The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวัง ฯ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวัง ฯ

คู่มือการปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวัง ฯ

Keywords: education

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศกึ ษา สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

คู่มือการปฏิบัตติ ามมาตรการเฝา้ ระวัง
ปอ้ งกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) โรงเรียนพนาศกึ ษา

ปีการศึกษา 2564

โรงเรียนพนาศึกษา อาเภอพนา จังหวัดอานาจเจริญ

สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาอุบลราชธานี อานาจเจรญิ
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

คู่มือการปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศึกษา

ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

สว่ นท่ี 1

ความรเู้ บ้ืองต้นท่ีควรรู้

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝา้ ระวัง ป้องกันและควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 หนา้ 1
โรงเรยี นพนาศกึ ษา

ศูนยบ์ ริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

สว่ นที่ 1
ความรู้เบ้ืองต้นท่ีควรรู้

1. โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) คอื อะไร
ไวรสั โคโรนาสายพันธใ์ุ หม่ 2019 เป็นตระกลู ของไวรัสท่ีก่อใหเ้ กดิ อาการปุวย ตงั้ แต่โรคไข้หวัดธรรมดา

ไปจนถึงโรคทม่ี ีความรนุ แรงมาก เช่น โรคระบบทางเดนิ หายใจในตะวันออกกลาง (MERS-CoV) และโรคระบบ
ทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS-CoV) เป็นต้น ซ่ึงเป็นสายพันธุ์ใหม่ท่ีไม่เคยพบมาก่อนในมนุษย์
ก่อให้เกิดอาการปุวยระบบทางเดินหายใจในคน และสามารถแพร่เชื้อจากคนสู่คนได้ โดยเช้ือไวรัสนี้พบ
การระบาดคร้ังแรกในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเปุย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงปลายปี 2019 หลังจากน้ัน
ได้มกี ารระบาดไปทั่วโลก องค์การอนามัยโลกจึงตั้งช่ือการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่น้ี ว่า โรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19)

2. อาการของผู้ป่วยโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
อาการทั่วไป ไดแ้ ก่ อาการระบบทางเดินหายใจ มีไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจล้าบาก เหน่ือยหอบ

ไม่ได้กล่ิน ไม่รู้รส ในกรณีท่ีอาการรุนแรงมาก อาจท้าให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ปอดอักเสบ
ไตวาย หรืออาจเสยี ชวี ิต

3. โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แพร่กระจายเชอ้ื ไดอ้ ยา่ งไร
โรคชนดิ น้มี ีความเปน็ ไปได้ท่มี สี ัตวเ์ ป็นแหล่งเชอื้ โรค สว่ นใหญแ่ พรก่ ระจายผ่านการสัมผัสกับผู้ติดเชื้อ

ผา่ นทางละอองเสมหะจากการไอ น้ามูก น้าลาย ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานสนับสนุนการแพร่กระจายเช้ือผ่าน
ทางพนื้ ผิวสมั ผสั ทมี่ ไี วรัสแลว้ มาสมั ผัสปาก จมูก และตา

4. โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) รักษาไดอ้ ยา่ งไร
ยงั ไมม่ ยี าสา้ หรบั ปูองกนั หรอื รักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ผู้ที่ติดเช้ืออาจต้องได้รับการรักษา

แบบประคบั ประคองตามอาการ โดยอาการที่มีแตกตา่ งกัน บางคนรุนแรงไม่มาก ลักษณะเหมือนไข้หวัดทั่วไป
บางคนรุนแรงมาก ท้าให้เกิดปอดอักเสบได้ ต้องสังเกตอาการอย่างใกล้ชิดร่วมกับการรักษาด้วยการ
ประคับประคองอาการจนกว่าจะพ้นอาการช่วงน้ัน และยงั ไม่มยี าตัวใดทม่ี หี ลกั ฐานชัดเจนว่ารักษาไดโ้ ดยตรง

คู่มือการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝา้ ระวัง ป้องกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 หน้า 2
โรงเรียนพนาศกึ ษา

ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

5. วัคซีน
การเปดิ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 รัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ

เร่งด้าเนินการสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจให้กับประชาชน 2 เรื่องท่ีส้าคัญและน้าสู่การปฏิบัติ ได้แก่ การรณรงค์
ให้นักเรียนอายุ 12-18 ปี เข้ารับการฉีดวัคซีน Pfizer และให้สถานศึกษาปฏิบัติตามมาตรการ Sandbox :
Safety Zone in School อย่างเคร่งครัด จึงเป็นส่ิงจ้าเป็นส้าหรับนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และ
บุคคลท่ีเก่ียวข้อง จะต้องรับรู้และสามารถเข้ารับการฉีดวัคซีน Pfizer และปฏิบัติตามมาตรการได้อย่าง
เครง่ ครัด ส้านกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

นอกจากวัคซีน Pfizer ที่รัฐบาลน้ามาให้กับนักเรียนอายุ 12-18 ปี เข้ารับการฉีดแล้ว ยังมีวัคซีน
ทางเลอื กอีกหนึ่งยห่ี ้อ ไดแ้ ก่ Sinopharm ทร่ี าชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ด้าเนินการฉีดวัคซีนให้กับเด็กและเยาวชน
อายุ ระหวา่ ง 10-18 ปี ในโครงการ VACC 2 School ดงั นน้ั เพื่อให้ความรู้เบื้องต้น ส้านักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงขอน้าเสนอข้อมูลที่ควรรู้ของวัคซีน Pfizer วัคซีน Sinopharm และมาตรการ
Sandbox : Safety Zone in School พอสงั เขป ดงั นี้

5.1 วัคซีน Pfizer
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ช่วงปีที่ผ่านมาและปัจจุบันมี

การกล่าวถึงเกยี่ วกบั การฉดี วัคซีน (COVID-19 Vaccines) กันมากมาย โดยเฉพาะการเร่งสร้าง “ภูมิคุ้มกนั หมู่”
ซงึ่ จ้าเป็นตอ้ งอาศัยวคั ซนี ทีม่ ปี ระสิทธิภาพเข้าช่วย มีวัคซีนที่ผ่านการรองรับจากองค์การอนามัยโลก (WHO)
และทุกประเทศได้เลือกและน้ามาให้ประชาชนรับการฉีดวัคซีน (COVID-19 Vaccines) มีหน้าท่ีส้าคัญ คือ
การเพ่ิมประสิทธิภาพในการเข้าไปเพ่ิมจ้านวน และเสริมความแข็งแรงของภูมิคุ้มกันให้พร้อมเข้าท้าลาย
ส่ิงแปลกปลอม หรือไวรัสชนิดต่าง ๆ ที่แฝงเข้ามาในร่างกายได้ในทันที ซ่ึงถือเป็นอาวุธช้ินส้าคัญที่ช่วย
ยับยั้งความรุนแรง หมายรวมถึงช่วยลดอัตราการติดเชื้อและการเสียชีวิตของประชาชน ปัจจุบันวัคซีน
ท่ีผ่านการรองรับจากองค์การอนามัยโลก (WHO) มีหลายย่ีห้อมีประสิทธิภาพในการท้าหน้าท่ีแตกต่างกัน
(โรงพยาบาลวชิ ัยเวชอินเตอร์เนชั่นแนล. 1 ตลุ าคม 2564) ไดแ้ ก่

1. Pfizer ผลติ โดยประเทศสหรฐั อเมรกิ า มีประสิทธภิ าพ รอ้ ยละ 95
2. Moderna ผลิตโดยประเทศสหรัฐอเมริกา มปี ระสทิ ธภิ าพ รอ้ ยละ 94.5
3. Johnson and Johnson ผลิตโดยประเทศสหรัฐอเมรกิ า มีประสิทธิภาพ ร้อยละ 66
4. AstraZeneca ผลิตโดยประเทศอังกฤษ มีประสทิ ธิภาพ รอ้ ยละ 65
5. Covishield ผลิตโดยประเทศอนิ เดยี มีประสทิ ธภิ าพ ร้อยละ 72
6. Sinovac ผลิตโดยประเทศจีน มีประสทิ ธิภาพ >ร้อยละ 50
7. Sinopharm ผลติ โดยประเทศจีน มปี ระสิทธภิ าพ รอ้ ยละ 79-86

ส้าหรับวัคซีนท่ีรัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุขอนุมัติให้ฉีดกับนักเรียนอายุระหว่าง 12-18 ปี น้ัน
ไดแ้ ก่ Pfizer ซง่ึ องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้รบั รองการใช้วัคซีน Pfizer เม่ือวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563
และประเทศไทยโดยองค์การอาหารและยา (อย.) ขึ้นทะเบียนเม่ือวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2564 ก้าหนดให้
สามารถฉีดวัคซีน Pfizer ให้กับนักเรียน นักศึกษา อายุระหว่าง 12-18 ปี ดังนั้นรัฐบาลโดยกระทรวง
สาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการก้าหนด Kick Off การฉีดวัคซีน Pfizer ให้กับนักเรียนนักศึกษา อายุ
ระหว่าง 12-18 ปี ในวันท่ี 4 ตุลาคม 2564 เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับสถานศึกษามีความปลอดภัย และ

คู่มือการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 หนา้ 3
โรงเรียนพนาศึกษา

ศูนยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศกึ ษา สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

นักเรียนได้รับวัคซีนอย่างครบถ้วน เพ่ือรองรับการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ในรูปแบบ Onsite
วันท่ี 1 พฤศจิกายน 2564 ซึ่งสอดคล้องกับราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย (22 กันยายน 2564)
ได้ติดตามข้อมูลด้านประสิทธิภาพ และความปลอดภัยของวัคซีนโควิด 19 ในเด็กและวัยรุ่น โดยค้านึงถึง
ความปลอดภยั และประโยชนท์ างดา้ นสุขภาพของเดก็ เป็นสา้ คญั และไดแ้ นะน้าให้ฉีดวัคซีนที่ได้รับการรับรอง
โดยสา้ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ให้ใช้กบั เด็กและวยั รนุ่ ตัง้ แตอ่ ายุ 12 ปีข้ึนไป ซึ่งขณะน้ีมีชนิด
เดียวทมี่ ีในประเทศไทย คอื วัคซีน Pfizer

วัคซีน Pfizer เป็นวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ (mRNA Vaccine) กระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันได้ดี
(Antigen) ให้ร่างกายรู้จักกับเชื้อโรคโควิด 19 หลังจากฉีดวัคซีนไฟเซอร์เข็มที่ 2 แล้ว จะมีประสิทธิภาพใน
การปอู งกนั โรคโควิด 19 สูงถึง ร้อยละ 91.3 ในช่วง 7 วันถึง 6 เดือนหลังฉีดปูองกันความรุนแรงของโรคได้
รอ้ ยละ 100 ปูองกันการติดเชื้อมีอาการที่ ร้อยละ 94 ปูองกันการติดโรค ร้อยละ 96.5 ปูองกันการเสียชีวิต
รอ้ ยละ 98-100 นอกจากน้ี ยงั มีประสทิ ธภิ าพในการปอู งกันโควดิ 19 สายพันธุ์องั กฤษหรอื อลั ฟาุ ไดถ้ ึง รอ้ ยละ
89.5 ปูองกันโควิด 19 สายพันธุ์แอฟริกาใต้หรือเบต้าได้ถึง ร้อยละ 75 งานวิจัยของหน่วยงานสาธารณสุข
อังกฤษพบว่า วคั ซีน Pfizer มปี ระสทิ ธิภาพ ร้อยละ 88 ในการปูองกันการปุวยแบบมีอาการจากไวรัสเดลต้า
หรืออนิ เดยี การรับวัคซนี Pfizer รบั การฉดี ท้ังหมด 2 เขม็ โดยเข็มท่ี 2 ห่างจากเข็มแรก 21-28 วัน ใช้วิธีการ
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อแขนด้านบน ภูมิคุ้มกันจะเริ่มเกิดหลังจากฉีดวัคซีนไฟเซอร์ไปแล้ว 12 วัน แต่ภูมิคุ้มกันจะ
ท้างานเต็มทีห่ ลังจากฉีดครบ 2 เขม็ หลังการฉีดวัคซีนเข็ม 1 หรือเข็ม 2 ผู้รับการฉีดอาจมีผลข้างเคียงบ้างแต่
ไม่รนุ แรง (โรงพยาบาลวิชัยเวชอินเตอรเ์ นชน่ั แนล.6 ตลุ าคม 2564)

5.2 วคั ซีน Sinopharm
วคั ซีน Sinopharm เปน็ วคั ซีนชนิดเช้ือตาย ผลิตโดยสถาบันชีววัตถุแห่งปักกิ่ง (Beijing Institute of

Biological Products: BIBP) นา้ เข้าโดยบรษิ ัท ไบโอจนี เี ทค จา้ กัด ได้รับการอนมุ ตั ิขึน้ ทะเบียนในประเทศไทย
เม่ือวันท่ี 28 พฤษภาคม 2564 มีข้อบ่งใช้ส้าหรับฉีดเพ่ือกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันในผู้ที่มีอายุ
ต้ังแต่ 18 ปีข้ึนไป ฉีดคร้ังละ 1 โดส จ้านวน 2 ครั้ง ห่างกัน 21-28 วัน ในประเทศไทย วัคซีน Sinopharm
เป็นวัคซีนทางเลือกที่กระจายให้กับองค์กร นิติบุคคล รวมถึงบุคคลธรรมดาผ่านราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์
ตัง้ แต่วนั ที่ 20 มิถนุ ายน จนถึงปัจจุบนั เป็นจา้ นวนทั้งสนิ้ 15 ล้านโดส โดยที่ผ่านมาเป็นการฉีดให้กับผู้ท่ีมีอายุ
ตง้ั แต่ 18 ปีขน้ึ ไป

วัคซีน Sinopharm อยู่ในระหว่างการพิจารณาข้อมูลเร่ืองการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ประสิทธิภาพและ
ความปลอดภัยในเด็ก และขณะนสี้ ้านกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ยังไม่ได้รับรองให้ใช้ในเด็กและ
วยั รนุ่ (ราชวทิ ยาลยั กุมารแพทย์แห่งประเทศไทย.22 กันยายน 2564) ซึ่งสอดคล้องกับราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์
(ชนาธิป ไชยเหลก็ .21 กันยายน 2564) กล่าวว่าการฉีดวัคซีน Sinopharm ในกลุ่มอายุต่้ากว่า 18 ปี จะต้อง
ได้รับการอนมุ ัตขิ ึ้นทะเบียนจากสา้ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ก่อน ถึงแม้จะเป็นชนิดเชื้อตาย
แต่กจ็ ้าเป็นต้องมีขอ้ มูลการวิจัยในระยะท่ี 3 ซ่งึ เป็นระยะที่มีการศึกษาทั้งความปลอดภัยและประสิทธิผลของ
วัคซนี รองรับ และในเมื่อ อย. ยังไม่อนุมัติการฉีดวัคซีน Sinopharm ให้กับนักเรียนอายุ 11-18 ปี เป็นเพียง
โครงการวิจัยของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์เท่าน้ัน โดยวันท่ี 20 กันยายน 2564 ศาสตราจารย์ นายแพทย์นิธิ
มหานนท์ เลขาธิการราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ฯ ได้เปิดโครงการ ‘VACC 2 School’ ณ ศูนย์ฉีดวัคซีนตัวเลือก
ซโิ นฟารม์ บมจ.โทรคมนาคมแห่งชาติ ถ.แจ้งวัฒนะ เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ ฉีดวัคซีนให้กับนักเรียนกว่า 2,000

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกันและควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 4
โรงเรยี นพนาศึกษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศึกษา สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

คน และจะด้าเนินการฉดี จนถงึ กลางเดอื นตลุ าคม โดยมีสถานศึกษาในกรุงเทพฯ และปริมณฑล สมัครเข้าร่วม
โครงการรวม 132 โรง คดิ เปน็ จา้ นวนนกั เรียนทัง้ หมด 108,000 คน

6. โรงเรยี น Sandbox : Safety Zone in School
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขโดยกรมอนามัย (นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่ง

เจรญิ ชยั อธบิ ดกี รมอนามยั ) มีการนา้ ร่องเปดิ การเรยี นการสอนแบบ Onsite ตามมาตรการ Sandbox Safety
Zone in School ในโรงเรยี นประเภทพกั นอน มีการด้าเนินการระหว่างวันที่ 1 เมษายน-11 กันยายน 2564
ซ่ึงมีการแบ่งโซนคัดกรอง โซนกักกันผู้สัมผัสเสี่ยง และโซนปลอดภัยสีเขียว ร่วมกับมาตรการต่าง ๆ
มกี ารติดตามและประเมินผลพบว่า ได้ผลดีแม้พบผู้ติดเชื้อก็เป็นการสัมผัสกับผู้ติดเช้ือภายนอกและตรวจจับ
ได้นับไดว้ า่ เปน็ ระยะท่ี 1 ที่ประสบผลส้าเร็จ จึงเตรียมขยายผลในโรงเรียนแบบไป-กลับ และโรงเรียนพักนอน-
ไปกลับ ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 เป็นระยะท่ี 2 โดยมาตรการจะเข้มข้นกว่าระยะที่ 1 เน้น 6
มาตรการหลกั 6 มาตรการเสรมิ และ 7 มาตรการเข้มสถานศกึ ษา (ไทยรฐั ออนไลน.์ 15 กันยายน 2564) ดังน้ัน
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 สถานศึกษาของรัฐและสถานศึกษาของเอกชนทุกแห่งท้ังแบบพักนอน
แบบไป-กลบั แบบพักนอน-ไปกลบั และลกั ษณะอน่ื ๆ จะเปดิ ใหม้ กี ารเรียนการสอนตามปกติแบบ Onsite ได้
จะต้องด้าเนินการมาตรการที่เข้มข้น โดยเน้น 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสริม และ 7 มาตรการเข้ม
สถานศึกษาอยา่ งเครง่ ครดั

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบอย่าง
มากตอ่ ทกุ ภาคสว่ น กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกันจัดหาแนวทางเตรียมความพร้อม
การเปดิ ภาคเรยี น ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรยี นพนาศึกษา ได้ตระหนกั ถึงสุขภาพอนามยั และความปลอดภัยของ
นกั เรยี น ครู และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องในโรงเรียน จึงได้ก้าหนดรูปแบบ แนวทาง และมาตรการปูองกัน และ
เตรียมความพร้อมของสถานศึกษา เพื่อให้พร้อมส้าหรับการเปิดภาคเรียนและเป็นคู่มือในการปฏิบัติส้าหรับ
สถานศึกษาในการปูองกนั การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยเน้นความสอดคล้องกับบริบท
ของสถานศกึ ษา และเออ้ื อา้ นวยใหเ้ กิดการปฏิบัติงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ เพื่อให้นกั เรยี น ครู และบุคลากร
ท่ีเก่ียวข้องในสถานศึกษา สามารถด้ารงชีวิตอยู่ได้อย่างปลอดภัย โดยนักเรียน ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
โรงเรยี นพนาศึกษา ได้รบั วัคซีนเพอ่ื เปน็ การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นการเปดิ ภาคเรยี น

คู่มือการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝ้าระวงั ปอ้ งกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หนา้ 5
โรงเรียนพนาศกึ ษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศึกษา สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

สว่ นที่ 2

แนวปฏบิ ัตกิ ารเตรียมการ
ก่อนเปดิ ภาคเรียน

คู่มือการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝ้าระวัง ปอ้ งกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 หน้า 6
โรงเรยี นพนาศกึ ษา

ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศึกษา สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

สว่ นท่ี 2
แนวปฏิบัติการเตรียมการกอ่ นเปิดภาคเรยี น

การเตรยี มความพร้อมก่อนการเปิดเรียนหลังจากปิดจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 มีความส้าคัญอย่างมากเน่ืองจากมีความเก่ียวข้องกับการปฏิบัติตนของนักเรียน ครู
บคุ ลากร และผู้เก่ยี วขอ้ งทุกคนในสถานศกึ ษา เพอ่ื ปูองกันไม่ใหม้ ีการตดิ เชื้อโรคโควิด 19 (Covid-19) ตดั ความ
เส่ียง สร้างภูมิคุ้มกัน และสร้างความปลอดภัยแก่ทุกคน ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้ นพ้ืนฐาน
ก้าหนดให้มีแนวปฏบิ ัติการเตรยี มการก่อนเปิดภาคเรียนใหก้ ับส้านักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา และสถานศึกษาใน
สังกัดใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ สถานศึกษาจึงควรมีการประเมินความพร้อมการเปิดภาคเรียนของ
สถานศึกษา ดังน้ี

1. การประเมนิ ความพร้อมก่อนเปดิ เรียน
กระทรวงสาธารณสขุ โดยกรมอนามัย ได้สร้างเคร่ืองมือส้าหรับสถานศึกษาประเมินตนเองในระบบ

Thai Stop Covid Plus ตัวย่อ TSC+ เพื่อให้สถานศึกษาเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2564 ลิงก์ระบบ https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school แบบประเมินตนเอง
ดงั กลา่ ว ประกอบดว้ ย 6 มิติ 44 ข้อ สถานศึกษาจะต้องผ่านการประเมินท้ัง 44 ข้อ ตามข้ันตอนการประเมิน
ตนเอง ดงั ภาพ

คู่มอื การปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝา้ ระวัง ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 หนา้ 7
โรงเรยี นพนาศกึ ษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศึกษา สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

2. กรอบการประเมิน Thai Stop Covid Plus

มิติที่ 1 ความปลอดภยั จากการลดการแพร่เชอ้ื โรค
1. มมี าตรการคัดกรองวดั ไข้ ใหก้ บั นักเรียน ครู และผู้เขา้ มาตดิ ต่อทุกคน ก่อนเขา้ สถานศึกษา หรือไม่
2. มมี าตรการสังเกตอาการเสี่ยงโควิด 19 เช่น ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ เหนื่อยหอบ หายใจล้าบาก จมูก

ไม่ไดก้ ล่ิน ล้นิ ไม่รู้รส พรอ้ มบันทึกผล ส้าหรบั นกั เรยี น ครู และผ้เู ข้ามาตดิ ต่อทุกคน ก่อนเข้าสถานศกึ ษา หรือไม่
3. มีนโยบายก้าหนดให้นักเรียน ครู และผู้เข้ามาในสถานศึกษาทุกคน ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือ

หนา้ กากอนามยั หรือไม่
4. มีการจัดเตรียมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ส้ารองไว้ให้กับนักเรียน ร้องขอ หรือผู้ที่ไม่มี

หนา้ กากเขา้ มาในสถานศึกษา หรือไม่
5. มจี ดุ ล้างมือดว้ ยสบู่ อยา่ งเพียงพอ หรือไม่
6. มกี ารจดั วางเจลแอลกอฮอล์ส้าหรับใช้ท้าความสะอาดมือ บริเวณทางเข้าอาคารเรียน หน้าประตู

ห้องเรยี น ทางเข้าโรงอาหาร อยา่ งเพียงพอ หรือไม่
7. มกี ารจดั โต๊ะเรียน เก้าอ้ีนั่งเรยี น ทนี่ ัง่ ในโรงอาหาร ที่น่ังพัก โดยจัดเว้นระยะห่างระหว่างกัน อย่าง

น้อย 1-2 เมตร (ยึดหลกั Social Distancing) หรือไม่
8. มกี ารท้าสัญลกั ษณ์แสดงจุดต้าแหนง่ ชัดเจนในการจัดเว้นระยะห่างระหวา่ งกนั หรอื ไม่
9. กรณีห้องเรียนไม่สามารถจัดเว้นระยะห่างตามที่ก้าหนดได้ มีการสลับวันเรียนของแต่ละช้ันเรียน

หรอื การแบ่งจ้านวนนกั เรียน หรอื ไม่
10. มกี ารท้าความสะอาดห้องเรยี น ห้องตา่ ง ๆ และอปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการเรยี นการสอน กอ่ นและหลังใช้

งานทกุ ครงั้ เชน่ หอ้ งคอมพิวเตอรห์ ้องดนตรี อุปกรณ์กฬี า หรอื ไม่
11. มกี ารทา้ ความสะอาดบรเิ วณจดุ สมั ผสั เสย่ี งร่วม ทกุ วนั เช่น โต๊ะ เก้าอ้ี ราวบนั ได ลฟิ ต์ กลอนประตู

มือจบั ประตู - หน้าตา่ ง หรอื ไม่
12. มีถงั ขยะแบบมฝี าปิดในห้องเรียน หรือไม่
13. มกี ารปรับปรงุ ซอ่ มแซมประตู หนา้ ตา่ ง และพดั ลมของห้องเรียน ให้มสี ภาพการใชง้ านได้ดี ส้าหรบั

ใชป้ ิด-เปิดให้อากาศถา่ ยเทสะดวก หรอื ไม่
14. มีการแบ่งกลมุ่ ยอ่ ยนักเรียนในห้องเรียนในการทา้ กจิ กรรม หรอื ไม่
15. มกี ารปรบั ลดเวลาในการทา้ กิจกรรมประชาสมั พนั ธ์ ภายหลงั การเข้าแถวเคารพธงชาติ หรอื ไม่
16. มกี ารจัดเหล่ือมเวลาท้ากจิ กรรมนกั เรียน เหลื่อมเวลากนิ อาหารกลางวัน หรือไม่
17. มีมาตรการให้เว้นระยะหา่ งการเข้าแถวท้ากจิ กรรม หรือไม่
18. มีการก้าหนดให้ใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกับผู้อ่ืน เช่น แก้วน้า ช้อน ส้อม แปรงสีฟัน

ยาสีฟัน ผา้ เช็ดหน้า หรอื ไม่
19. มหี อ้ งพยาบาลหรือพนื้ ทสี่ า้ หรบั แยกผมู้ ีอาการเสยี่ งทางระบบทางเดนิ หายใจ หรอื ไม่
20. มีนักเรียนแกนน้าด้านสุขภาพ จิตอาสา เป็นอาสาสมัคร ในการช่วยดูแลสุขภาพเพ่ือนนักเรียน

ดว้ ยกันหรอื ดูแลรนุ่ นอ้ ง หรอื ไม่

คู่มือการปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝ้าระวงั ปอ้ งกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 หนา้ 8
โรงเรียนพนาศึกษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

มติ ิที่ 2 การเรยี นรู้

21. มีการติดปาู ยประชาสัมพันธ์แนะนา้ การปฏิบตั เิ พ่ือสุขอนามัยทีด่ ี เชน่ วธิ ีลา้ งมือที่ถูกต้อง การสวม
หน้ากากอนามัย การเว้นระยะหา่ งระหว่างบุคคล เป็นต้น หรืออ่ืน ๆ ท่เี กีย่ วกับโรคโควดิ 19 หรือไม่

22. มกี ารเตรยี มความพร้อมการจดั การเรียนการสอนโดยค้านงึ ถงึ การเรียนรูต้ ามวัยและสอดคล้องกับ

พฒั นาการดา้ นสังคม อารมณ์ และสติปัญญา หรือไม่
23. มีมาตรการก้าหนดระยะเวลาในการใช้สอ่ื ออนไลนใ์ นสถานศึกษาในเด็กเลก็ (ประถมศกึ ษา) ไม่เกิน

1 ชัว่ โมงต่อวัน และ ในเด็กโต (มธั ยมศึกษา) ไมเ่ กิน 2 ชวั่ โมงตอ่ วัน หรือไม่

24. มกี ารใชส้ ่ือรอบรูด้ ้านสขุ ภาพผ่านช่องทาง Social media เช่น Website, Facebook, Line, QR
Code, E-mail หรือไม่
มติ ทิ ่ี 3 การครอบคลุมถึงเดก็ ดอ้ ยโอกาส

25. มีการเตรยี มหนา้ กากผ้า ส้ารองสา้ หรบั เด็กเล็ก หรอื ไม่
26. มกี ารปรับรูปแบบการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบทการเข้าถึงการเรียนรู้ในสถานการณ์
การระบาดของโรคโควิด 19 หรอื ไม่

27. มมี าตรการส่งเสริมใหน้ กั เรียนไดร้ บั บรกิ ารสขุ ภาพขั้นพนื้ ฐานอย่างทัว่ ถงึ หรอื ไม่
28. มมี าตรการการท้าความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมของท่ีพักและเรือนนอนให้ถูกสุขลักษณะ
พรอ้ มมตี ารางเวรทุกวนั หรือไม่ (กรณมี ที พ่ี กั และเรอื นนอน)

29. มีมาตรการการท้าความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกับข้อบัญญัติการปฏิบัติ
ด้านศาสนกจิ พร้อมมตี ารางเวรทกุ วนั หรอื ไม่ (กรณีมสี ถานท่ปี ฏบิ ัติศาสนากิจ)

30. มมี าตรการดูแลนกั เรยี นท่ีมคี วามบกพรอ่ งดา้ นพัฒนาการ การเรยี นรู้ หรือด้านพฤติกรรมอารมณ์

รวมถึงภาวะสมาธิส้นั และเดก็ ออทิสตกิ ท่ีสามารถเรียนร่วมกับเด็กปกติ หรือไม่
มิติที่ 4 สวสั ดิภาพและการคมุ้ ครอง

31. มีการจัดเตรียมแผนรองรับการจัดการเรียนการสอนส้าหรับนักเรียนปุวย กักตัว หรือกรณีปิด

โรงเรียน หรอื ไม่
32. มีการจดั เตรียมแนวปฏิบตั ิการสอื่ สารเพ่ือลดการรงั เกียจและการตตี ราทางสงั คม (Social Stigma)

หรือไม่

33. มกี ารจัดเตรียมแนวปฏบิ ตั ดิ า้ นการจดั การความเครียดของครูและบุคลากรของสถานศึกษา หรือไม่
34. มีการตรวจสอบประวัติเส่ียงของนักเรยี นและบคุ ลากร รวมทงั้ ตรวจสอบเรือ่ งการกกั ตัวให้ครบ 14
วนั กอ่ นมาทา้ การเรียนการสอนตามปกติ และทุกวันเปิดเรยี น หรอื ไม่

35. มีการกา้ หนดแนวทางปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บสา้ หรับนกั เรยี น ครู และบุคลากรท่ีสงสยั ติดเช้อื หรือปวุ ย
ด้วยโรคโควดิ 19 โดยไม่ถอื เปน็ วันลาหรือวันหยุดเรยี น หรือไม่
มิตทิ ี่ 5 นโยบาย

36. มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ความรู้การปูองกันโรคโควิด 19 แก่นักเรียน ครู บุคลากร และ
ผู้ปกครอง โดยการประชุมชแ้ี จงหรอื ผา่ นช่องทางต่าง ๆ อย่างน้อย 1 คร้ัง ก่อนหรือวันแรกของการเปิดเรียน
หรือไม่

37. มีนโยบายและแนวทางการปูองกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 ของสถานศึกษาอย่างเป็น
ลายลักษณ์หรือมีหลักฐานชัดเจน หรอื ไม่

38. มกี ารประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา หรอื ไม่

คู่มือการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 9
โรงเรยี นพนาศกึ ษา

ศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศึกษา สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

39. มีการแต่งตั้งคณะท้างานปูองกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 และก้าหนดบทบาทหน้าที่อย่าง
ชดั เจน หรือไม่

40. มมี าตรการบริหารจัดการความสะอาดบนรถรบั -สง่ นักเรียน เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล จัดที่น่ัง
บนรถหรอื มสี ญั ลักษณ์จุดตา้ แหน่งชัดเจน หรือไม่ (กรณีรถรับ - ส่งนักเรียน)
มิติที่ 6 การบริหารการเงนิ

41. มีแผนการใช้งบประมาณในการปูองกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ตามความจ้าเป็นและ
เหมาะสม หรอื ไม่

42. มีการจัดหาซอื้ วสั ดอุ ปุ กรณ์ปูองกันโรคโควิด 19 สา้ หรบั นกั เรยี นและบุคลากรในสถานศึกษา เช่น
หน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ สบู่ หรือไม่

43. มีการประสานแสวงหาแหลง่ ทุนสนบั สนนุ จากหนว่ ยงาน องค์กร หรอื เอกชน เช่น ท้องถิ่น บริษัท
หา้ งรา้ น NGO เปน็ ตน้ หรือมีการบริหารจดั การด้านการเงินเพอื่ ดา้ เนินกจิ กรรมการปอู งกันการแพรร่ ะบาดของ
โรคโควิด 19 หรือไม่

44. มีการจัดหาบคุ ลากรในการดูแลนกั เรยี นและการจัดการสิง่ แวดลอ้ มในสถานศึกษา หรือไม่

โรงเรียนพนาศึกษา ด้าเนินการประเมินตนเองโดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา
ขนั้ พ้ืนฐาน ตามแบบประเมนิ ส้าหรบั สถานศึกษาในการเตรียมความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรยี น เพื่อเฝูาระวังและ
ปูองกันการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 มผี ลการประเมนิ อยใู่ นระดบั “สีเขยี ว”

คู่มอื การปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝา้ ระวงั ป้องกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 10
โรงเรียนพนาศึกษา

ศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศกึ ษา สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

3. แนวทางการเตรียมความพรอ้ ม

โรงเรยี นพนาศกึ ษา เนน้ ความร่วมมอื 6 แนวทาง ในการเตรยี มความพร้อมกอ่ นการเปิดเรยี น ดังนี้

3.1 มมี าตรการคัดกรอง
ครู นกั เรียน บุคลากรที่เก่ียวข้องและผู้มาติดต่อราชการทุกคน ได้รับการคัดกรอง การวัดไข้ สวมใส่

หนา้ กากผา้ /หนา้ กากอนามัยก่อนเข้าโรงเรยี น ผปู้ กครองรว่ มใหป้ ระวัติกรณีนกั เรยี นมคี วามเส่ยี ง หากนักเรยี นมี
อาการไข้ไมส่ บายต้องหยุดเรยี นทนั ทีและแจ้งหน่วยงานสาธารณสขุ ในพื้นที่

วธิ ีการตรวจคดั กรอง
โรงเรยี นพนาศึกษา ดา้ เนินการวางแผนการตรวจคัดกรองสขุ ภาพเบ้อื งตน้ ในชว่ งสถานการณ์การแพร่

ระบาดของโรคโควิด-19 ตามข้ันตอนหลัก ได้แก่ การตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายหรือวัดไข้ การซักประวัติ
การสมั ผัสในพน้ื ที่เสียง การสังเกตอาการเสยี่ งตอ่ การตดิ เชื้อ โดยมีวธิ ีปฏิบตั ทิ ีส่ า้ คญั พอสังเขป ดงั น้ี

1) จดั ตงั้ จุดคัดกรองบริเวณทางเข้าของสถานศึกษา โรงเรียนพนาศึกษาได้ก้าหนดจุดคัดกรอง ครู
บุคลากรทเี่ กี่ยวขอ้ ง นักเรยี นและผมู้ าติดตอ่ ราชการ โดยยึดหลกั Social distancing

2) ตรวจวัดอณุ หภูมริ า่ งกายหรอื วัดไข้ โดยใช้เคร่ืองวัดอุณหภูมิทางหน้าผาก คนท่ัวไปจะมีอุณหภูมิ
ร่างกายอย่รู ะหวา่ ง 36.1-37.2 องศาเซลเซียส ส้าหรับผู้ที่เริ่มมีไข้หรือสงสัยว่าติดเช้ือจะมีอุณหภูมิที่มากกว่า
37.5 องศาเซลเซยี ส

(1) ครู บคุ ลากรที่เกี่ยวขอ้ งโรงเรียนพนาศกึ ษา มกี ารตรวจวดั อุณหภมู ริ า่ งกายบริเวณลงช่ือปฏิบัติ
ราชการ โดยเน้นรกั ษาระยะหา่ งระหว่างคน 1-1.5 เมตร

(2) นักเรียนในช่วงเช้า จะมีคุณครูเวรประจ้าวันท้าหน้าท่ีต้อนรับนักเรียนและท้าหน้าที่ตรวจวัด
อุณหภมู ริ า่ งกาย โดยเน้นรักษาระยะห่างระหวา่ งคน 1-1.5 เมตร

(3) ผู้มาติดต่อราชการ จะมีเจ้าหน้าที่ท้าหน้าที่ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายบริเวณปูอมยามทางเข้า
โรงเรียน โดยเน้นรักษาระยะห่างระหว่างคน 1-1.5 เมตร ลงเบียนการเช็คอิน “ไทยชนะ” หรือลงชื่อเข้าใช้
บรกิ าร

***หากตรวจวดั อณุ หภมู ริ า่ งกายครั้งแรก ครู บุคลากรที่เก่ียวข้อง นักเรียนหรือผู้มาติดต่อราชการมี
อณุ หภมู ริ า่ งกายมากกวา่ 37.5 องศาเซลเซียส ให้พักคอยหรือควรอยู่ในบริเวณจุดตรวจวัดอย่างน้อย 5 นาที
ก่อนการวัดอกี ครงั้

- กรณวี ัดอุณหภมู ริ า่ งกายได้ไมเ่ กิน 37.5 องศาเซลเซียส และไม่มีอาการทางเดินหายใจ อาทิ ไอ
มีนา้ มกู เจ็บคอ หายใจลา้ บาก เหนอื่ ยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ไม่มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ปุวยยืนยันในช่วง
14 วนั ก่อนมีอาการ ถอื วา่ ผ่านการคัดกรอง

- กรณีวัดอุณหภูมิร่างกาย อุณหภูมิตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสข้ึนไป หรือมีไข้ร่วมกับอาการ
ทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง อาทิ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจล้าบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส
ใหป้ ฏบิ ัติ ดังนี้ >แยกนกั เรียนไปไว้ทีห่ อ้ งแยก ท่ีงานอนามัยโรงเรียนไดจ้ ัดเตรียมไว้ >บันทึกรายช่ือและอาการ
ปุวย >ซักประวัติและสังเกตอาการเสียง >แจง้ ผู้ปกครอง

คู่มือการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หนา้ 11
โรงเรียนพนาศึกษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

3) สอบถามและซักประวัติการสมั ผสั ในพื้นท่ีเส่ียง และบนั ทึกผลลงในแบบบนั ทึกการตรวจคัดกรอง
สุขภาพส้าหรบั นกั เรยี น ครู บุคลากรท่เี กย่ี วข้องหรือผูม้ าตดิ ตอ่ ราชการในสถานศกึ ษา

3.1) หากไม่มปี ระวตั เิ ส่ียง ใหพ้ านกั เรยี นไปพบแพทย์ และใหห้ ยุดพักจนกว่าจะหายเป็นปกติ
3.2) หากตรวจพบว่า มีประวัติเสี่ยงและ/หรือมีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ปุวยยืนยันหรือสงสัย
มีประวัติเดินทางไปในพนื้ ทีเ่ ส่ยี งหรือพ้ืนท่ีเกดิ โรคไปในพ้ืนท่ที มี่ ีคนแออดั จ้านวนมากในชว่ ง 14 วันก่อนมีอาการ
ถือว่าเป็นผูส้ ัมผัสที่มคี วามเส่ยี งหรือเป็นกลุ่มเสย่ี ง โดยจ้าแนกเป็นกล่มุ เส่ียง มีประวัติเสี่ยงสูง และกลุ่มเสี่ยงมี
ประวัตเิ สยี งต้่า ใหป้ ฏบิ ัติ ดังน้ี
กลมุ่ เสยี่ งมปี ระวัตเิ สี่ยงสูง
- แยกนักเรยี นไปไว้ทหี่ อ้ งแยก ที่งานอนามยั โรงเรียนจดั เตรียมไว้
- บนั ทกึ รายช่ือและอาการปุวย แจ้งผู้ปกครองให้มารบั นกั เรยี น แลว้ พาไปพบแพทย์
- แจ้งเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสุข ประเมินสถานการณก์ ารสอบสวนโรค
- ทา้ ความสะอาดจุดเสยี่ งและบรเิ วณโดยรอบ
- เก็บตัวอย่าง
- กักตัวอยู่บ้าน
- ตดิ ตามอาการให้ครบ 14 วัน
- ครูรวบรวมขอ้ มลู และรายงานผลใหผ้ ูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผู้เกยี่ วข้องทราบ
กลมุ่ เสย่ี งมีประวตั ิเสยี่ งตา่
- แยกนักเรยี นไปไวท้ ห่ี อ้ งแยก ท่ีงานอนามัยโรงเรยี นจัดเตรียมไว้
- บนั ทึกรายชอ่ื และอาการปุวย
- แจง้ ผู้ปกครอง ใหม้ ารับนักเรยี น แล้วพาไปพบแพทย์
- แจง้ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
- แจง้ ท้องถิ่นทา้ ความสะอาดจุดเสย่ี งและบริเวณโดยรอบ
- ติดตามอาการใหค้ รบ 14 วนั
- ครูรวบรวมขอ้ มลู และรายงานผลใหผ้ ้บู ริหารสถานศกึ ษา ผเู้ กี่ยวขอ้ งทราบ

โรงเรยี นมีการก้าหนดแนวทางปฏิบตั ติ ามระเบียบสา้ หรับครู บุคลากรท่ีเก่ียวข้องและนักเรียนท่ีสงสัย
ติดเช้ือหรือปุวยด้วยโรคโควิด-19 โดยไม่ถือเป็นวันลาหรือวันหยุดเรียน โดยน้าหลักฐานใบรับรองแพทย์มา
ยืนยัน เพอ่ื กลับเขา้ เรียนตามปกติ โดยไม่ถือว่าขาดเรียนหรือขาดงาน และมีการกักตัวผู้ใกล้ชิดกับผู้ปุวยตาม
เกณฑ์ควบคมุ โรคและดา้ เนนิ การชว่ ยเหลือเช่นเดียวกับผปู้ ุวย

3.2 ตรวจสอบการสวมหน้ากาก (Check mask)
ครู นักเรียน บุคลากรท่ีเกี่ยวข้องและผู้มาติดต่อราชการทุกคนต้องสวมใส่หน้ากากผ้าหรือหน้ากาก

อนามัยตลอดเวลาที่อยู่ในโรงเรียน และขณะปฏิบัติการสอน กรณีลืมหรือไม่ได้น้าหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามยั มา สามารถขอจากทางโรงเรียนได้ ซ่ึงโรงเรียนจัดมีการจัดเตรียมหน้ากากผ้าและหน้ากากอนามัยไว้
สา้ รองให้

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หนา้ 12
โรงเรียนพนาศึกษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศกึ ษา สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

3.3 จัดใหม้ จี ดุ ลา้ งมอื ดว้ ยสบู่เหลวลา้ งมือแอลกอฮอลเ์ จลอย่างเพียงพอ
โร งเ รี ยน ได้จั ด ให้ มี อ่า งล้ า งมื อ ส้า ห รับ ผู้ รับ ก าร ตร วจคั ด กร อ งล้ า งมื อ ด้วยส บู่ แล ะ น้า ห รือ ใ ช้เ จ ล

แอลกอฮอล์ท้าความสะอาดมอื เพอื่ อ้านวยความสะดวกและสขุ อนามัยท่ดี ี คือ การล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และ
น้าหรือเจลแอลกอฮอลท์ า้ ความสะอาดมือ แต่ละจุดจะมีปูายแสดงการลา้ งมอื ทีถ่ ูกวิธี อย่างนอ้ ย 20 วนิ าที หรือ
ใชเ้ วลาเทา่ กับร้องเพลงช้างหรอื เพลงแฮปปีเ้ บริ ธ์ เดย์ 2 รอบ

3.4 การเวน้ ระยะห่างในห้องเรียน
เนน้ การรักษาระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร รวมถึงการจัดเว้นระยะห่างของสถานท่ี

โดยเวน้ ระยะหา่ งในการนงั่ เรยี น การทา้ กิจกรรมหน้าเสาธง การใช้บรกิ ารโรงอาหาร

3.5 เนน้ การทาความสะอาดพน้ื ผวิ สัมผัสตา่ ง ๆ ทใี่ ชร้ ่วมกนั
จัดให้มกี ารดแู ลอาคารสถานทแี่ ละยานพาหนะ ดงั น้ี
- ท้าความสะอาดห้องและบริเวณท่ีมีการใช้บริการร่วมกันทุกวัน ด้วยน้าผสมผงซักฟอกหรือน้ายา

ท้าความสะอาดท่ัวไป ได้แก่ ห้องเรียน ส้านักงาน โรงอาหาร ห้องประชุม ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์
ห้องปฏิบัติการ ห้องเก็บอุปกรณ์กีฬา ราวบันได ลูกบิดประตู โต๊ะ เก้าอี้ พนักพิง อุปกรณ์ดนตรี กีฬา
คอมพวิ เตอร์

- เปิดประตู หน้าต่าง เพื่อระบายอากาศห้องที่มีการใช้งานร่วมกัน เช่น ห้องเรียน ส้านักงาน
โรงอาหาร หอ้ งประชุม ห้องสมุด ห้องคอมพวิ เตอร์ หอ้ งปฏิบัติการ หากมเี คร่ืองปรบั อากาศให้ท้าความสะอาด
อย่างสม่้าเสมอ

- หอ้ งสขุ า ทา้ ความสะอาดบริเวณที่มีการสัมผัสบ่อย ๆ ท้าความสะอาดอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ด้วย
นา้ ยาทา้ ความสะอาด ได้แก่ พนื้ ห้องสว้ ม โถสว้ ม ทก่ี ดชกั โครก หรือโถปสั สาวะ สายฉีดช้าระ กลอนหรือลูกบิด
ประตู ฝารองน่ัง ฝาปิดชกั โครก กอ๊ กนา้ อา่ งลา้ งมือ

- ซกั ผ้าส้าหรบั เชด็ ทา้ ความสะอาด และไม้ถูพ้ืน

3.6 ลดความแออัด
ไม่จัดกิจกรรมท่ีเกิดการรวมกลุ่มของนักเรียน มีการจัดเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1-2

เมตร เชน่ ระหวา่ งโตะ๊ เรยี น ทีน่ ัง่ เรียน ที่นั่งในโรงอาหาร ที่น่ังพัก ทางเดิน จุดพักคอย ลดแออัด ลดเวลาท้า
กจิ กรรมให้ส้นั ลง มกี ารจดั การเหลอื่ มเวลาท้ากจิ กรรม โดยถือหลกั หลีกเลี่ยงการติดต่อสัมผัสระหว่างกัน และ
การใช้พ้ืนท่ีใช้สอยบริเวณสถานศึกษา โดยยึดหลัก Social distancing และมีการท้าสัญลักษณ์แสดงจุด
ตา้ แหนง่ ชัดเจนในการจดั เวน้ ระยะหา่ งระหว่างกัน

คู่มือการปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝ้าระวงั ปอ้ งกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 หนา้ 13
โรงเรยี นพนาศกึ ษา

ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศกึ ษา สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

สว่ นท่ี 3

แนวปฏบิ ัติ
ระหว่างเปดิ ภาคเรยี น

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝา้ ระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 หนา้ 14
โรงเรียนพนาศึกษา

ศูนยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศกึ ษา สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

สว่ นที่ 3
แนวปฏิบตั ริ ะหว่างเปิดภาคเรียน

สถานศึกษาเป็นสถานที่ท่ีมีคนอยู่รวมกันจ้านวนมาก ทั้งครู นักเรียน บุคลากรท่ีเกี่ยวข้องและ
ผู้มาติดต่อราชการ ท้าให้มีโอกาสใกล้ชิดกันมาก เกิดความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายของเช้ือโรคได้ง่าย
โรงเรียนพนาศกึ ษาจงึ ก้าหนดแนวปฏบิ ัตดิ า้ นอนามัยสง่ิ แวดลอ้ มใหค้ รอบคลมุ ทุกมิติอย่างเคร่งครดั เพือ่ ปูองกัน
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) โดยค้านงึ ถึงความปลอดภัยของนักเรยี น ครแู ละ
บุคลากรในสถานศกึ ษาสงู สุด ดงั นี้

3.1 หลกั ปฏบิ ัตใิ นการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา
1. คัดกรอง (Screening) ผู้ที่เข้ามาในสถานศกึ ษาทกุ คนตอ้ งได้รับการคัดกรอง วดั อณุ หภูมริ ่างกาย
2.สวมหน้ากาก (Mask) ทกุ คนตอ้ งสวมหนา้ กากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาท่อี ยใู่ นสถานศกึ ษา
3. ล้างมือ (Hand Washing) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้า นานอย่างน้อย 20 วินาที หรือใช้

เจลแอลกอฮอล์ หลีกเลี่ยงการสัมผัสบรเิ วณจดุ เสยี่ ง รวมทัง้ ไม่ใชม้ อื สัมผัสใบหนา้ ตา ปาก จมกู โดยไม่จา้ เป็น
4. เว้นระยะห่าง (Social Distancing) เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร รวมถึง

การจดั เวน้ ระยะหา่ งของสถานที่
5. ทา้ ความสะอาด (Cleaning) เปดิ ประตู หน้าต่าง ให้อากาศถ่ายเท ท้าความสะอาดห้องเรียน และ

บรเิ วณตา่ ง ๆ โดยเช็ดทา้ ความสะอาดพื้นผิวสัมผสั ของโตะ๊ เก้าอ้ี และวสั ดอุ ปุ กรณ์ ก่อนเข้าเรียน ช่วงพักเท่ียง
และหลังเลิกเรียนทุกวัน รวมถึงจัดให้มีถังขยะมูลฝอยแบบมีฝาปิด และรวบรวมขยะออกจากห้องเรียนเพื่อ
น้าไปกา้ จัดทกุ วนั

6. ลดแออัด (Reducing) ลดระยะเวลาการท้ากิจกรรมให้ส้ันลงเท่าที่จ้าเป็น หรือเหล่ือมเวลาท้า
กจิ กรรมและหลีกเลีย่ งการทา้ กจิ กรรมรวมตัวกันเป็นกลุ่มลดแออัด

3.2 บทบาทของบุคลากรและหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง
เพื่อให้เกิดประโยชนและมีผลกระทบในทางที่ดีต่อผบู้ ริหาร ครู ผู้ปกครอง และนกั เรียน โรงเรียนพนา

ศึกษาจึงกา้ หนดให้มีแนวปฏบิ ัตสิ ้าหรับบคุ ลากรของสถานศกึ ษาส้าหรับใช้เปน็ แนวทางปฏิบตั ติ นอยา่ งเคร่งครัด
มดี ังน้ี

3.2.1 บทบาทของผบู้ ริหารสถานศึกษา
1. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัตใิ นการปูองกนั การแพรระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา
2. จัดตง้ั คณะทา้ งานดา้ เนนิ การควบคุมดแู ลและปอู งกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19 ประกอบดว้ ย

ครู นักเรียน ผู้ปกครอง เจ้าหนา้ ที่สาธารณสขุ ทองถ่ิน ชมุ ชน และผ้เู กีย่ วข้อง พรอมบทบาทหน้าทอี่ ยา่ งชัดเจน
3. ทบทวน ปรับปรุง ซอมปฏบิ ตั ิตามแผนฉุกเฉินของสถานศึกษาในภาวะทมี่ ีการระบาดของโรคติดเช้ือ

(Emergency operation for infectious disease outbreaks)

คู่มือการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝา้ ระวัง ปอ้ งกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หนา้ 15
โรงเรยี นพนาศกึ ษา

ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

4. สอ่ื สารประชาสัมพันธก์ ารปูองกันโรคโควิด 19 เกยี่ วกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และการจัด
การเรยี นการสอนให้แกครู นักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผ่านช่องทางส่ือที่
เหมาะสม และติดตามข้อมูลข่าวสารท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั โรคโควิด 19 จากแหลง่ ข้อมลู ทีเ่ ช่อื ถือได้

5. สอื่ สารท้าความเข้าใจเพ่อื ลดการรังเกยี จและลดการตีตราทางสังคม (Social stigma)
6. มีมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณทางเข้าไปในสถานศึกษา (Point of entry) ให้แก่ ครู
นักเรียน บุคลากร และผู้มาติดต่ออ จัดให้มีพ้ืนท่ีแยก และอุปกรณ์ปูองกัน เช่น หน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามยั เจลแอลกอฮอล อย่างเพียงพอ รวมถึงเพิ่มช่องทางการสื่อสารระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และ
เจ้าหน้าท่ี สาธารณสขุ ในกรณที พี่ บนักเรียนกล่มุ เสย่ี งหรอื สงสยั
7. ควรพจิ ารณาการจัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพเหมาะสมตามบริบท
อย่างต่อเน่ือง ตรวจสอบติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาปุวย การปิดสถานศึกษา การจัดให้มีการเรียน
ทางไกล สือ่ ออนไลน์ การตดิ ต่อทางโทรศพั ท์ Social media โดยติดตามเปน็ รายวนั หรอื สปั ดาห์
8. กรณีพบนักเรยี น ครู บคุ ลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลมุ่ เส่ียงหรอื ผู้ปุวยยืนยันเข้ามาในสถานศึกษา
ให้รีบแจง้ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพืน้ ท่ี เพ่อื ด้าเนนิ การสอบสวนโรคและพจิ ารณาปิดสถานศึกษา ตามแนวทาง
ของกระทรวงสาธารณสุข
9. ควบคุม กา้ กบั ติดตาม และตรวจสอบการดา้ เนนิ งานตามมาตรการปูองกนั การแพรระบาดของโรค
โควดิ 19 ในสถานศกึ ษาอย่างเคร่งครัดและต่อเนื่อง

3.2.2 บทบาทของครูและบุคลากรทางการศึกษา
1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พ้ืนที่เสี่ยง ค้าแนะน้าการปูองกันตนเอง

และลดความเส่ยี งจากการแพร่กระจายของเชื้อโรคโควดิ 19 จากแหล่งขอ้ มลู ท่เี ช่อื ถือได้
2. สังเกตอาการปุวยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจล้าบาก เหน่ือยหอบ

ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ให้หยุดปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวปุวยด้วยโรคโควิด 19
หรอื กลับจากพ้นื ท่ีเส่ยี งและอยู่ในชว่ งกกั ตัวให้ปฏบิ ัตติ ามค้าแนะนา้ ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอยา่ งเครง่ ครัด

3. แจง้ ผู้ปกครองและนักเรียน ให้นา้ ของใชส้ วนตวั และอปุ กรณป์ อู งกันมาใช้เป็นของตนเอง เช่น ช้อน
ซ้อม แก้วน้า ผา้ เช็ดหน้า หน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามัย เป็นต้น

4. ส่ือสารความรู้ค้าแนะน้าหรือจัดหาสื่อประชาสัมพันธ์ในการปูองกันและลดความเส่ียงจากการ
แพร่กระจายโรคโควิด 19 ให้แก่นักเรยี น เชน่ สอนวิธีการล้างมือให้ถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามัย ค้าแนะน้าการปฏิบัติตัว การเว้นระยะห่างทางสังคม การท้าความสะอาด หลีกเลี่ยงการท้ากิจกรรม
ร่วมกัน จา้ นวนมากเพ่อื ลดความแออัด

5. ทา้ ความสะอาดส่อื การเรียนการสอนหรืออุปกรณข์ องใชร้ ่วมท่ีเป็นจดุ สัมผัสเส่ียงทุกครั้งหลงั ใชง้ าน
6. ควบคุมดูแลการจัดที่นั่งในห้องเรียน ระหว่างโต๊ะเรียน ที่นั่งในโรงอาหาร การจัดเว้นระยะห่าง
ระหวา่ งบคุ คล อยา่ งนอ้ ย 1-2 เมตร หรือเหลอื่ มเวลาพักกนิ อาหารกลางวนั และกา้ กับให้นกั เรยี น สวมหน้ากาก
ผา้ หนากากอนามยั ตลอดเวลา และล้างมือบอ่ ยๆ
7. ตรวจสอบ ก้ากบั ตดิ ตามการมาเรียนของนกั เรยี นขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยใู่ นกล่มุ เสย่ี งต่อการตดิ
โรคโควดิ 19 และรายงานผู้บหิ าร
8. ทา้ การตรวจคัดกรองสุขภาพทกุ คนท่ีเข้ามาในสถานศึกษาในตอนเช้า ให้กับนักเรียน ครู บุคลากร
และผู้มาตดิ ต่อ โดยใช้เคร่ืองวดั อณุ หภูมิทางหน้าผาก พร้อมสงั เกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดนิ

คู่มอื การปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝา้ ระวงั ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หน้า 16
โรงเรยี นพนาศกึ ษา

ศูนยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

หายใจ เช่น ไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจล้าบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส โดยติดสัญลักษณ์สต๊ิกเกอร์
หรอื ตราปั้ม แสดงให้เห็นชัดเจนว่าผา่ นการคัดกรองแลว้

- กรณีพบนักเรียนหรือผู้มีอาการไข้ อุณหภูมิร่างกายต้ังแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับ
อาการระบบทางเดนิ หายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง จดั ใหอ้ ยใู่ นพืน้ ท่ีแยกส่วน ให้รีบแจ้งผู้ปกครองมารับและ พาไป
พบแพทย์ให้หยุดพกั ทบ่ี ้านจนกวา่ จะหายเป็นปกติ พร้อมแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพ่ือประเมิน สถานการณ์
และด้าเนินการสอบสวนโรค และแจ้งผู้บริหารเพ่ือพิจารณาการปิดสถานศึกษาตามแนวทาง ของกระทรวง
สาธารณสขุ

- บันทึกผลการคดั กรองและส่งตอ่ ประวตั กิ ารปุวย ตามแบบบันทึกการตรวจสขุ ภาพ
- จัดอุปกรณ์การล้างมือ พร้อมใช้งานอย่างพอเพียง เช่น เจลแอลกอฮอลวางไว้บริเวณทางเข้า
สบู่ล้างมอื บริเวณอา่ งล้างมือ
9. ครูส่อื สารความรู้เก่ียวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติท่ีมีการแพร่
ระบาดของโรคโควดิ 19 และน้ากระบวนการการจัดการความเครียด การฝึกสติให้กลมกลืนและเหมาะสมกับ
นักเรียนแต่ละวัย ร่วมกบั การฝึกทกั ษาชวี ติ ที่เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ทางใจ (Resilience) ให้กับนกั เรียน ได้แก่
ทักษาชีวิตดา้ นอารมณ์ สังคม และความคิด เป็นต้น
10. ครูสงั เกตอารมณ์ความเครยี ดของตัวท่านเอง เน่ืองจากภาระหน้าที่การดูแลนักเรียนจ้านวนมาก
และก้ากับให้ปฏิบัติตามมาตรการการปูองกันการติดโรคโควิด 19 เป็นบทส้าคัญ อาจจะสร้างความเครียด
วิตกกังวล ทั้งจากการเฝาู ระวงั นกั เรยี น และการปอู งกนั ตวั ทา่ นเองจากการสมั ผสั กบั เชือ้ โรค

3.2.3 บทบาทของนกั เรียน
1. ติดตามขอ้ มูลข่าวสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พ้ืนทีเ่ ส่ยี ง ค้าแนะนา้ การปอู งกนั

ตนเอง และลดความเสย่ี งการแพรก่ ระจายของโรคโควดิ 19 จากแหล่งขอ้ มลู ทีเ่ ช่อื ถอื ได้
2. สังเกตอาการปุวยของตัวเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจล้าบาก เหน่ือยหอบ

ไม่ไดก้ ลิ่น ไมร่ รู้ ส รบี แจ้งครหู รือผปู้ กครองให้พาไปพบแพทย์ กรณมี คี นในครอบครัวปุวยด้วยโรคโควดิ 19 หรือ
กลับจากพืน้ ทีเ่ สี่ยงและอยู่ในชว่ งกักตวั ให้ปฏบิ ัติตามค้าแนะน้าของเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุขอย่างเคร่งครัด

3. มีและใช้ของใช้ส่วนตัว ไม่ใช้ร่วมกับผู้อ่ืน เช่น ช้อน ซ้อม แก้วน้า ผ้าเช็ดหน้า หน้ากากผ้า หรือ
หนา้ กากอนามัย และทา้ ความสะอาดหรอื เกบ็ ให้เรยี บรอ้ ยทุกครง้ั หลังใช้งาน

4. สวมหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาท่ีอย่ใู นสถานศึกษา
5. หม่ันล้างมือบ่อยๆด้วยวิธีล้างมือ 7 ขั้นตอน อย่างน้อย 20 วินาที ก่อนกินอาหาร หลังใช้ส้วม
หลกี เลีย่ งใชม้ ือสมั ผสั ใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จา้ เปน็ รวมถึงสร้างสขุ นสิ ยั ท่ดี ี หลงั เลน่ กบั เพอ่ื น เม่ือกลบั ถงึ
บา้ นต้องรบี อาบน้า สระผม และเปลยี่ นเส้อื ผา้ ใหม่ทันที
6. เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร ในการท้ากิจกรรมระหว่างเรียน ช่วงพัก และ
หลงั เลกิ เรยี น เช่น นงั่ กนิ อาหาร เล่นกับเพื่อน เข้าแถวต่อคิว ระหว่างเดนิ ทางอยบู่ นรถ
7. หลกี เลีย่ งการไปในสถานทที่ แ่ี ออดั หรอื แหล่งชุมชนท่ีเสยี่ งต่อการติดโรคโควิด 19
8. กรณีนักเรียนด่ืมน้าบรรจุขวด ควรแยกเฉพาะตนเอง และท้าเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์เฉพาะ
ไมใ่ ห้ปะปนกบั ของคนอ่ืน

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝ้าระวงั ปอ้ งกันและควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หน้า 17
โรงเรียนพนาศึกษา

ศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศกึ ษา สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

9. ดแู ลสุขภาพให้แขง็ แรง ด้วยการกนิ อาหารปรงุ สกุ ร้อน สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และผัก ผลไม้ 5
สี เสริมสร้างภูมิคมุ้ กนั ควรเสรมิ อาหารเชา้ จากบา้ น หรือใหผ้ ู้ปกครองจดั เตรียมอาหารกล่องกนิ ท่ีโรงเรยี นแทน
รวมถงึ ออกก้าลังกาย อย่างนอ้ ย 60 นาที ทกุ วัน และนอนหลับอยา่ งเพียงพอ 9 - 11 ช่ัวโมงต่อวัน

10. กรณีนกั เรียนขาดเรยี นหรอื ถูกกักตัว ควรตดิ ตามความคบื หนา้ การเรยี นอย่างสมา่้ เสมอ ปรึกษาครู
เชน่ การเรียนการสอน ส่อื ออนไลน์ อ่านหนงั สอื ทบทวนบทเรยี น และท้าแบบฝึกหัดทบ่ี ้าน

11. หลีกเลี่ยงการล้อเลียนความผิดปกติหรืออาการไม่สบายของเพื่อน เนื่องจากอาจจะก่อให้เกิด
ความหวาดกลัว มากเกินไปต่อการปุวยหรอื การตดิ โรคโควดิ 19 และเกดิ การแบ่งแยกกีดกันในหมู่นักเรยี น

3.2.4 บทบาทของนักเรยี นแกนนาด้านสุขภาพ
โรงเรียนพนาศึกษามีนกั เรียนทีม่ ีจติ อาสา เปน็ อาสาสมัครช่วยดูแลสุขภาพเพ่ือนนักเรียนด้วยกันหรือ

ดูแลรุ่นน้องดว้ ย ไดแ้ ก่ สภานักเรียน อย.น้อย ยวุ อาสาสมคั รสาธารณสขุ (ยุว อสม.)
1. ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค พื้นทเ่ี สีย่ ง คา้ แนะน้าการปูองกัน ตนเอง

และลดความเส่ยี งจากการแพร่กระจายของโรคโควิด 19 จากแหล่งข้อมูลท่ีเชอ่ื ได้
2. ช่วยครู ตรวจคดั กรองวดั อุณหภูมิร่างกายของนักเรียนทุกคนที่มาเรียนในตอนเช้า บริเวณทางเข้า

โดยมคี รดู แู ลให้คา้ แนะน้าอยา่ งใกลช้ ดิ เนน้ การจัดเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างนอ้ ย 1-2 เมตร
3. ตรวจดคู วามเรียบร้อยของนักเรยี นทุกคนท่ีมาเรยี น ตอ้ งสวมหน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามัย หาก

พบนักเรียนไมไ่ ดส้ วมให้แจง้ ครผู ู้รับผิดชอบเพือ่ จัดหาหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั สา้ รองให้
4. เฝูาระวังสงั เกตอาการของนักเรยี น หากมอี าการไข้ ไอ มีนา้ หมูก เจบ็ คอ หายใจล้าบาก เหนอ่ื ยหอบ

ไม่ได้กล่ิน ไมร่ ู้รส ให้รบี แจง้ ครทู ันที
5.จัด กิ จ ก ร ร ม สื่ อ ส า ร ใ ห้ ควา ม รู้ ค้ า แ น ะ น้ า ก า ร ปู อง กั น แ ล ะ ล ด ค วา ม เ ส่ี ยง จ า ก ก า ร แ พ ร่ ก ร ะ จ า ย

โรคโควิด 19 แกเ่ พ่อื นนักเรียน เช่น สอนวิธกี ารลา้ งมือทถ่ี กู ตอ้ ง การท้าหน้ากากผา้ การสวมหนา้ กาก การถอด
หน้ากากผ้า กรณีเก็บไว้ใช้ต่อ การท้าความสะอาดหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล จัดท้าปูาย
แนะน้าตา่ งๆ

6. ตรวจอปุ กรณ์ของใช้ส่วนตัวของเพื่อนนักเรียนและรุ่นน้อง ให้พร้อมใช้งาน เน้นไม่ใช้ร่วมกับผู้อ่ืน
เช่น จาน ช้อน ซ้อม แกว้ นา้ ผ้าเช็ดหนา้ ผา้ เช็ดมือของตนเอง

7. จัดเวรทา้ ความสะอาดห้องเรียน ห้องเรียนรวม และบรเิ วณจุดสัมผัสเส่ียงทุกวัน เช่น ลูกบิดประตู
กลอนประตู ราวบนั ได สนามเดก็ เลน่ อปุ กรณก์ ีฬา เครือ่ งดนตรี คอมพวิ เตอร์

8. เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตัวเพื่อปูองกันโรคโควิด 19 ด้วยการสมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามยั ล้างมอื บ่อยๆ กนิ อาหารใช้จาน ชอ้ น ซ้อม แกว้ นา้ ของตนเอง การเวน้ ระยะหา่ ง เป็นต้น โดยถือปฏิบัติ
เปน็ สุขนสิ ยั กิจวัตรประจ้าวันอย่างสมา่้ เสมอ

คู่มือการปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝา้ ระวัง ปอ้ งกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หนา้ 18
โรงเรียนพนาศึกษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศกึ ษา สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

3.2.5 บทบาทของผปู้ กครอง
1. ตดิ ตามขอ้ มูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 พ้นื ที่เสยี่ ง คา้ แนะนา้ การปอู งกนั

ตนเอง และลดความเส่ียงจากการแพรก่ ระจายของโรค จากแหล่งข้อมูลทีเ่ ชอื่ ถอื ได้
2. สังเกตอาการปุวยของตัวเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจล้าบาก เหน่ือยหอบ

ไมไ่ ด้กลิ่น ไมร่ รู้ ส รบี แจง้ ครหู รอื ผปู้ กครองใหพ้ าไปพบแพทย์ กรณมี คี นในครอบครวั ปวุ ยด้วยโรคโควิด 19 หรือ
กลับจากพ้ืนทีเ่ ส่ยี งและอย่ใู นช่วงกักตวั ใหป้ ฏิบัตติ ามคา้ แนะนา้ ของเจ้าหน้าท่สี าธารณสุขอยา่ งเคร่งครัด

3. จดั หาของใชส้ ่วนตวั ให้บุตรหลานอยา่ งเพยี งพอในแต่ละวัน ทา้ ความสะอาดทุกวัน เช่น หน้ากากผ้า
หรอื หน้ากากอนามัย ช้อน ซอ้ ม ผา้ เช็ดหน้า

4. จดั หาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล และกา้ กบั ดูแลบตุ รหลานให้ล้างมอื บอ่ ยๆ กอ่ นกินอาหาร และหลังใช้
สว้ ม หลกี เลยี่ งการใชม้ อื สมั ผัสใบหน้า ตา ปาก จมกู โดยไมจ่ ้าเปน็ และสรา้ งสุขนสิ ยั ทด่ี ี หลงั เลน่ กบั เพื่อน และ
เม่อื กลับถงึ บา้ น ควรอาบนา้ สระผม และเปล่ียนเส้ือผ้าใหมท่ ันที

5. หลีกเล่ียงการพาบุตรหลานไปในสถานการณ์เสี่ยงต่อการติดโรคโควิด 19 สถานที่แออัดท่ีมีการ
รวมกัน ของคนจ้านวนมาก หากจ้าเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ วิธีการ 7
ขั้นตอน ดว้ ยสบู่และน้า นาน 20 วินาที หรือใช้เจลแอลกอฮอล

6. ดูแลสุขภาพบุตรหลาน จัดเตรียมอาหารปรุงสกุ ใหม่ ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหารครบ
5 หมู่ และผักผลไม้ 5 สี และควรจัดอาหารกล่องใหแ้ ก่นักเรยี นในช่วงเชา้ แทนการซื้อจากโรงเรียน (กรณีไม่ได้
กินอาหารเช้าจากที่บ้าน) เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ออกก้าลังกาย อย่างน้อย 60 นาทีทุกวัน และนอนหลับ
เพยี งพอ 9-11 ชัว่ โมงตอ่ วัน

7. กรณมี กี ารจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูในการดูแล
จดั การเรยี นการสอนแกนักเรยี น เช่น การสง่ การบ้าน การรว่ มทา้ กจิ กรรม เปน็ ตน้

3.2.6 บทบาทของผู้จ่ายอาหารอาหารและผปู้ ฏิบตั งิ านทาความสะอาด
1. ติดตามข้อมลู ขา่ วสารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 พื้นท่เี สย่ี ง ค้าแนะนา้ การปอู งกนั
ตนเอง และลดความเสยี่ งจากการแพรก่ ระจายของโรค จากแหลง่ ข้อมลู ที่เช่ือถอื ได้
2. สังเกตอาการปวุ ยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้าหมู เจ็บคอ หายใจล้าบาก เหนื่อยหอบไม่ได้
กล่นิ ไมร่ ูร้ ส ให้หยุดปฏิบัติงานและรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครวั ปุวยด้วยโรคโควิด 19 หรอื กลับ
จากพน้ื ทเ่ี ส่ียงและอยู่ในชว่ งกกั ตัว ใหป้ ฏบิ ัติตามค้าแนะน้าของเจา้ หน้าท่ีสาธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครดั
3. ลา้ งมอื บ่อย ๆ ด้วยสบู่และนา้ กอ่ น-หลังปรงุ และประกอบอาหาร ขณะจ้าหน่ายอาหาร หลังสัมผัส
ส่ิงสกปรก เมื่อจับเหรียญหรือธนบัตร หลังใช้ส้วม ควรล้างมือด้วยสบู่และน้าหรือใช้เจลแอลกอฮอล์ และ
หลีกเล่ยี งการใชม้ อื สมั ผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไมจ่ า้ เปน็
4. ขณะปฏบิ ตั งิ านของผู้สมั ผสั อาหาร ตอ้ งสวมหมวกคลุมผม ผา้ กันเป้อื น ถงุ มือ สวมหนา้ กากผา้ หรือ
หน้ากากอนามัย และปฏิบัติตนตามสุขอนามัยสว่ นบคุ คลทถี่ ูกต้อง
5. ปกปิดอาหาร ใสถ่ งุ มอื และใช้ท่คี บี หยบิ จบั อาหาร หา้ มใชม้ ือหยิบจับอาหารพร้อมกินโดยตรง และ
จัดให้แยกกิน กรณีร้านจ้าหน่ายอาหารส้าเร็จรูปพร้อมกิน ไม่ควรใช้มือสัมผัสลงไปในถุงบรรจุอาหารก่อน
ตักอาหาร

คู่มือการปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝ้าระวงั ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 หนา้ 19
โรงเรยี นพนาศึกษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศกึ ษา สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

6. จัดเตรียมเมนูอาหารให้ครบ 5 หมู่ และผักผลไม้ 5 สี เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ปรุงสุกใหม่
ให้นกั เรยี นกนิ ภายในเวลา 2 ช่วั โมง หากเกนิ เวลาดงั กลา่ ว ให้นา้ อาหารไปอุ่นจนร้อนจัดหรือเดือด แล้วน้ามา
เสริ ์ฟใหม่กรณีทีไ่ มสามารถจดั เหลือ่ มเวลาหรบั เดก็ ในม้ือกลางวัน ให้เตรยี มอาหารกล่องแทน และ รับประทาน
ท่ีโต๊ะเรียน

7. จัดเตรยี มกระดาษส้าหรับสง่ั รายการอาหาร หรือชอ่ งทางส่ือสารอ่นื ๆ เพ่อื ลดการพดู คุยและสัมผสั
8. ผู้ปฏิบัติงานท้าความสะอาด ผู้ปฏิบัติงานเก็บขนขยะต้องใส่อุปกรณ์ปูองกันตนเอง เช่น สวม
หน้ากากผา้ หรอื หน้ากากอนามัย สวมถุงมือยาง ผา้ ยางกันเปอื้ น รองเทา้ พ้ืนยางห้มุ แขง้
9. การเก็บขยะ ควรใชป้ ากคบี ด้ามยาวเก็บขยะใส่ถุงขยะ ปิดปากถุงให้มิดชิด และน้าไปรวบรวมไว้ท่ี
พักขยะ
10. เม่ือปฏิบัติงานเสร็จทุกคร้ัง ต้องล้างมือบ่อยๆ และเมื่อกลับมาถึงบ้าน ควรรีบอาบน้า สระผม
เปลี่ยนเสอ้ื ผ้าใหมท่ นั ที

3.3 บทบาทขององค์กรสนับสนุน
3.3.1 สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา
1) ประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจให้โรงเรียนในสังกัด เก่ียวกับการปูองกันตนเอง การดูแล

สุขอนามยั ของตนเอง และบุคคลในครอบครัว
2) ประสานงานองคก์ รต่าง ๆ ในเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาในการช่วยเหลือสนบั สนนุ โรงเรียน
3) นเิ ทศ กา้ กับ ตดิ ตาม โรงเรียนในสังกดั ด้านการบรหิ ารโรงเรียนภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาด

ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
4) ก้ากับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดด้านการบริหารข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับการได้รับวัคซีน

ของนักเรียน ครู ผบู้ รหิ ารโรงเรียน และผู้ปกครองนกั เรียนใหไ้ ด้รับวัคซีนตามมาตรการท่กี า้ หนด
5) รายงานผลการดา้ เนนิ การตอ่ หน่วยงานตน้ สงั กัดให้ทราบความเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง สม่้าเสมอ
6) ประชุม ตรวจเยี่ยมสถานศึกษา สร้างขวัญก้าลังใจในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน
ทงั้ แบบปกตแิ ละแบบทางไกล

3.3.2 สานักงานสาธารณสขุ
1) ให้ค้าแนะน้าเกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติของสถานศึกษา สนับสนุนการด้าเนินงานของโรงเรียนให้

สอดคลอ้ งตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธกิ ารก้าหนด
2) สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ

หน้ากากอนามัย เจลล้างมือ ฯลฯ
3) สนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์ในการบริการตรวจคัดกรองความเสี่ยงให้แก่ นักเรียน ครู

และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
4) จัดให้มีช่องทางการส่ือสาร การให้ข้อมูลข่าวสารท่ีถู กต้อง เป็นปัจจุบันให้กับสถานศึกษา

และจัดระบบสนับสนุนเม่ือมีนักเรียน ครูหรือบุคลากรมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(Covid-19)

คู่มอื การปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝา้ ระวัง ปอ้ งกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หนา้ 20
โรงเรยี นพนาศึกษา

ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศกึ ษา สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

5) สา้ รวจ ตดิ ตามสถานการณใ์ นพน้ื ทบี่ รกิ ารอยา่ งตอ่ เน่อื ง กรณี พบผมู้ ีอาการเสยี่ งหรอื ปุวย ต้อง
ด้าเนนิ การทันที และรายงานใหส้ ถานศึกษาทราบเพอ่ื ด้าเนนิ การตามมาตรการตอ่ ไป

6) ออกให้บริการตามทส่ี ถานศึกษารอ้ งขอ เช่น จดั เจ้าหนา้ ท่ี อสม.ประจ้าหม่บู ้าน ตา้ บล ตรวจเวรยาม
บนั ทกึ ตูแ้ ดงตามจุดทโี่ รงเรียนก้าหนด และอน่ื ๆ ตามความตอ้ งการจ้าเป็น

3.3.3 องคก์ รทางปกครอง
1) ประชาสมั พนั ธ์สรา้ งความเขา้ ใจใหโ้ รงเรียน และชุมชนในเขตการปกครองมีความรูค้ วามเข้าใจ

เกย่ี วกบั การปอู งกนั ตนเอง การดูแลสขุ อนามยั ของตนเอง และบคุ คลในครอบครวั
2) สนับสนนุ ช่วยเหลือโรงเรยี นในเขตปกครองตามคา้ สง่ั ของจังหวดั อย่างเครง่ ครัด 3) ก้ากับ ตดิ ตาม

การได้รบั วคั ซีนของประชาชนในเขตปกครองและมีขอ้ มลู ทางสถิติที่อา้ งอิงเชอื่ ถอื ได้
4) ให้บริการตามท่สี ถานศึกษาร้องขอตามความตอ้ งการเรง่ ดว่ นและจ้าเปน็

3.3.4 องค์กรเอกชน
1) สนับสนนุ อปุ กรณท์ างการแพทย์ อาทิ ชุดตรวจ Antigen Test Kit (AT อปุ กรณว์ ัดอณุ หภูมิ

หน้ากากอนามัย เจลล้างมือ ฯลฯ
2) สนับสนนุ งบประมาณให้แกส่ ถานศกึ ษาในการน้าไปใช้บรหิ ารจัดการภายใต้สถานการณก์ ารแพร่

ระบาดของโรคติเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)
3) อา้ นวยความสะดวกให้ความชว่ ยเหลือกรณีฉุกเฉนิ จา้ เปน็ ในการสง่ ตัวนักเรยี น ครูและบคุ ลากรที่

คาดว่าจะไดร้ บั เช้ือหรือเป็นกลุ่มเสีย่ งส่งหน่วยงานสาธารณสขุ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว
4) สรา้ งระบบการตดิ ตอ่ สอื่ สารหนว่ ยงานภายในจงั หวดั อา้ เภอ ตา้ บล ใหม้ ีความรวดเรว็ ใน การ

ช่วยเหลือ ดแู ล นกั เรียน ครู บุคลากร และผปู้ กครอง ที่สถานศกึ ษาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

3.4 แนวปฏิบัติดา้ นอนามยั ส่งิ แวดล้อม

3.4.1 ห้องเรียน ห้องเรียนรวม เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องดนตรี
1) จดั โต๊ะ เกา้ อี้ หรอื ทีน่ งั่ ให้มีการเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร โดยคา้ นงึ ถงึ

สภาพบรบิ ทและขนาดพ้ืนที่ และจดั ทา้ สญั ลักษณ์แสดงจุดตา้ แหนง่ ชัดเจน จดั เว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คล แบง่
จา้ นวนนักเรียน หรอื ใชพ้ ื้นท่ีใชส้ อยบรเิ วณสถานศึกษาตามบริบทและความเหมาะสม โดยยึดหลัก Social
distancing

2) จดั การเหลอื่ มเวลาเรยี น การเรียนกลุ่มยอ่ ย หรอื วิธปี ฏบิ ตั ิที่เหมาะสมตามบริบทสถานการณ์ และ
เน้นใหน้ กั เรยี นสวมหน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามัยขณะเรยี นตลอดเวลา

3) จดั ใหม้ กี ารระบายอากาศท่ดี ี ใหอ้ ากาศถา่ ยเท เช่น เปดิ ประตู หน้าต่าง กรณีใชเ้ คร่ืองปรบั อากาศ
กา้ หนดเวลาเปดิ -ปดิ เครอ่ื งปรบั อากาศ เปดิ ประตู หน้าตา่ งใหร้ ะบายอากาศและทา้ ความสะอาดอยา่ งสมา้่ เสมอ

4) จดั ใหม้ เี จลแอลกอฮอล์ท้าความสะอาดมือส้าหรับนกั เรียนและครูประจา้ ทุกหอ้ งเรยี นอย่างเพียงพอ

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝา้ ระวงั ป้องกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 21
โรงเรียนพนาศึกษา

ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศกึ ษา สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

5) ให้มีการทา้ ความสะอาดโตะ๊ เก้าอ้ี อปุ กรณ์ และจดุ สมั ผสั เส่ยี ง เชน่ ลูกบิดประตู เคร่ืองเลน่ ของใช้
ร่วมทุกวนั อย่างน้อยวนั ละ 2 คร้ัง เชา้ ก่อนเรียนและพักเทีย่ ง กรณีมีการยา้ ยห้องเรียน ต้องทา้ ความสะอาดโตะ๊
เกา้ อ้ี ก่อนและหลงั ใช้งานทกุ ครงั้

3.4.2 หอ้ งสมดุ
1) จัดโต๊ะ เกา้ อ้ี หรือท่นี ง่ั มีการเวน้ ระยะห่างระหว่างบคุ คล อยา่ งนอ้ ย 1-2 เมตร จดั ท้าสญั ลักษณ์

แสดงจุดต้าแหน่งชดั เจน
2) จดั ใหม้ ีการระบายอากาศท่ดี ี ใหอ้ ากาศถ่ายเท เชน่ เปิดประตู หน้าต่าง กรณีใช้เคร่อื งปรบั อากาศ

ก้าหนดเวลาเปิด-ปิดเครือ่ งปรบั อากาศ เปิดประตู หนา้ ต่างให้ระบายอากาศและท้าความสะอาดอย่างสมา้่ เสมอ
3) จัดให้มเี จลแอลกอฮอลท์ า้ ความสะอาดมอื สา้ หรับครู บรรณารกั ษ์ นกั เรยี น และผใู้ ชบ้ รกิ ารบรเิ วณ

ทางเข้าด้านหน้า และภายในห้องสมดุ อย่างเพยี งพอ
4) ให้มีการทา้ ความสะอาดโตะ๊ เกา้ อี้ อปุ กรณ์ และจดุ สมั ผสั เสียง เชน่ ลกู บดิ ประตู ชัน้ วางหนงั สือ ทกุ

วัน ๆ ละ 2 ครง้ั อาทิ เช้าก่อนใหบ้ รกิ ารและพักเทย่ี ง
5) จ้ากดั จา้ นวนคนจา้ กดั เวลาในการเขา้ ใชบ้ ริการหอ้ งสมดุ และให้นกั เรียนและผใู้ ชบ้ รกิ ารทกุ คน สวม

หน้ากากผ้า หรือหน้ากากอนามยั ขณะใช้บริการหอ้ งสมดุ ตลอดเวลา

3.4.3 ห้องประชมุ หอประชมุ
1) จดั ใหม้ กี ารคัดกรองตรวจวัดอณุ หภูมริ ่างกายก่อนเขา้ หอ้ งประชมุ หอประชุม หากพบผมู้ ีอาการไข้

ไอ มีนา้ เจ็บคอ หายใจล้าบาก เหน่อื ยหอบ ไมไ่ ดก้ ลนิ่ ไมร่ รู้ ส แจง้ งดร่วมประชมุ และแนะนา้ ใหไ้ ปพบแพทย์
ทนั ที

2) จดั โตะ๊ เก้าอ้ี หรอื ท่นี งั่ ใหม้ กี ารเว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล 1-2 เมตร และจัดท้าสญั ลักษณ์แสดง
จดุ ต้าแหน่งชดั เจน

3) ผู้เข้าประชมุ ทุกคนสวมหน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามยั ขณะประชมุ ตลอดเวลา
4) จดั ใหม้ เี จลแอลกอฮอล์ทา้ ความสะอาดมือส้าหรบั ผู้เข้าประชมุ บรเิ วณทางเข้าภายในอาคาร
หอประชมุ บริเวณทางเขา้ ด้านหน้าและด้านในของห้องประชมุ อยา่ งเพียงพอและท่วั ถงึ
5) งดหรอื หลีกเลีย่ งการใหบ้ รกิ ารอาหารและเครื่องดม่ื ภายในหอ้ งประชุม
6) มีการท้าความสะอาดโตะ๊ เกา้ อ้ี อปุ กรณ์ และจุดสมั ผัสเสย่ี งรว่ ม เช่น ลกู บดิ ประตู รโี มท อุปกรณ์
สอ่ื กอ่ นและหลังใชห้ อ้ งประชุมทกุ คร้ัง
7) จดั ใหม้ ีการระบายอากาศท่ดี ี ใหอ้ ากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หนา้ ตา่ ง ก่อนและหลัง ใช้หอ้ ง
ประชมุ ทุกครง้ั และท้าความสะอาดอย่างสม้า่ เสมอ
3.4.4 โรงยมิ สนามกฬี า
1) จดั พนื้ ท่ที า้ กจิ กรรมและเลน่ กีฬา ลดความแออดั จดั ให้เลน่ กีฬาเปน็ รอบ หรือใหม้ ีการเวน้ ระยะห่าง
ระหวา่ งบคุ คล อย่างน้อย 1-2 เมตร
2) จัดให้มเี จลแอลกอฮอล์ท้าความสะอาดมือส้าหรับนกั กฬี าและผมู้ าใชบ้ ริการ บรเิ วณทางเข้า และ
บรเิ วณดา้ นในอาคารอย่างเพียงพอและท่ัวถึง
3) ทา้ ความสะอาดอุปกรณ์และเครือ่ งเล่นแต่ละชนดิ กอ่ นหรอื หลังเล่นทุกวัน อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง

คู่มือการปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 22
โรงเรยี นพนาศกึ ษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศกึ ษา สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

4) จัดใหม้ ีการระบายอากาศ ใหอ้ ากาศถา่ ยเท เช่น เปดิ ประตู หนา้ ต่าง เปิดพัดลม
5) จ้ากัดจ้านวนคนจ้านวนเวลาในการเลน่ กฬี าหรือกจิ กรรมภายในอาคารโรงยิมหรอื สนามกฬี า
6) หลีกเลีย่ งการจดั กจิ กรรมหรอื เล่นกีฬาประเภทแขง่ ขนั เปน็ ทีมหรือมกี ารปะทะกนั อยา่ งรุนแรง เชน่
วอลเลย์บอล ฟตุ บอล ฟุตซอล บาสเกตบอล เป็นตน้

3.4.5 หอ้ งส้วม
1) จัดเตรยี มอปุ กรณ์ทา้ ความสะอาดอย่างเพียงพอ ได้แก่ นา้ ยาทา้ ความสะอาดหรือนา้ ยาฟอกขาว

อปุ กรณก์ ารตวง ถงุ ขยะ ถงั นา้ ไมถ้ ูพื้น คีบดา้ มยาวส้าหรับเก็บขยะ ผา้ เช็ดทา้ ความสะอาด และอปุ กรณป์ ูองกัน
อนั ตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสมกับการปฏบิ ัตงิ าน เชน่ ถุงมือ หนา้ กากผา้ เสอื้ ผ้าทจ่ี ะน้ามาเปลย่ี นหลงั ท้าความ
สะอาด

2) ทา้ ความสะอาดห้องนา้ หอ้ งสว้ ม อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 2 ครั้ง ด้วยนา้ ยาท้าความสะอาดทวั่ ไป พ้นื หอ้ ง
ส้วม ฆ่าเชือ้ โดยใช้ผลติ ภณั ฑฆ์ า่ เชื้อทม่ี ีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (นา้ ยาฟอกขาว) โดยนา้ มาผสมกบั น้า
เพือ่ ใหไ้ ดค้ วามเข้มขน้ 0.1% หรอื 1000 ส่วนในล้านส่วน หรือผลิตภัณฑฆ์ ่าเชื้อท่มี สี ว่ นผสมของไฮโดรเจนเปอร์
ออกไซด์ โดยน้ามาผสมกบั น้า เพื่อใหไ้ ด้ความเข้มข้น 0.59% หรอื 5000 ส่วนในลา้ นส่วนราดนา้ ยาฆา่ เชอ้ื ทง้ิ ไว้
อย่างน้อย 10 นาที เนน้ เช็ดบรเิ วณที่รองน่งั โถส้วม ฝาปดิ โถส้วม ทกี่ ดชกั โครก สายชา้ ระ ราวจบั ลูกบิดหรอื
กลอนประตู ท่แี ขวนกระดาษช้าระ อา่ งล้างมอื ขนั น้า กอ๊ กนา้ ที่วางสบู่ ผนงั ซอกประตู ด้วยผา้ ชุบนา้ ยา ฟอก
ขาว หรอื ใช้แอลกอฮอล์ 7096 หรอื ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5% คูม่ ือการปฏบิ ตั สิ า้ หรบั สถานศึกษาใน การ
ปอู งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19

3) หลงั ทา้ ความสะอาด มกี ารซกั ผา้ เชด็ ทา้ ความสะอาดและไม้ถูพ้ืน ด้วยนา้ ผสมผงซกั ฟอกหรอื น้ายา
ฆ่าเชือ้ แลว้ ซักด้วยน้าสะอาดอีกครั้ง และนา้ ไปฝง่ั แดดให้แหง้

3.4.6 หอ้ งพกั ครู
1) จัดโต๊ะ เกา้ อี้ หรือท่นี ง่ั ใหม้ กี ารเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อยา่ งนอ้ ย 1-2 เมตร โดยค้านงึ ถงึ

สภาพหอ้ งและขนาดพื้นที่ และจดั ทา้ สญั ลักษณ์แสดงจดุ ตา้ แหน่งชดั เจน โดยถือปฏิบตั ิตามหลัก Social
distancing อยา่ งเคร่งครดั

2) ให้ครสู วมหนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาทอี่ ยใู่ นสถานศกึ ษา
3) จดั ใหม้ ีการระบายอากาศทีด่ ี ใหอ้ ากาศถา่ ยเท เชน่ เปิดประตู หน้าตา่ ง กรณใี ช้เครื่องปรบั อากาศ
กา้ หนดเวลาเปดิ -ปิดเครอื่ งปรับอากาศ เปิดประตู หนา้ ตา่ งให้ระบายอากาศและท้าความสะอาดอยา่ งสม้่าเสมอ
4) ใหม้ ีการทา้ ความสะอาดโตะ๊ เกา้ อี้ อปุ กรณ์ และจุดสมั ผสั เสยี่ ง เช่น ลกู บิดประตู โทรศัพท์ อปุ กรณ์
คอมพิวเตอร์ เป็นต้น เป็นประจา้ ทกุ วัน อยา่ งน้อยวนั ละ 2 ครง้ั
5) จดั เตรยี มเจลแอลกอฮอลท์ า้ ความสะอาดมือสา้ หรบั ครูและผมู้ าตดิ ต่อบริเวณทางเข้าด้านหนา้ ประตู
และภายในหอ้ งอยา่ งเพียงพอและทวั่ ถึง

3.4.7 ห้องพยาบาล
1) จัดหาครหู รอื เจา้ หน้าที่ เพอื่ ดูแลนกั เรียน ในกรณีที่มนี กั เรยี นปวุ ยมานอนพกั รอผู้ปกครองมารบั
2) จดั ใหม้ ีพ้นื ท่ีหรือหอ้ งแยกอย่างชดั เจน ระหว่างนักเรียนปวุ ยจากอาการไข้หวัดกบั นักเรยี นปวุ ย จาก

สาเหตอุ ่นื ๆ เพ่ือปูองกนั การแพรก่ ระจายเช้อื โรค

คู่มือการปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หนา้ 23
โรงเรียนพนาศกึ ษา

ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศกึ ษา สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

3) ท้าความสะอาดเตียงและอปุ กรณข์ องใช้ทกุ วัน
4) จดั เตรยี มเจลแอลกอฮอลใ์ ชท้ ้าความสะอาดมอื บริเวณทางเข้าหนา้ ประตแู ละภายในหอ้ งพยาบาล
อย่างเพยี งพอ

3.4.8 โรงอาหาร
การจดั บรกิ ารภายในโรงอาหาร การนงั่ กนิ อาหารรว่ มกันของผใู้ ชบ้ รกิ าร รวมถงึ อาหาร ภาชนะ

อุปกรณ์ ตกู้ ดน้าดม่ื ระบบกรองน้าและผสู้ ัมผัสอาหาร อาจเป็นแหลง่ แพรก่ ระจายเช้ือโรค มีการดแู ลเพื่อลด
และปอู งกันการแพรก่ ระจายเชื้อโรค ดงั นี้

1) หนว่ ยงานที่จัดบรกิ ารโรงอาหาร กา้ หนดมาตรการการปฏบิ ัติให้สถานทสี่ ะอาด ถกู สขุ ลักษณะ ดังน้ี
(1) จดั ใหม้ อี า่ งลา้ งมือพร้อมสบู่ ส้าหรับให้บรกิ ารแกผ่ มู้ าใช้บรกิ ารโรงอาหารบรเิ วณก่อน

ทางเขา้ โรงอาหาร
(2) ทุกคนท่จี ะเขา้ มาในโรงอาหาร ต้องสวมหนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัย
(3) จัดให้มกี ารเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร ในพ้นื ท่ตี า่ ง ๆ เช่น ทนี่ ั่งกิน

อาหาร จดุ รบั อาหาร จดุ ซ้ืออาหาร จุดรอกดนา้ ดมื่ จุดปฏบิ ตั ิงานรว่ มกันของผสู้ ัมผัสอาหาร
(4) จดั เหล่ือมช่วงเวลาซอ้ื และกินอาหาร เพ่อื ลดความแออดั พื้นท่ีภายในโรงอาหาร
(5) ท้าความสะอาดสถานทีป่ รุง ประกอบอาหาร พ้นื ที่ตงั้ ต้กู ดนา้ ดื่ม และพ้ืนทีบ่ รเิ วณ ท่นี ่งั กนิ

อาหารใหส้ ะอาด ด้วยน้ายาทา้ ความสะอาดหรอื ผงซกั ฟอก และจดั ให้มีการฆ่าเช้อื ดว้ ย โซเดียมไฮโปคลอไรท์
(นา้ ยาฟอกขาว) ทม่ี ีความเข้มขน้ 1,000 ส่วนในล้านสว่ น (ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ 696

อตั ราสว่ น 1 ช้อนโตะ๊ ต่อน้า 1 ลติ ร)
(6) ท้าความสะอาดโตะ๊ และที่นง่ั ใหส้ ะอาด ส้าหรบั น่ังกนิ อาหาร ดว้ ยน้ายาท้าความสะอาด

หรือ จดั ให้มกี ารฆ่าเชื้อด้วยแอลกอฮอล์ 70% โดยหยดแอลกอฮอลล์ งบนผ้าสะอาดพอหมาด ๆ เชด็ ไปใน
ทิศทาง เดยี วกัน หลังจากผู้ใช้บรกิ ารทกุ คร้ัง

(7) ทา้ ความสะอาดภาชนะ อุปกรณ์ และเครอ่ื งใชใ้ หส้ ะอาด ดว้ ยน้ายาล้างจาน และมกี ารฆา่
เช้ือ ด้วยการแช่ในน้าร้อน 80 องศาเซลเซยี ส เป็นเวลา 30 วินาที หรือแชด่ ว้ ยโซเดยี มไฮโปคลอไรท์ (นา้ ยาฟอก
ขาว) ที่มคี วามเข้มขน้ 100 สว่ นในลา้ นสว่ น (ใชโ้ ซเดียมไฮโปคลอไรท์ 6% อตั ราสว่ น ครึ่งช้อนชาตอ่ น้า 1 ลิตร)
1 นาที แล้วล้างน้าให้สะอาด และอบหรอื พง่ึ ใหแ้ หง้ ก่อนนา้ ไปใชใ้ ส่อาหาร

(8) ทา้ ความสะอาดตู้กดน้าดมื่ ภายในตถู้ งั น้าเยน็ อยา่ งนอ้ ยเดอื นละ 1 ครง้ั เช็ดภายนอก
และ ก๊อกน้าดม่ื ให้สะอาดทุกวัน และฆ่าเช้อื ด้วยการแชโซเดยี มไฮโปคลอไรท์ (นํา้ ยาฟอกขาว) ที่มคี วามเข้มข้น
100 ส่วนในลา้ นสว่ น เปน็ เวลา 30 นาที ทุกครง้ั ก่อนบรรจุนา้ ใหม่ กรณที มี่ เี ครอ่ื งกรองน้า ทา้ ความสะอาดด้วย
การลา้ งและเปลีย่ นไสก้ รองตามระยะเวลากา้ หนดของผลติ ภัณฑ์ และตรวจเชค็ ความชา้ รดุ เสียหายของ ระบบ
ไฟฟูาที่ใชส้ ายดนิ ตรวจเชค็ ไฟฟูารั่วตามจุดตา่ ง ๆ โดยเฉพาะบรเิ วณก๊อกน้าท่ีถอื เป็นจุดเสีย่ ง เพอ่ื ปูองกัน ไฟฟาู
ดดู ขณะใช้งาน

(9) จัดบริการอาหาร เนน้ ปอู งกันการปนเปอ้ื นของเชื้อโรค เช่น อาหารปรงุ ส้าเรจ็ สุกใหม่ทุก
ครั้งการปกปดิ อาหารปรงุ สา้ เร็จ การใช้ภาชนะทเี่ หมาะสมกบั ประเภทอาหาร และจดั ใหม้ ีภาชนะอปุ กรณ์
ส้าหรบั การกนิ อาหารอย่างเพียงพอเปน็ รายบุคคล เชน่ จาน ถาดหลมุ ช้อน ส้อม แกว้ น้า เปน็ ต้น

คู่มือการปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝา้ ระวงั ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 24
โรงเรียนพนาศึกษา

ศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

(10) ประชาสัมพนั ธ์ใหค้ วามรู้ภายในโรงอการหาร เช่น การสวมหน้ากากท่ีถูกวิธี ข้ันตอนการล้าง

มือทีถ่ ูกตอ้ ง การเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล การเลือกอาหารปรุงสกุ ใหมส่ ะอาด เปน็ ต้น
(11) กรณมี ีการใชบ้ รกิ ารร้านอาหารจากภายนอก จัดสง่ อาหารให้กับสถานศึกษา ควรให้ครู หรือ

ผู้รับผดิ ชอบ ตรวจประเมินระบบสขุ าภิบาลอาหารของรา้ นอาหาร โดยก้าหนดขอ้ ตกลง การจัดสง่ อาหารปรุงสุก

พรอมกิน ภายใน 2 ช่ัวโมง หลังปรุงเสร็จ และมีการปกปิดอาหาร เพ่ือปูองกันการปนเป้ือนสิ่งสกปรกลงใน
อาหาร

(12) พจิ ารณาทางเลือกให้ผู้ปกครองสามารถเตรยี มอาหารกลางวันใหน้ ักเรียน มารับประทานเอง

เพือ่ ปอู งกนั เชื้อและลดการแพร่กระจายเช้ือ
2) ผู้สัมผสั อาหาร ต้องดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคล มีการปูองกันตนเองและปูองกันการแพร่กระจาย

เช้อื โรค ดงั น้ี

(1) กรณมี ีอาการปวุ ย ไข้ ไอ มนี า้ มูก เจบ็ คอ หายใจล้าบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลน่ิ ไม่รู้รส ให้หยดุ
ปฏิบัตงิ านและแนะน้าใหไ้ ปพบแพทยท์ ันที

(2) ดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล มีการปูองกันตัวเอง แต่งกายให้สะอาด สวมผ้ากันเป้ือนและ

อปุ กรณ์ปอู งกันการปนเปื้อนสู่อาหารในขณะปฏบิ ตั ิงาน
(3) รักษาความสะอาดของมือ ด้วยการล้างมือบ่อยๆ ด้วยสบู่และน้า ก่อนปฏิบัติงานและขณะ

เตรียมอาหารประกอบอาหาร และจ้าหน่ายอาหาร รวมถึงหลังจากการจับเหรียญหรือธนบัตร หรือสัมผัส

ส่งิ สกปรก อาจใช้เจลแอลกอฮอลทา้ ความสะอาดมือร่วมดว้ ย หลีกเล่ยี งการใช้มือสัมผัส ใบหน้า ตา ปาก จมูก
โดยไม่จา้ เปน็

(4) สวมหน้ากากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาขณะปฏิบัติงาน

(5) มพี ฤตกิ รรมขณะปฏบิ ัติงานการปอู งกนั ของเช้ือโรค เชน่ ใชอ้ ุปกรณ์ในการปรงุ ประกอบอาหาร
เช่น เขยี ง มดี การหยบิ จับอาหาร แยกระหว่างอาหารสกุ อาหารประเภท เนื้อสัตว์สด ผัก และ ผลไม้ และไม่
เตรยี มปรุง ประกอบอาหารบนพ้ืนโดยตรง

(6) จดั เมนูอาหารที่จ้าหนา่ ย โดยเนน้ อาหารปรุงสุกดว้ ยความรอ้ น โดยเฉพาะเน้ือสัตว์ ปรุงให้ด้วย
ความร้อนไม่นอ้ ยกวา่ 70 องศาเซลเซียส หลีกเล่ียงการจ้าหน่ายอาหารบูดเสียง่าย เช่น อาหารประเภทกะทิ
และอาหารท่ไี ม่ผ่านความรอ้ น เชน่ ซชู ิ เปน็ ตน้

(7) อาหารปรงุ สา้ เร็จ จดั เก็บในภาชนะสะอาด มีการปกปิดอาหารจัดเก็บสูงจากพ้ืน ไม่น้อยกว่า
60 เซนตเิ มตร กรณีอาหารปรุงส้าเร็จ รอการจ้าหน่าย ใหน้ ้ามาอนุ่ ทุก 2 ชวั่ โมง

(8) การใชภ้ าชนะบรรจุอาหารแบบใช้ครั้งเดียวท้ิงต้องสะอาดมีคุณภาพเหมาะสม กับการบรรจุ

อาหารปรงุ สา้ เร็จ และไม่ควรใช้โฟมบรรจุอาหาร
(9) ระหว่างการปฏบิ ัตงิ าน ให้มกี ารเว้นระยะหา่ งระหว่างบคุ คล อยา่ งนอ้ ย 1-2 เมตร
(10) ควรพิจารณาให้มีระบบช้าระเงินออนไลน์สา้ หรบั ผู้บริโภค

3) ผู้เข้ามาใช้บรกิ ารโรงอาหาร ต้องปอู งกันตนเองและปอู งกันการแพรก่ ระจายเช้อื โรค ดงั น้ี
(1) ล้างมือบ่อยๆดว้ ยสบู่และน้า หรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอลท้าความสะอาดมือทุกคร้ัง ก่อนเข้าไปใน

โรงอาหาร ก่อนกินอาหาร ภายหลังซ้ืออาหารหลังจากจับเหรียญหรือธนบัตร หลังจากสัมผัสสิ่งสกปรกหรือ

หลังออกจากหอ้ งสว้ ม
(2) ทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาท่ีอยู่ในโรงอาหารหรือ เข้าไปใน

สถานทจี่ ดั จ้าหนา่ ยอาหาร

คู่มือการปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝา้ ระวงั ป้องกันและควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 หนา้ 25
โรงเรยี นพนาศกึ ษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศกึ ษา สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

(3) เลือกซ้ืออาหารปรุงส้าเร็จสุกใหม่ หลีกเล่ียงการกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์
ท่ปี รุงไมส่ กุ และตรวจสอบคณุ ภาพของอาหารทนั ที เช่น สภาพอาหาร กลิ่น ความสะอาดและความเหมาะสม
ของภาชนะบรรจุ มกี ารปกปดิ มดิ ชิด ไม่เลอะเทอะ ไม่ฉกี ขาด เป็นตน้

(4) ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1-2 เมตร ในการซ้ืออาหาร ขณะรออาหาร
นัง่ กนิ อาหาร ขณะรอกดน้าด่มื

(5) พิจารณาเลอื กใชร้ ะบบการช้าระเงินแบบออนไลน์

3.4.9 รถรบั – สง่ นักเรยี น
1) ท้าความสะอาดรถรับ-ส่งนักเรียนและบริเวณจุดสัมผัสเสี่ยง เช่น ราวจับ ที่เปิดประตู เบาะนั่ง

ทว่ี างแขน ด้วยน้าผสมผงซกั ฟอก หรือนา้ ยาทา้ ความสะอาดท่ีมีสว่ นผสมของโซเดยี มไฮโปคลอไรท (น้ายาฟอก
ผ้าขาว) และปฏิบัติตามค้าแนะน้าบนฉลากผลิตภัณฑ์ (เช่น ผสมโซเดียมไฮโปคลอไรท ความเข้มข้น 6%
ปรมิ าณ 20 มิลลลิ ิตร ตอ่ น้า 1 ลิตร)

2) นกั เรียนที่ใชบ้ รกิ ารรถรบั -ส่งนักเรียน ต้องสวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัยตลอดเวลาท่ีอยู่บน
รถ ลดการพูดคุยกนั เลน่ หยอกลอ้ กัน รวมถึงกา้ หนดจดุ รบั -ส่งนกั เรยี นสา้ หรบั ผปู้ กครอง

3) การจัดทน่ี ัง่ บนรถรบั -สง่ นกั เรียน จดั ให้มีการเวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคล อยา่ งนอ้ ย 1-2 เมตร โดย
คา้ นึงถงึ ขนาดพ้ืนที่ของรถ จ้านวนท่ีน่ังพิจารณาตามคุณลักษณะของรถและความเหมาะสม จัดท้าสัญลักษณ์
แสดงจุดต้าแหนง่ ชัดเจน โดยยึดหลกั Social distancing อยา่ งเคร่งครัด

4) กอ่ นและหลังให้บริหารรับ-ส่งนักเรียนแต่ละรอบ ท้าความสะอาดภายในและภายนอกรถทุกครั้ง
เปดิ หนา้ ตา่ ง ประตู ระบายอากาศให้อากาศถา่ ยเทได้สะดวก

5) จัดใหม้ ีเจลแอลกอฮอลส้าหรบั ใชท้ า้ ความสะอาดมือบอ่ ยๆ บนรถรบั -สง่ นักเรยี น

3.4.10 การเข้าแถวเคารพธงชาติ
1) การจัดพนื้ ทเ่ี ข้าแถว ใหม้ ีการเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคล อยา่ งน้อย1-2 เมตร กรณมี พี ้นื ท่ีจ้ากัด ไม่

เพยี งพอ สลบั ชน้ั เรยี นมาเข้าแถวบริเวณหน้าเสาธง และจัดให้มีการเขา้ แถวบรเิ วณท่ีมีพื้นทก่ี วา้ งขวาง เช่น หนา้
หอ้ งเรียน ลานเอนกประสงค์ ลานสนามกีฬา โรงยมิ หอประชมุ เป็นต้น

2) ครแู ละนักเรยี นทุกคนสวมหน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาการเขา้ แถวเคารพธงชาติ
3) ลดระยะเวลาการจดั กิจกรรมหน้าเสาธง กรณีมีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ มีการใช้ช่องทางอ่ืน ๆ
เช่น เสียงตามสาย ผา่ นออนไลน์ Line Facebook E-mail แจง้ ในหอ้ งเรียน เป็นต้น
4) ท้าความสะอาดอุปกรณ์ของใช้หรือจุดสัมผัสเส่ียงภายหลังการใช้งานทุกครั้ง เช่น เชือกท่ีใช้
ชักธงชาติ ไมโครโฟน เป็นตน้

คู่มือการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝา้ ระวัง ป้องกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 26
โรงเรยี นพนาศกึ ษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศกึ ษา สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

ส่วนที่ 4

แนวทางการจดั การเรียนการสอน
ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

(Covid-19)

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หนา้ 27
โรงเรียนพนาศึกษา

ศูนยบ์ ริหารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศกึ ษา สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

สว่ นท่ี 4
แนวทางการจดั การเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด

ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)

แนวทางการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(Covid-19) ท่ีก้าหนดไว้นี้ สถานศึกษาควรพิจารณาเลือกจัดการเรียนการสอนโดยพิจารณารูปแบบให้มี
ความเหมาะสม ตามความต้องการของสถานศึกษา และให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
นอกจากน้ี สถานศกึ ษาสามารถที่จะกา้ หนดแนวทางการการจดั การเรียนการสอนท่ีแตกต่างจากที่ก้าหนดไว้น้ี
หรือจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Hybrid) ท้ังนี้ต้องค้านึงถึงความปลอดภัยของนักเรียน ครู และ
บคุ ลากร เป็นสา้ คญั โรงเรยี นพนาศึกษากา้ หนดแนวทางดา้ เนินการจดั การเรียนการสอน ดงั นี้

ระยะท่ี 1 การเตรียมความพร้อม (17 พฤษภาคม - 31 พฤษภาคม 2564)
1. ส้ารวจความพร้อมในด้านต่าง ๆ เพ่ือเตรียมข้อมูลพ้ืนฐานให้ชัดเจน เช่น ส้ารวจความพร้อม

การเข้าถึงการรับชมช่องทางการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จ้าเป็น ต่อการใช้งานระบบ
ดาวเทยี ม (Satellite), ระบบดจิ ิทัลทวี ี(Digital TV), ระบบเคเบิ้ลทีวี(Cable TV), ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
จาก IPTV และ Application โดยการส้ารวจให้สถานศึกษาด้าเนินการส้ารวจข้อมูลตามความจ้าเป็น และ
เตรียมข้อมูลเพื่อรายงานหน่วยงานตน้ สงั กดั และหนว่ ยงานในระดบั สงู ตอ่ ไป

2. จดั กลุ่มความพรอ้ มการเขา้ ถึง ตามขอ้ 1) โดยอาจจะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่มี
ความพรอ้ ม 100% กลุ่มที่ 2 กลมุ่ ท่ีมีความพร้อมปานกลาง 50% กลุ่มท่ี 3 กลุ่มที่มีความพร้อมน้อยหรือไม่มี
ความพร้อม หลังจากการจัดกลุ่มความพร้อมการเข้าถึง สถานศึกษา หาวิธีการหรือแนวทางจัดระบบดูแล
ชว่ ยเหลือ กลุม่ ทมี่ ีความพรอ้ มปานกลาง และกลมุ่ ท่ีมคี วามพร้อมนอ้ ยหรอื ไมม่ ีความพรอ้ ม

3. ส้ารวจความพร้อมของผู้ปกครองด้านเวลา พร้อมจัดกลุ่มความพร้อมด้านเวลาของผู้ปกครอง
ตลอดจน หาวธิ ีการหรือแนวทางจัดระบบดแู ลชว่ ยเหลือกลุม่ ทมี่ ีความพรอ้ มนอ้ ย

4. จดั ระบบสื่อสาร ระหว่างสถานศึกษากบั ผู้ปกครอง โดยศกึ ษารายละเอียดเอกสารฉบบั นีใ้ นส่วนท่ี 3
ชอ่ งทาง/เครือ่ งมอื ในการจดั การเรียนการสอน

5. จดั ประชมุ ช้แี จงท้าความเข้าใจกบั คณะครูและผปู้ กครอง ด้วยวธิ กี ารทีห่ ลากหลาย เช่น Facebook
Live, YouTube Live, VDO Conference ท่ีเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาภายใต้เงื่อนไขของศบค.
จังหวัด

6. ประสานขอความร่วมมือกับเครือข่ายต่าง ๆ เพอื่ ร่วมกันจดั การเรยี นการสอนใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุด
เช่น คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน อาสาสมัครสาธารณสุขประจ้าหมู่บ้าน (อสม) การศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (กศน) องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (อปท) เปน็ ต้น

คู่มือการปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝา้ ระวัง ปอ้ งกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หนา้ 28
โรงเรยี นพนาศกึ ษา

ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศกึ ษา สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

ระยะท่ี 2 การจัดการเรียนการสอน (1 มิถุนายน - 13 มิถุนายน 2564)
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3) สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ

ON AIR, ON LINE, ON HAND และON DEMAND ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ด้วยเคร่ืองมือการเรียนรู้
ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา เช่น Google Classroom, Line, Facebook Live เป็นต้น
ทง้ั น้ีขนึ้ อยู่กบั ความเหมาะสมของเนือ้ หาในรายวชิ า

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4-6) สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ
ON LINE, ON HAND และ ON DEMAND ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้วยเครื่องมือการเรียนรู้ตาม
ความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา เช่น Google Classroom, Line, Facebook Live เป็นต้น
ท้ังนี้ขน้ึ อยกู่ บั ความเหมาะสมของเน้ือหาในรายวิชา สถานศึกษาต้องเตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ เพื่อให้
การจดั การเรียนการสอนด้าเนินได้ตามความต้องการ พร้อมแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดข้ึนในการเรียนการสอน
และรายงานผลการปฏบิ ตั เิ ป็นระยะ ๆ ตามที่หนว่ ยงานตน้ สังกดั ก้าหนด

ระยะท่ี 3 การจัดการเรยี นการสอน (14 มถิ นุ ายน 2564 - 31 มีนาคม 2565)
สถานการณท์ ี่ 1 กรณกี ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยังไม่คล่ีคลาย

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จัดการเรียนการสอนด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV (ระบบดาวเทียม, ระบบดิจิทัล
ทีวี, ระบบเคเบ้ิลทีวี, ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดการเรียนการสอนด้วย
วีดิทัศน์การสอนโดยครูต้นแบบ www.deep.go.th และระบบออนไลน์ด้วยเครื่องมือการเรียนรู้ตาม
ความเหมาะสมและบรบิ ทของสถานศึกษา

สถานการณ์ที่ 2 กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คล่ีคลาย
จะจัดการเรียนการสอนปกติในโรงเรียน โรงเรียนสามารถจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบท
ของตนเองได้ เชน่ สลับการมาเรยี นของนักเรยี นโดยแบง่ กลุ่ม A, B แต่ละระดับชั้น จัดการเรียนการสอนแบบ
ON-SITE มาเรียนครบชั้น เป็นตน้ โดยให้เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) และมีแผนเตรียมการ
เพ่ือรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ โดยจะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด ซ่ึงมี
ผู้วา่ ราชการจงั หวัดเป็นประธาน

ระยะที่ 4 การทดสอบและการศกึ ษาตอ่ (1 เมษายน - 15 พฤษภาคม 2565)
สถานศึกษาเฝูาติดตามข่าวสาร จากส้านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี

อ้านาจเจริญ และส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน อย่างต่อเนื่องเก่ียวกับการวัดผลและ
ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ตลอดจนการเข้าศึกษาต่อ โดยขณะนี้ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้นั พืน้ ฐานจะประสานงานกับหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้องกบั การทดสอบและคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ น่ันคือ กระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมเก่ียวกับระบบคัดเลือกเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (TCAS
GAT PAT) และสถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติเกี่ยวกับการทดสอบ O-net ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และ
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ว่าจะมีแนวทางหรือรูปแบบการด้าเนินการอย่างไรต่อไป อย่างไรก็ตามสถานศึกษาได้
ดา้ เนินการจัดการเรยี นการสอนตรงตามตัวชวี้ ดั ในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รวมถึงปีการศึกษา
2564 น้ี การจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ในสาระที่ 4 เทคโนโลยีที่มีวิชา
ออกแบบเทคโนโลยแี ละวชิ าวทิ ยาการค้านวณ จะตอ้ งมกี ารจัดการเรียนการสอนครบทุกระดบั ชั้น

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝา้ ระวงั ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 หน้า 29
โรงเรียนพนาศกึ ษา

ศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

ภาคผนวก

คู่มอื การปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกันและควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 หน้า 30
โรงเรียนพนาศกึ ษา

ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศกึ ษา สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

มาตรการการปอ้ งกนั การเเพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควดิ 19)
โรงเรียนพนาศึกษา

คู่มอื การปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝ้าระวัง ปอ้ งกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 31
โรงเรียนพนาศกึ ษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝ้าระวงั ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 32
โรงเรยี นพนาศึกษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝ้าระวงั ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 33
โรงเรยี นพนาศึกษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝ้าระวงั ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 34
โรงเรยี นพนาศึกษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝ้าระวงั ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 35
โรงเรยี นพนาศึกษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝ้าระวงั ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 36
โรงเรยี นพนาศึกษา

ศนู ยบ์ ริหารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝ้าระวงั ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 37
โรงเรยี นพนาศึกษา

ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศึกษา สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

เอกสารอา้ งองิ

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ . (2564). คมู่ อื การปฏบิ ตั ิมาตรการ Sandbox Safety Zone in
School เปดิ เรยี นมัน่ ใจ ปลอดภยั ไรโ้ ควดิ 19 ในสถานศึกษา. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ . (2563). คู่มอื การปฏิบัตสิ าํ หรับสถานศกึ ษา ในการปอ้ งกันการแพร่
ระบาดของโรคโควิด 19. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2564) ประกาศ

คู่มอื การปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝา้ ระวงั ป้องกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หน้า 38
โรงเรียนพนาศึกษา

ศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศกึ ษา สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

คณะทางาน

ท่ปี รกึ ษา ผูอ้ า้ นวยการโรงเรยี นพนาศึกษา

1. นายอชริ ะ วริ ิยสุขหทัย รองผอู้ ้านวยการโรงเรยี นพนาศกึ ษา
รองผอู้ า้ นวยการโรงเรียนพนาศกึ ษา
2. นางสาวโฉมสดุ า บญุ ล้อม รองผู้อา้ นวยการโรงเรียนพนาศกึ ษา
3. นายกฤชนนท์ บญุ รอด
4. นางนัทธมน ผลทวี

คณะทางานหลัก หวั หน้างานอนามยั และหอ้ งพยาบาลโรงเรียน
รองหวั หน้างานอนามัยและหอ้ งพยาบาลโรงเรยี น
1. นางสาววารุณี สืบผล เจ้าหน้าที่งานอนามยั และห้องพยาบาลโรงเรยี น
2. นางสาวจติ ตรา มทุ า
3. นางจรนิ ทรท์ พิ ย์ ทองสงิ ห์ เจ้าหน้าทง่ี านอนามัยและห้องพยาบาลโรงเรยี น
เจ้าหน้าทงี่ านอนามัยและห้องพยาบาลโรงเรียน
4. นางอา้ พันธ์ บนั ลือ เจ้าหนา้ ทง่ี านอนามยั และหอ้ งพยาบาลโรงเรียน
5. นายสนุ นั อนิ ทบุตร
6. นางชดิ ชนก ไชยขาว เจา้ หน้าทีง่ านอนามัยและหอ้ งพยาบาลโรงเรียน
เจ้าหนา้ ทง่ี านอนามัยและหอ้ งพยาบาลโรงเรียน
7. นางสาวพทุ ธดิ า อินหงษา เจ้าหน้าท่ีงานอนามยั และห้องพยาบาลโรงเรียน
8. สิบเอกวุฒิชัย สงั คะสี
9. นางสาวเกศรินทร์ ปะวะกลุ เจ้าหนา้ ท่ีงานอนามัยและห้องพยาบาลโรงเรยี น
เจ้าหนา้ ที่งานอนามัยและห้องพยาบาลโรงเรียน
10. นายจตุพงศ์ สาระรัตน์
11. นายกษดิ ิศ ตน้ งอ

คู่มือการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หน้า 39
โรงเรียนพนาศึกษา

ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศึกษา สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

คานา

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019: COVID-19) มีการระบาดในวงกว้าง
โดยเมือ่ วันท่ี 30 มกราคม พ.ศ. 2563 องค์การอนามัยโลกได้ประเมนิ สถานการณ์และประกาศให้โรคโควิด 19
เปน็ ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหวา่ งประเทศ (Public Health Emergency of International Concern)
โดยแนะนา้ ใหท้ กุ ประเทศเรง่ รดั การเฝูาระวังและปูองกันความเสยี่ งจากโรคโควดิ 19 และประเทศไทย ไดม้ กี าร
พบผูป้ ุวยตดิ เชื้อจ้านวนมาก ดังน้ัน เพื่อลดความเสี่ยงของประชาชนทุกคนต่อการสัมผัสเช้ือโรคและปูองกัน
ไมใ่ ห้ประชาชนไดร้ ับผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ ต้องให้ความส้าคัญต้ังแต่การรักษาสุขวิทยาส่วนบุคคล โดยเฉพาะ
ในประชาชนกลุ่มเสี่ยง ท้ังเด็ก ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรคประจ้าตัว รวมถึงการจัดการด้านอนามัยส่ิงแวดล้อม
อย่างถกู สขุ ลักษณะและเหมาะสมในทกุ พื้นที่ โดยเฉพาะพ้นื ที่สาธารณะ

สา้ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตระหนักถึงความส้าคัญในการ
ดูแลนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา จึงได้ให้โรงเรียนสังกัดส้า นักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จัดท้าแนวทางการจัดการเรียนการสอนและมาตรการปูองกันในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศกึ ษา 2564 สถานศึกษาเป็นสถานที่ท่ีมีนักเรียน
อยูร่ วมกันจ้านวนมาก มกั จะมีความเส่ียงสงู หากมีระบบการจัดการที่ไมด่ อี าจจะมีการแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรสั
โคโรนา ได้ในกลุม่ เดก็ เน่ืองจากพบวา่ การตดิ เช้ือส่วนใหญจ่ ะไม่ค่อยมีอาการหรือมีอาการแสดง ค่อนข้างน้อย
ความรุนแรงจะนอ้ ยมาก แต่เด็กนกั เรียนจะเอาเช้ือกลับบา้ น อาจท้าให้การแพร่ระบาดเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว
(Super spread) ไปยังบุคคลในบ้าน หากมีการระบาดในกลุ่มเด็กขึ้นจะมีผลกระทบในสังคมหรือผู้ใกล้ชิด
เช่น ครู พอ่ แม่ ผูส้ ูงอายุ ที่ตดิ เช้อื จากเด็ก ดงั น้ัน หากมีการเปิดเรียนมีโอกาสสูงทจ่ี ะเกดิ การติดเชื้อในกลุ่มเด็ก
เพ่ิมมากขน้ึ ซึ่งเดก็ เปน็ กลุ่มท่ตี ้องไดร้ ับการดแู ลและระมดั ระวังในการกระจายเชื้อเป็นอย่างมาก มาตรการใน
การเปดิ เทอมจงึ มีความสา้ คัญมากในการควบคุมการระบาด โรงเรยี นพนาศึกษา จงึ ไดจ้ ดั ท้าคมู่ อื การปฏบิ ตั ติ าม
มาตรการเฝูาระวัง ปอู งกนั และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียน
พนาศึกษา ปีการศึกษา 2564 เพื่อเป็นการปูองกันและควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรคได้ และเพ่ือเป็น
แนวทางในการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรยี นอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

นายอชริ ะ วริ ยิ สขุ หทยั
ผู้อ้านวยการโรงเรยี นพนาศกึ ษา
ส้านักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาอบุ ลราชธานี อ้านาจเจริญ

คู่มอื การปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝา้ ระวัง ป้องกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หนา้ ก
โรงเรียนพนาศกึ ษา

ศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศกึ ษา สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

สารบัญ

เรอ่ื ง หน้า
คานา ............................................................................................................................... ก

สารบัญ ........................................................................................................................... 1
ส่วนที่ 1 ความรู้เบอ้ื งต้นทคี่ วรรู้ ............................................................................. 2
2
โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คืออะไร .............................................. 2
2
อาการของผู้ปวุ ยโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) .................................. 3
โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) แพรก่ ระจายเชอ้ื ได้อย่างไร ................. 5
โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รักษาไดอ้ ยา่ งไร .................................. 6
7
วคั ซนี ....................................................................................................................... 8
โรงเรยี น Sandbox : Safety Zone in School .................................................... 11
ส่วนที่ 2 แนวปฏบิ ตั กิ ารเตรียมการกอ่ นเปิดภาคเรียน ............................................. 14
15
การประเมนิ ความพรอ้ มก่อนเปิดเรียน .................................................................... 15
กรอบการประเมิน Thai Stop Covid Plus …………………………………………………… 20
แนวทางการเตรียมความพรอ้ ม ............................................................................... 21

สว่ นท่ี 3 แนวปฏบิ ตั ิระหว่างเปดิ ภาคเรยี น .............................................................. 27
หลักปฏิบตั ิในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา ............. 28
บทบาทของบคุ ลากรและหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ....................................................... 29
29
บทบาทขององคก์ รสนบั สนุน ................................................................................... 29
แนวปฏบิ ัตดิ ้านอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม .......................................................................... 30
ส่วนท่ี 4 แนวทางการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ 38
39
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ..............................................
ระยะที่ 1 การเตรยี มความพรอ้ ม ............................................................................
ระยะท่ี 2 การจดั การเรยี นการสอน .........................................................................

ระยะที่ 3 การจดั การเรยี นการสอน .........................................................................
ระยะที่ 4 การทดสอบและการศกึ ษาตอ่ .................................................................
ภาคผนวก .................................................................................................................

เอกสารอา้ งองิ ............................................................................................................
คณะทางาน ...............................................................................................................

คู่มอื การปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝ้าระวัง ปอ้ งกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หนา้ ข
โรงเรยี นพนาศกึ ษา

ศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรยี นพนาศกึ ษา สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาอบุ ลราชธานี อานาจเจรญิ

คู่มอื การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019
โรงเรียนพนาศึกษา


Click to View FlipBook Version