The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ttacademic9, 2020-03-03 23:44:32

สรุปอบ 2562

สรุปอบ 2562

Keywords: petcharat

English Training Program for Teachers of English in Primary School

This academic service is organized in collaboration

between PTTEP and Naresuan University international College (NUIC)
On March 27th – 29th 2019 and held at Naresuan University

The training covers the following topics:

- Pronunciation Techniques
- Problem Based learning
- Project Based Learning
- Design Teaching
- Social Media and Gamification

Pronunciation Techniques by Miss Pirakorn Seekhem and Miss Sarunya Tarat

1.Falling tone

2.Rising Tone

3.Falling-Rising Tone

4.Rising-Falling Tone

1. Word Stress (Cont.): The indication of pronunciation
1.1 Word Stress Tendencies
- The affixes are not normally stressed.
1.2 Stress may normally fall on the syllable before –ic
1.3 On the syllable before –ity.
1.4 On the syllable before –ion.
1.5 On the syllable before –ian.
1.6 On the penultimate syllable before –ate. : the syllable beforethe
one next too the syllable having –ate.

1,7 On the syllable before –al.
1.8 On the syllable before –ible or –able

2. Compounds :

2.1 Noun compounds (N+N) :

2.1.1 Stress on the first word

2.1.2 Stress on the second word

3.1 Adjectival Compounds (Adj. + N)

3.1.1 Adjectival compounds (Adj+Adj) : adjectives ending with –ed,
stress is pace on the second word.

3.1.2 If the first word is a number, stress is placed on the second
word.

2. Intonation means the rise and fall of the voice : the tune of speech :
Types of intonation
3.1 Falling Tone : The falling tune is usually indicative of finality or
certainty.
- in declarative sentences. These kinds of sentences tend to pass
across information that one is certain of. Examples : I will come
too. Sade has arrived.
- Falling tune usually ends the wh-question. Examples : How are
you? What is your name?
- In commands, falling tunes come with a bit of a high pitch in the
delivery of the order. Example : Get up from there.

3,2 Rising Tone

- A polar question is being asked. That is a question that requires
only yes or no answer (even if it will be followed by a fuller ulterance.

- Rising tune occurs in declarative questions. These sorts of
questions look like statements orthographically but are tuned into
questions by the rising tune that ends them.

- It is used for polite requests, encouragement, or warnings.
- Rising tune can be used for unfinished or hanging statements.

3.3 Falling – Rising Tone : The curving simple will be used to indicate the
fall-rise tune. This sort of tune is used for doubtful statements and adverbials.
It is regarded as a tune of contrast.

3.4 Rising – Falling Tone :The rise-fall can be used in the listing of items.
In this case, you may have a sequence of items being enumerated in the
falling tune with the final item ending on a rise. Alternatively, the rising tune
may be used first. It will be indicated with the symbol.

The tune is also regarded as being of a more persuasive tone than the
falling tune. It is also seen as the least common of the tunes. It may indicate a
note of being impressed or of being sarcastic.

Problem Based learning by Mr.Chon Ne Ville

1. List the problem and example in the classroom
2. Tell how to solve the problem

Project Based Learning by Miss Saranporn Kirdkoh

A PBL project dealing with harvesting a specific type of wood for
furniture production is presented. This project is a relatively simple one that
would be appropriate for a variety of upper elearnatary and middle school
classes, including science, ecology and perhaps mathematics, or in a
combination of those classes, as an interdisciplinary project facilitated by
several teachers.

Design Teaching by Miss Jarah Gertudes M. Espirtu

1. Begin with the end in mind.
2. Learning Centered Teaching
3. Myths about Learning Centred Approach
4. The Value of the approach
5. The underfying theories constituting the approach
6. The Function of content
7. The role of teacher
8. The responsibility of learnings
9. The purposes of evaluation
10. Implementation Techniques

Social Media and Gamification by Dr.Eugenia A. Boa

1. Sutdents feel ownership over their learning
2. More relaxed atmosphere in regard to failure, since learners can

simply try again
3. More fun in the classroom
4. Learning becomes visible through progress indicators.
5. Students may uncover intrinsic motivation for learning
6. Students can explore different identities trough different

avatars/characters.
7. Students often are more comfortable in gaming environment.

5.แนวทางในการนาความรู้ ทักษะทไี่ ด้รบั จากการอบรมไปปรับใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ ดงั นี้

1. นาความรูท้ ไ่ี ดม้ าไปปรบั ใชใ้ ห้เกิดประโยชนใ์ นวิชาทีต่ นเองสอน โดยสามารถนาไปปฏิบัตจิ ริง
ไดก้ ับตวั ผเู้ รยี น

2. นาความร้ทู ไ่ี ด้มาไปปรับใชใ้ นการเรียนการสอนให้มีประสทิ ธภิ าพมากๆย่ิงขน้ึ ไป

Retreat

ระหวา่ งวันท่ี 10 -12 พฤษภาคม 2562 ณ. เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว

“เปิดหัวใจใหว้ ่าง ร่วมกนั สรา้ งองคก์ ร” หัวขอ้ Retreat ประจาปีการศึกษา 2562 ความหมาย
ของคาวา่ Retreat หมายถงึ การก้าวถอยกลับเพ่อื เติมพลังให้มกี าลงั และพร้อมท่จี ะทางาน พร้อมที่จะกา้ วเดิน
ไปข้างหนา้ อย่างม่นั ใจ และมนั่ คง

การRetreatคร้ังนีเ้ ป็นการเดินทางโดยเรอื ซึ่งเป็นการเดินทางท่พี ิเศษ แปลก เพราะเรามกี าร
อบรมตามหัวข้อที่เตรยี มไว้บนเรอื ลายาว ท่ลี ่องลอยไปตามแม่น้าโขง โดยใชเ้ วลาในการเดนิ ทางทั้ง ขาไปและขา
กลบั ร่วม 12 ชวั่ โมง ช่างเป็นการเดินทางท่มี ีค่ามากท่ีสดุ
จุดประสงค์

1. เตมิ พลังก่อนเริม่ ต้นการทางาน
2. เพอ่ื ความเป็นอันหนึง่ อนั เดยี วกัน
3. เติมความรู้ทีห่ ลากหลาย เพอื่ นาไปพฒั นาการทางาน
4. พัฒนาวสิ ัยทศั นข์ องตนเอง

ความรทู้ ไี่ ดร้ บั
10 พ.ค 62 : ทา่ นวิทยากร: ผศ. พิเศษ ปรชี า วฒุ กิ านต์
“วิสัยทศั นก์ ับความเปน็ จริงในปจั จุบนั
–การเปล่ียนแปลงกรอบความคดิ ”
1.ต้องมคี วามรู้
2.Desire ความปรารถนา
3. Practiceฝึกฝน
The seven habits of highly effective
1.อุปนิสยั People active Think and act
2.Bigin with the aim in mind
2.1 Concious
2.2 Subconcious
2.3Creative Subconscious
3.First in First :
3.1งานเรง่ ดว่ น ด่วนสาคัญ
3.2ดว่ นไม่สาคญั
3.3 ไมด่ ่วน สาคัญ
3.4ไม่ดว่ น ไม่สาคญั
***ถ้าเราลดขอ้ 3.4 มาทา3.2 ขอ้ 3.1 จะหายไปรู้จกั First Priority

4. Think Win Win เปิดบัญชอี ารมรมณ์ให้แกก่ ัน
4.1การทาความเข้าใจตอ่ กัน *การแสดงความรูส้ กึ *บรรลวุ ุฒภิ าวะทางอารมณ์
4.2ความกลา้ ความดี 4.3ความจติ ใจกวา้ ง

5.Seek First Through Understand ให้เวลากับความเขา่ ใจ การฟงั ...

6.Synergize:การผนกึ กาลัง ทางานรว่ มกับผูอ้ ื่น"รู้มาก อย่าพดู มาก"
7.Sharpen the saw

* สขุ ภาพNo pain No gain *Reading
"คนไม่อ่านหนงั สือไม่ต่างกับคนอา่ น หนงั สือไม่ออก" *ฝึกวางแผน *ฝกึ การจดั การ *จิตวญิ ญาณ
หมายเหตุ :ข้อ1-3 เกีย่ วกับตัวเราเอง
11พ.ค.62
1.ท่องเทีย่ วดูวิถีชีวิตชาวหลวงพระบาง

1.1ตกั บาตรข้าวเหนยี ว ชมตลาดเชา้
1.2ชมพระราชวัง ฟงั ประวตั ิบุคคลสาคัญและ
ความเปน็ มาของประเทศ
1.3กราบพระขอพรวดั ดังของหลวงพระบาง
1.4เรยี นรพู้ ิธีบายศรีส่ขู วญั และการแสดงชาวลาว
1.5ท่องราตรดี ูวิถีชาวลาวยามค่าคนื ความสวยงามของบ้านเมือง
ความรูท้ ีไ่ ด้รับ
1.วิถชี วี ิตของคนลาว
2.แนวคดิ ของคนลาว
3.สถานทส่ี าคญั และบุคคลสาคญั ของประเทศลาว
4.อาหารประจาถิ่น
5 การแตง่ กาย
6.ประเพณีวฒั นธรรม
7.ภาษา
8.การขนสง่
9.ยานพาหนะ

10.ต้นไม้ ดอกไม้
11.ลักษณะของบ้านเรอื น ที่อยอู่ าศัย
12.ค่าเงนิ
13.สนิ คา้ ยอดนยิ ม การซ้ือขาย
14.การเดนิ ทางระยะทาง
การนาไปใช้
เล่าใหน้ ักเรียนฟังจากประสบการณข์ องครู เพื่อเป็นแนวคดิ เด็กๆ เกดิ การเปรียบเทียบข้อดขี อ้ เสยี
ความคดิ เห็นเพมิ่ เติม
1. การใหเ้ วลากบั สถานท่ีท่ีนา่ สนใจคอ่ นข้างนอ้ ย เช่นในตอนเชา้ ที่ตกั บาตร บริเวณน้ันน่าสนใจ มี
บา้ นเมอื งสวยงาม ไม่มีเวลาชื่นชม
2. ตอนเยน็ หลงั ทานอาหาร ควรมีการสรปุ ร่วมกันกอ่ นแยกย้ายเข้าหอ้ งนอน

สรปุ ประชุมผูป้ กครองหอพัก ประจาปกี ารศึกษา 2562
วันจันทรท์ ี่ 13 พฤษภาคม 2562 เวลา 09.00-10.00 น.

ณ. ห้องประชุม โรงเรียนธีรธาดา พิษณุโลก
การประชมุ ผูป้ กครองนักเรียนประจา เป็นการประชุมเพ่ือทาความเข้าใจกบั ผปู้ กครองท่ีเข้าใหม่ในปีการศึกษา 2562
เพื่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจตรงกนั ในการดแู ลนกั เรยี น ไปในทศิ ทางเดยี วกนั โดยมีรายละเอียด ดงั นี้
1. เร่ิมตน้ ด้วย ตารางกจิ วัตรประจาวนั ท่ีนกั เรียนจะต้องปฏบิ ัติ เพ่อื เป็นระบบ ระเบยี บ ของหอพัก

2. นกั เรยี นจะได้รับการดูแล จากคณุ ครูผ้ใู หญ่ท่ีพร้อมจะให้คาปรึกษาท้ังดา้ น จติ ใจ และด้านวชิ าการ ในเรือ่ งของการ
ทาการบา้ น การอ่านหนงั สือ ทบทวนความรทู้ ่ีไดเ้ รียนมาแต่ละวัน และฝึกฝนทักษะภาษาองั กฤษเพม่ิ เติมให้พัฒนา
เป็นไปตามศกั ยภาพของตนเองอยา่ งเต็มความสามารถ

3. บริการในเร่ืองของการดูแลเสื้อผา้ ในชดุ ตา่ งๆ โดย ซกั -รีดให้ทุกวัน วันละ 1ชดุ โดยมีเงือ่ นไขวา่ นักเรยี นจะต้องปกั
ช่ือท่ีเสอ้ื ผ้าทุกตัว เพ่ือสามารถดูแลอย่างเปน็ ระบบได้งา่ ย ยกเว้น ผา้ เชด็ ตวั ถุงเทา้ รองเท้า และชุดช้นั ใน

4. ด้านส่งิ แวดล้อม มีบริเวณสาหรบั ออกกาลังกาย เล่นกีฬา หลังเลิกเรยี น ก่อนเวลาทานข้าว และอาบน้า
5. การดแู ลในเร่ืองของความปลอดภัย มีกล้อง CCCTV ทุกจดุ ทส่ี ามารถตรวจสอบนักเรียน เพือ่ ความปลอดภยั ในทกุ

ระยะ
ระเบยี บของหอพัก
1. การรับ – สง่ นกั เรยี น ผปู้ กครองตอ้ งรบั – ส่งด้วยตนเองทุกคร้ังตามเวลาท่ีกาหนด โดยสง่ เยน็ วนั กอ่ นเปิดเรียน ตั้งแต่
เวลา 15.00 – 17.00 น.เท่านั้น
- กรณีมอบหมายให้ผ้อู น่ื มารบั แทน ต้องโทรศพั ท์แจง้ ครผู ูด้ แู ลกอ่ น ทกุ ครง้ั พรอ้ มแสดงบัตรประชาชนของผู้รบั แทน

เพ่อื ใหค้ รูบนั ทึกเลข 13 หลัก พร้อมทอ่ี ยู่ หากไม่มีจะไม่อนญุ าตใหร้ ับกลับได้
- นักเรียนตอ้ งแต่งกายเครอ่ื งแบบนักเรยี น
- นกั เรยี นระดบั ชัน้ ประถมศึกษารบั กลบั ทกุ สัปดาห์

1. การรับ - ส่ง นักเรียนฯ

- ผปู้ กครองควร ส่ง – รับ ดว้ ยตนเองทุกคร้ังตามเวลาท่ีกาหนด * ส่งเยน็ วนั ก่อนเปิ ดเรียน ต้งั แต่เวลา 15.00 - 17.00 น.
เทา่ น้นั
- ผปู้ กครองตอ้ งเซนตช์ ่ือเพ่ือเป็นการยนื ยนั ในการรับ – ส่งทุกคร้ัง กรณมี อบหมายให้ผู้อืน่ มารับแทน ต้องโทรศพั ท์แจ้งครู
ผู้ดแู ลกอ่ น ทุกคร้ัง พรอ้ มแสดงบัตรประชาชนของผู้รับแทนเพอ่ื ใหค้ รูบนั ทึกเลข 13 หลกั พรอ้ มท่ีอยู่ หากไม่มีจะไม่
อนญุ าตใหร้ บั กลับได้

- นกั เรียนตอ้ งแต่งกายเครือ่ งแบบนักเรียน

- นักเรียนระดบั ชนั้ ประถมศึกษารบั กลับทุกสัปดาห์ นกั เรียนมัธยมกลบั ตามตารางหอพักท่ี

- เพ่ือความปลอดภัยและเป็นส่วนตัวของคณุ ครูและนกั เรยี นจะไม่อนญุ าตให้ผ้ปู กครองข้นึ ไปบนห้องหอพัก

นักเรยี นเดด็ ขาด

- ไมอ่ นุญาตให้นักเรียนนาของมคี า่ ของเล่น ของใช้ ขนมคบเคย้ี ว เครอ่ื งนอนท่ีไมเ่ กดิ ประโยชน์กบั นกั เรียนเข้าหอพกั

- ไมอ่ นญุ าตให้นาโทรศัพท์มือถือ ซมิ การ์ดเข้ามาในโรงเรยี น พร้อมทั้งไมอ่ นุญาตให้ยมื โทรศัพท์ผูป้ กครองทา่ นใดๆ ใช้

เดด็ ขาด

- การนาคอมพวิ เตอร์ / ipad มาจะต้องแจง้ คณุ ครูเพ่ือจดั เก็บให้เป็นระบบ

- ไม่อนุญาตใหน้ ักเรียนถือเงินสดให้เติมใส่ TT Smart Card ทุกครง้ั เพอ่ื ความเป็นระบบระเบยี บ ปอ้ งกนั ความว่นุ วาย

- การพจิ ารณาอยู่หอพักในปีถัดไปจะพิจารณาจากความร่วมมือจากผู้ปกครองและพฤติกรรมของนักเรยี น
ขอความรว่ มมือจากผู้ปกครอง เรอื่ ง

1. เด็กนักเรยี นชายตดั ทรงนักเรียนหรอื รองทรงสูง เดก็ ผูห้ ญิงตัดผมส้ัน
2. การเตรยี มอปุ กรณข์ องใช้ส่วนตวั ชุดอออกกาลงั กาย ขวดนา้ ผา้ เช็ดหน้า ผา้ ซบั เหงอื่ กระดาษชาระ

รองเทา้ แตะ กล่องข้าว กุญแจ น้ายาซักล้างชุดชัน้ ในถุงเทา้ อุปกรณ์อาบน้า
3. เม่อื อยู่ที่บ้านฝกึ ฝนเรื่อง เกบ็ เตยี ง จัดตเู้ สือ้ ผา้ ดแู ลรักษาของใช้ จดั กระเปา๋ ใชห้ อ้ งน้าอยา่ งมีมารยาท

รับประทานอาหารอย่างมมี ารยาท

ปญั หาท่ีพบ

1. เม่ือเด็กกลบั บ้านปล่อยให้เด็กเล่นเกมส์เกินขอบเขต ไมฝ่ ึกใหช้ ว่ ยงานบา้ น
2. นกั เรยี นท่ีกินยา ต้องกนิ ยาต่อเนือ่ ง กรณีกินยา 1 เวลา ใหฝ้ ากคุณครูที่ปรกึ ษา และห้ามเอายาของตนเองให้

เพ่ือนทาน
3. เข้าหอพกั ไมต่ รงเวลา
4.

ผศ.นพ.สรุ ยิ เดว ทรปี าตี เรอ่ื ง วนิ ัยกับครอบครัวไทย

ณ.ห้องประชุมโรงเรยี นธีรธาดา พษิ ณโุ ลก

วนั จนั ทร์ท่ี 13 พฤษภาคม 2562 เวลา 13.30 น.

ความรทู้ ่ีได้รับ

วินัยกับบทบาทครอบครัวไทย

หนา้ ที่ รัก ดูแล เข้มงวด ตดิ ตามกากับมากเกินไป

คมุ้ ครอง รกั ลกู ตามปกป้องลูกทุกที่ตลอดเวลา

โภชนาการ เลี้ยงอ้วน เอาแตใ่ จ บริโภคนิยม

ทอ่ี ย่อู าศัย เลี้ยงแบบอวดรวย ขาดความผูกพนั ทั้งความเป็นอยู่ และรากเหง้า

สุขภาพ เลี้ยงแบบประคบประหงม เจ็บตัวบอ่ ย

สง่ เสริม เลี้ยงแบบเรง่ รดั

สนับสนุน บงั คบั

สรุปโดยภาพรวม

1. นกั เรยี นไทยปัจจุบัน นกั เรียนท่ีเรยี นเก่งจะมี EQ ต่า เหน็ แก่ตัว ไมม่ จี ติ สาธารณะ
2. นักเรยี นที่ตน้ ทุนชวี ิตต่า จะมคี วามเหน็ แกต่ วั น้อยกว่านักเรยี นทีเ่ รียนเกง่

ครอบครวั หลายบ้าน Multiple Homes
ครอบครัวย้าคิดยา้ ทา Munchausen syndrome by Pror

นมสั การพระเจ้ากอ่ นเปดิ เทอม ปีการศกึ ษา 2562

วันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม 2562 เวลา 10.00 - 12.00 น.

ณ. คริสตจกั ร ครสิ ตคณุ านุกลู

การนมสั การพระเจ้าโดยการเริ่มจากการหนุนนาพระเจ้า โดย เสมอใจ ศรมี าลา

ณ. คริสตจักร คริสตคุณานุกูล เพื่อการพิจารณาพระเจ้า เป็นความเช่ือ ความศรัทธา พระคริสต์ที่ถูกเจิม
แต่งตง้ั มาทาหนา้ ทแ่ี ทนพระเจ้า พระบิดา

พระเจา้ ผู้เป็นอวตาลมาเกิดเปน็ มนษุ ย์ เพอ่ื ชว่ ยมนษุ ย์ พระเจา้ ผู้ทรงผ้ทู รงอยู่ โดยไม่ตาย

วัตถปุ ระสงค์ โดย อ.วลั า สนั ติภาดา

1. ทุกส่ิงท่ีเกิดข้นึ โดยการนาทางของพระเจ้า
เป็นโดยปรชั ญา 4 ข้อของโรงเรยี น ทุกอย่างเปน็
Miracle ไมว่ า่ จะเปน็ โรงเรยี นธีรธาดา พิษณุโลก
หรือ CCT ทุกอยา่ งเปน็ Miracle ทมี่ พี ระเจา้
ทรงนาทาง

2. เปน็ ะรรมเนียมปฏบิ ตั ิ

การนมสั การกอ่ นเปดิ เทอมปกี ารศกึ ษาใหม่ เพอื่ ใหม้ ีแรง พลงั และกาลงั ทจี่ ะนาความรไู้ ปถ่ายทอด

ใหก้ ับนกั เรียน เพือ่ เปน็ Real Teacher อย่างแท้จริง เพ่ือให้สรา้ งความคุ้นเคยกบั คณุ ครูใหม่ๆเกี่ยวกบั ศาสนา
ครสิ ต์ เพอ่ื เป็นไปในทิศทางเดียวกนั

คาเทศนาจาก อ.เสมอใจ ศรมี าลา

หัวขอ้ ของการเทศนาไดแ้ ก่ “จงฝกึ เดก็ ในทางที่เขาจะเดนิ ไป”

เดก็ จะไปทางไหนอยทู่ กี่ ารฝึกของพ่อแม่ ครู อาจารย์

จงฝกึ เดก็ หมายถงึ

1. สอนใหร้ ู้
2. สอนใหท้ า

- ตอ้ งใหเ้ วลาเด็กเพื่อที่จะทาจะฝึก
- ต้องรู้จักรอใหเ้ ค้าได้มเี วลาในการคดิ และทา

- อย่าทาแทน เพราะไม่สามารถรอได้
3. ทดสอบการเรยี นรู้

- เอาไปใชไ้ ด้จริงไหม
- ไดค้ วามรู้มาก นอ้ ยแคไ่ หน

ทาอย่างน้ี เดก็ ๆจะไมม่ ที างพรากจากทา่ น

ทางนน้ั หมายถงึ

1. วิถชี ีวติ ทคี่ วรเป็น ต้องปลูกฝังลกู เอง โดยไมร่ อให้คนอื่นมาปลูกฝังแทน
2. เดินไปทางไหนอยา่ งมคี ุณภาพ

3 สง่ิ ทเี่ ก่ยี วกบั วถิ ชี ีวติ

1. ความยตุ ิธรรม
2. รักสัจจะกรุณา
3. ถ่อมใจ

ความคิดเกย่ี วกับของกลางที่ไมม่ ใี ครเปน็ เจ้าของ ความจรงิ แลว้ เป็นของทุกๆคนทีเ่ ราตอ้ งขออนญุ าต

ก่อนท่ีเราจะหยิบหรอื จบั ของทเี่ ปน็ ส่วนกลาง ไม่ใชห่ ยบิ จบั ตอ้ งได้เลย เหมอื นไมม่ เี จา้ ของ มคี วามจรงิ ใจ
ซอ่ื ตรง บรสิ ทุ ธจ์ิ ติ เชอ่ื ในพระเจา้ ทาตามกติกา กฎเกณฑ์ท่กี าหนด

การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ เทคโนโลยเี พอ่ื การจัดทาเอกสารช้นั เรียน
25 พฤาภาคม 2562 เวลา 10.30 – 11.30 น.

โดย คณุ ครูรุ่งนภา พฤกษาศิลป์

ณ. ห้องแนะแนว โรงเรยี นธีรธาดา พษิ ณุโล

การเรียนรู้ไม่มขี อบเขตจากดั ไม่จากัดอายุ

เราสามารถเรียนรู้ไดต้ ลอดชีวิต การอบรมวนั นี้เป็นการอบรม

เพ่อื ความเข้าใจให้ถกู ตอ้ งกับการจัดทาเอกสารชั้นเรียน
ซึง่ เป็นสงิ่ จาเป็นของอาชีพครู

ทจี่ ะสามารถลดเวลาในการทางานลงได้ และสามารถทางานไดร้ วดเร็ว ถกู ตอ้ ง ไดร้ ปู แบบสวยงาม

การอบรมในวันนีเ้ ปน็ การอบรม Microsoft Word ที่ใช้สาหรบั การทางาน เพื่อใหร้ ปู แบบ
ถกู ต้องตามระเบยี บ โดยมคี วามสาคัญ และนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ ดังต่อไปน้ี

1. พมิ พจ์ ดหมายราชการ หรือจดหมายทอี่ อกจากโรงเรียน
2. พิมพ์งานที่เก่ียวกบั เอกสารโรงเรยี น เช่น โครงการต่างๆ บนั ทึกสรุปอบรมต่างๆ
3. บันทกึ พฤตกิ รรมตา่ งๆเกย่ี วกบั นักเรยี น

การอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร ระเบยี บแถว

25 พฤษภาคม 2562 เวลา 08.30 – 09.30 น.

โดย คุณครฝู ่าย Edutainment

ณ. สนามบาส โรงเรยี นธีรธาดา พษิ ณโุ ลก

คณุ ครูเปน็ แบบอย่างท่ีดสี าหรับเด็ก หากคณุ ครูรู้วิธีทีถ่ ูกต้อง

กจ็ ะสามารถนาไปฝกึ สอนนักเรียนได้อย่างถกู ต้องมัน่ ใจ

การอบรมเร่ืองระเบียบแถววันน้ี จึงมคี วามจาเป็นมากสาหรบั คณุ ครู

เพื่อจุดประสงค์ ดังต่อไปนี้

1. นาไปฝึกสอนนกั เรียนให้เปน็ ระบบระเบยี บ แนวทางเดยี วกัน
2. คณุ ครมู ีความม่นั ใจในการทาเป็นแบบอยา่ งใหน้ ักเรียน
3. นกั เรียนมีแบบอย่างทีถ่ กู ตอ้ ง

เนอ้ื หาสาระท่ีฝกึ อบรมในวนั นี้

1. การเข้าแถวตอนลกึ
2. ระเบียบตรง การย่าเท้า Fall in และ Attention
3. ซา้ ยหนั ขวาหนั และกลับหลังหัน

การรว่ มเปน็ วิทยากร เพ่อื เป็นแนวทางในการเรียนภาษาอังกฤษ (Group B)
26 พฤษภาคม 2562 เวลา 09.30 – 10.30 น.
โดย คุณครฝู ่าย Edutainment

ณ. ห้องเรยี น ห้อง โรงเรียนธรี ธาดา พิษณุโลก
การเปน็ วิทยากรเพ่ือฝึกฝนคณุ ครทู างด้านภาษาอังกฤษ
ในกลุม่ กลางนน้ั ทาใหส้ ามารถนาความร้ทู ีม่ นี ้นั มาทบทวนได้
และเพื่อชว่ ยใหค้ ุณครูได้มีความรู้ และปรับไปใชก้ ับนักเรียนได้
จดุ ประสงค์ของการเป็นวิทยากร
1. เพอ่ื พัฒนาคุณครดู า้ นภาษาอังกฤษ
2. เพอ่ื คณุ ครูจะสามารถนาไปใชก้ ับนกั เรียนได้
3. เพือ่ ใหค้ ุณครูเกดิ ความมัน่ ใจในการใช้ภาษาองั กฤษ

กจิ กรรมคา่ ย Teeratada Teen English Camp
วันที่ 11 - 12 กรกฎาคม 2562

สงิ่ ท่ไี ดร้ บั :
- จดั กจิ กรรมกบั คุณครชู าวตา่ งชาติ

- ฝกึ ฝนภาษาเพ่ือมาพฒั นางานของตน
- สานสัมพันธ์นกั เรียนกับครู

ภาพกจิ กรรมของคุณครตู ่างชาตแิ ละนักเรียน

ทากจิ กรรมในค่าย นกั เรียนเรยี นร้กู ารแลกเปลยี่ นภาษา

อบรมเชิงปฏิบตั กิ ารวธิ ีวิทยาการสอนสกู่ ารจัดการเรยี นร้เู ชิงรกุ

เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการคิดข้นั สงู ทางการศึกษาภายใตห้ ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

วนั ท่ี 30 กันยายน – 2 ตุลาคม 2562

โดย อาจารย์ มารุต ทรรศนากรกลุ

1. จดุ ประสงคก์ ารอบรม
- เพื่อพฒั นาบุคลากรในการจัดการเรียนการสอน
ไปในทิศทางทถ่ี กู ตอ้ ง และเกดิ ผลสัมฤทธิ์สูงสดุ กับนกั เรียน

2. เนื้อหาการอบรม

2.1 นยิ ามแหง่ การเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) กับมโนทัศนท์ ค่ี ลาดเคลอื่ น
ในการจดั การเรยี นรู้ในหอ้ งเรยี น

2.2 การทาความเข้าใจในหลกั สูตรองิ มาตรฐาน (Stardard-based Curriculum)
เพื่อการพฒั นาสมรรถนะการจดั การเรียนรูข้ องครู (Teacher Competencies) และ
สาธติ การสอนโดยวิทยากร

2.3 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรก์ ับมโนทัศนก์ ารสอน (Teaching
Concept) เพอื่ การสรา้ งสมรรถนะศตวรรษท่ี 21

2.4 วธิ วี ิทยาการสอนทางวทิ ยาศาสตรเ์ พื่อพฒั นาทักษะการคดิ ผ่านการจดั การ
เรียนรูเ้ ชงิ รุก

- กจิ กรรม เรยี นหนาแนน่ รู้แน่นหนา

- หาสมบัติของสาร (Constructivism)

- ใชป้ ริมาตร หรือ มวล (Cognitivism)

2.4 การใช้ Problem – Based Learning เพอ่ื พฒั นาทักษะการคิดสร้างสรรค์และ
การตอ่ ยอดนวตั กรรม

- กจิ กรรม คุณครูห่อไข่
2.5 การนาเสนอผลงานและแสดงหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ทกั ษะการคิดข้ันสงู
(Higher Order Thinking)
2.6 มโนทศั นท์ างการสอน (Teaching Concept ) วชิ าวิทยาศาสตร์

2.7 Definition of Active Learning & what is CEFR
2.8 Total Physical Response (TPR) Approach
2.9 Communicative Language Teaching (CLT) Approach
2.10 Blened Learning (English Mathematics Science)
2.11Lesson Plan “2W3P”

3.วธิ กี ารฝึกอบรม
บรรยาย เกม และลงมอื ปฏิบตั ิ

4.ประโยชน์ท่ีไดร้ ับ
4.1 สามารถนาไปปฏิบัติใชไ้ ด้ถูกต้อง
4.2 มคี วามรู้ในเรอ่ื งทค่ี วรรไู้ ด้ถูกตอ้ งตามแนวทฤษฏปี ฏบิ ตั นิ ้ันๆ

5.แนวทางในการนาความรู้ ทกั ษะทไ่ี ด้รับจากการอบรมไปปรบั ใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ ดังนี้
3. นาความร้ทู ไ่ี ดม้ าไปปรับใช้ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นวชิ าทต่ี นเองสอน โดยสามารถนาไปปฏิบตั ิจรงิ
ไดก้ ับตวั ผูเ้ รยี น

ศกึ ษาดูงานท่ีโรงเรียน Seinan Gakuin Elementary, Marinoa Ataga Kindergarten,
Hakata Kindergarten, Iizuka Fukuoka,

สง่ิ ที่ได้เรียนรศู้ กึ ษา และการนามาปรับใช้ในการเรยี นการสอน
สถานที่ : Fukuoka, Japan
ระยะเวลา : 5 – 10 ตุลาคม 2562

ผ้บู นั ทกึ : ครูเพชรัตน์ หมวกเครอื ครูผ้สู อน ระดับประถมปลาย

1. ความเป็นระเบียบของการวางรองเทา้ บริเวณทว่ี างรองเท้า จะนามาปรบั ใช้ คือ
1.1 ควรจะมเี ส้นแบง่ เขตใหช้ ัดเจนวา่ นกั เรยี นตอ้ งวางอยา่ งไร เผ่ือนกั เรียนทีส่ ับสน
1.2 มสี ัญลกั ษณใ์ หต้ รงกับรองเท้านักเรียน เพิ่มระเบียบ
1.3 การถอดและใสร่ องเทา้ มีสัญลกั ษณ์รูปเท้า
ถอดตรงไหน ใส่ตรงไหน ครัง้ ละกคี่ ู่ เร่ิมต้งั แต่
การเข้าแถวรอเพอ่ื ความเปน็ ระเบยี บ

1.3.1.1.1.1.1 2. ความสะอาดของบรเิ วณตา่ งๆในโรงเรยี น
1.3.1.1.1.1.2

2.1 ให้มหี วั หนา้ นักเรียนตรวจสอบความสะอาดของ
หอ้ งเรียน และมสี ติ๊กเกอรก์ ล่องวางเพ่ือประเมินความ
สะอาด เปน็ กลุ่มบ้าน ตามหนา้ ท่ที ไ่ี ดร้ บั ผดิ ชอบ

3. การเช็คชื่อนักเรียน
3.1 มบี อรด์ เช็คชื่อเป็นช่องตามชือ่ ของนกั เรียน
เป็นกล่มุ บา้ น นกั เรยี นมาโรงเรยี นตอนไหน
ให้มาหยิบสัญลกั ษณน์ ้ันไป ตามชอื่ ของตนเอง
และกอ่ นนักเรยี นไปเข้าแถวให้มีหัวหน้ามาเช็ค
และรายงานครูในแต่ละวัน

4. การจดั ห้องเรียน หอ้ งสอื่ ต่างๆ

4.1 มีตารางเรียนใหด้ งู ่ายชดั เจนว่าเรยี นอะไรบา้ งในแต่ละบ้านในห้องเรียน
4.2 มบี อร์ดแจ้งข่าวสาร (ปรับใหด้ ขี น้ึ จากของเดมิ ใหน้ า่ อ่าน ดงึ ดดู ความสนใจจากเดก็ ๆ)
4.3 ชน้ั วางของมสี ญั ลกั ษณช์ ดั เจน วางเปน็ ระเบียบ แนวเดยี วกนั

4.4 จดั มุมบอร์ดวนั เกิดของนกั เรียนประจาสัปดาห์
4.5 มมี ุมจดั วางอุปกรณ์การเรียนใหด้ ูนา่ ใช้ จบั ต้องได้ มบี อร์ดเชค็ อุปกรณ์ หายรู้ ดูงามตา แขกไปใครมาไดช้ น่ื
ชม ตามความเหมาะสมกับวัยของนกั เรียน
4.6 มมี มุ จดั วางผลงานของนกั เรียน เมือ่ เรยี นจบเรื่อง โชว์ไดท้ ุกคน
4.7 นกั เรยี นประดิษฐผ์ ลงานท่ีสนใจ เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นคิดเอง

5. การรับประทานอาหารและความเปน็ ระเบียบขณะรับประทานอาหาร จะนามาปรับใช้ ดงั นี้
5.1 การนั่งรับประทานอาหารตอ้ งมีหวั หนา้ กล่มุ คอยดูอยา่ งเขม้ แขง็ และมคี ณุ ครูคอยดแู ล
5.2 มีกตกิ ามารยาทรับประทานอาหารตดิ บนโตะ๊
5.3 มหี ัวหน้าในระดับคอยยนื ดูขณะทนี่ กั เรยี นเกบ็ จาน
5.4 มีนักเรียนเป็น MC คอยประกาศ เสยี งดงั ฟังชดั
ขน้ั ตอนการเกบ็ สารอาหารทีไ่ ดร้ บั วนั น้ี
5.5 โตะ๊ ใครเสรจ็ เรยี บรอ้ ยให้ยกมอื บอกคุณครู
คุณครูจะเดินไปดู และไปทากิจธรุ ะของตนเองได้

5.6 นกั เรียนทแ่ี พ้อาหารต้องมีบอร์ดเขยี นอย่างชดั เจน
5.7 ทาบอร์ดสารอาหารประจาวัน
5.7 การยนื รอสง่ั อาหาร ควรท่จี ะมีรปู ภาพเท้า เหมือนกับที่ไปเห็นการรอรถไฟ

อบรมมลู นธิ ิศกั ดพ์ิ รทรพั ย์ พัฒนาการศึกษาไทย
เพือ่ ตอบแทนคณุ แผน่ ดินเกิดและผูม้ ีพระคณุ
วนั ท่ี 30 พฤศจกิ ายน 2562
หัวขอ้ อบรม
CO- 5 STEPS พัฒนาเดก็ เป็นผเู้ รียน
และนวัตกิ รไดอ้ ยา่ งไร
วิทยากร : รศ.ดร.พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์

รศ.พเยาว์ ยินดีสขุ
ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั : - กระบวนการเรยี นรู้แบบร่วมพลงั 5 ข้นั ตอน

- การออกแบบการเรียนการสอน
- แผนการจดั การเรยี นรู้


Click to View FlipBook Version