้นตอน
ทำงานชัดเจนและเข้าใจ การทำงานเข้าใจเป็นส่วน การทำงานเข้าใจเพียง
ใหญ่ บางส่วน


2.การแสดง เขียนแสดงลำดับขั้นตอน เขียนแสดงลำดับขั้นตอน เขียนแสดงลำดับขั้นตอน
อัลกอริทึม ถูกต้องและเหมาะสมทุก ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเพียงบางส่วน

ขั้นตอน



3.การแก้ปัญหาอย่าง สามารถแกปัญหาโดยใช้ สามารถแกปัญหาโดยใช้ สามารถแกปัญหาโดยใช้

ง่ายโดยใช้อัลกอริทึม อัลกอริทึมด้วยผังงานหา อัลกอริทึมด้วยผังงานหา อัลกอริทึมด้วยผังงานหา
ด้วยผังงาน คำตอบได้ถูกต้องทุก คำตอบได้ถูกต้องเป็นส่วน คำตอบได้ถูกต้องเพียง
ขั้นตอน ใหญ่ บางส่วน

28

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
8 – 9 ดี

5 – 7 พอใช้
1 – 4 ปรับปรุง



แบบประเมินชิ้นงานกิจกรรมแผนผังแสนสนุก


คำอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมินชิ้นงาน
ดี (3 คะแนน) พอใช้ (2 คะแนน) ปรับปรุง (1 คะแนน)

1.ความสอดคล้องกับ การจัดลำดับขั้นตอนข้อความ การจัดลำดับขั้นตอน การจัดลำดับขั้นตอน
เนื้อหา สอดคล้องเรื่องราว เข้าใจง่าย ข้อความสอดคล้องเรื่องราว ข้อความสอดคล้องเรื่องราว
ลำดับขั้นตอนการทำงาน ลำดับขั้นตอนการทำงาน ลำดับขั้นตอนการทำงาน
ชัดเจน เข้าใจเป็นส่วนใหญ่ เข้าใจเพียงบางส่วน


รูปแบบชิ้นงาน 2.การแก้ปัญหาอย่าง เขียนแสดงลำดับขั้นตอน เขียนแสดงลำดับขั้นตอน เขียนแสดงลำดับขั้นตอน

ง่ายโดยใช้อัลกอริทึม ถูกต้องและเหมาะสม ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องเพียงบางส่วน
ด้วยผังงาน


3.ความเรียบร้อย ชิ้นงานมีความเรียบร้อยและ ชิ้นงานมีความเรียบร้อย ชิ้นงานมีความเรียบร้อย
สวยงาม เพียงเล็กน้อย

1.การนำเสนอ นำเสนอครบทุกประเด็นและ นำเสนอครบทุกประเด็นและ นำเสนอเพียงบางส่วนและ
ตอบคำถามได้ทุกประเด็น ตอบคำถามได้ส่วนใหญ่ ตอบคำถามไม่ได้หรือได้เพียง
บางประเด็น

การนำเสนอ 2.บุคลิกในการ พูดจาฉะฉาน ชัดเจน น้ำเสียง พูดจาฉะฉาน ชัดเจน พูดจาฉะฉาน ชัดเจน
นำเสนอ น่าฟัง ภาษากาย (การยืน การ น้ำเสียงน่าฟัง ภาษากาย น้ำเสียงน่าฟัง ภาษากาย
สบตา การวางมือ)มีความ (การยืน การสบตา การ (การยืน การสบตา การ
เหมาะสม วางมือ)มีความเหมาะสมเป็น วางมือ)มีความเหมาะสม
ส่วนใหญ่ เพียงบางส่วน



เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14 – 15 ดีมาก

11 – 13 ดี
8 – 10 พอใช้

1 – 7 ปรับปรุง

29

แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
คำชี้แจง : ครูพิจารณาให้คะแนนนักเรียนรายบุคคลตามข้อคำถามที่กำหนดให้ในใบรายชื่อนักเรียน
โดยใช้เกณฑ์ในการประเมิน ดังนี้
3 = มาก 2 = ปานกลาง 1 = น้อย


ระดับคะแนน
พฤติกรรมที่สังเกต
3 2 1
1. แสวงหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
2. ยกตัวอย่างการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันได้
โดยใช้อัลกอริทึมด้วยผังงานหรือโฟลวชาร์ต

3. มีวินัย และมุ่งมั่นในการทำงาน
4. เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้

รวม (15)

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
14 – 15 ดีมาก
11 – 13 ดี

8 – 10 พอใช้
1 – 7 ปรับปรุง

30

31

32

33

34

35

36

37

38

เฉลย อ้างอิงจากหนังสือเรียนเทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) ป.4 ของอจท. หน้า 12

39

บันทึกหลังการสอน
ผลการจัดการเรียนการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
………………………………………………………………………………………………………………………….................…

ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..…………

แนวทางการแก้ไขปัญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………..………

ลงชื่อ.................................................ผู้สอน
(นางสาวรุ้งทิพย์ มะกอกนา)

............/................./.................
ความคิดเห็นของวิชาการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………


ลงชื่อ................................................................
(นางสาวธัญลักษณ์ มณีโชติ)
ตำแหน่งวิชาการประถมศึกษา
............/................./.................

ความคิดเห็นของผู้บริหาร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………


ลงชื่อ................................................................
(ไพรฑูรณ์ เฉลิมดิษฐ)

ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดน้ำพุ ฯ


............/................./.................

40

41


Click to View FlipBook Version