The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์โควิด 19

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์โควิด 19

คู่มือการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์โควิด 19

คํานาํ

จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย ระลอก
ท่ี 3 นี้ สง่ ผลใหม้ ีการแพร่ระบาดเพ่มิ มากข้ึนและขยายวงกวา้ งขนึ้ เรื่อย ๆ ในทกุ พน้ื ทข่ี องประเทศไทย

กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้เตรียมความพร้อมในการรับมือจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยจัดให้มีการจัดการเรียนการสอนทางไกลและแบบผสมผสาน เพ่ือรองรับ
การเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 และสอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
COVID-19

ดังน้ัน โรงเรียนพนาศึกษา จึงได้จัดทําคู่มือ “การจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนพนาศึกษา” ขึ้น เพ่ือใช้เป็นแนว
ทางการจัดการเรียนการสอนสําหรับครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้ที่เก่ียวข้องได้สร้างความรู้ ความเข้าใจ อีก
ทั้งได้ทราบบทบาท หน้าที่ของตนเองอย่างถูกต้องและชัดเจน รวมถึงใช้เป็นส่ือ ในการประสานงานกับบุคคล
ชมุ ชน หรือหน่วยงาน ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง เพ่อื ให้บรรลเุ ป้าหมายของการจดั การเรยี นการสอน

กลุม่ บริหารวชิ าการ
โรงเรยี นพนาศึกษา

สารบัญ

เรอ่ื ง หนา้

ส่วนท่ี 1 บทนาํ 1
1.1 ความเป็นมา 2
1.2 นโยบายรฐั มนตรกี ระทรวงศึกษาธิการ 5

1.3 แนวปฏิบัติสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 9
10
ส่วนท่ี 2 บทบาทหน้าที่ของผู้เกยี่ วข้อง 10
11
2.1 บทบาทผู้บริหารสถานศึกษา 11

2.2 บทบาทครมู ธั ยมศึกษาตอนต้น 13
20
2.3 บทบาทครมู ัธยมศกึ ษาตอนปลาย 20
21
2.4 บทบาทนกั เรยี น 22

2.5 บทบาทผปู้ กครอง 24

ส่วนท่ี 3 ชอ่ งทาง/เครอ่ื งมือ ในการจัดการเรียนการสอน 25

3.1 การเรยี นการสอนด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV 28

3.2 แหล่งเรยี นรูอ้ อนไลน์ (Online)

3.3 เครือ่ งมอื ส่ือสารแบบสองทาง (VDO Conference)

3.4 เคร่อื งมอื การจัดการเรียนการสอน

สว่ นที่ 4 แนวทางดําเนนิ การจัดการเรยี นการสอนของโรงเรยี นพนาศกึ ษา

QR Code กลมุ่ Line การเรียนการสอน เพ่อื ใชต้ ิดต่อสอ่ื สารกบั นักเรียนและผู้ปกครอง
โรงเรียนพนาศึกษา อำเภอพนา จงั หวัดอำนาจเจริญ
ภาคผนวก ก ประกาศโรงเรียนพนาศึกษาเร่ือง แนวปฏิบตั ิสำหรบั ขา้ ราชการและนักเรียน

โรงเรยี นพนา ศกึ ษา ในการเปิดภาคเรียนท่ี 1/2564
ภาคผนวก ข ประกาศโรงเรยี นพนาศึกษาเรื่อง แนวปฏบิ ตั ิการให้ความร่วมมอื ตามมาตรการเฝ้า

ระวงั ป้องกนั และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ -19)

สว่ นท่ี 1
บทนํา

1.1 ความเปน็ มา
เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กระทรวงศึกษาธิการ
ได้ให้สถานศึกษาในสังกัดและในกํากับปิดเรียนด้วยเหตุพิเศษ พร้อมทั้งให้ส่วนราชการต้นสังกัดกําหนดแนวทาง
แก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนท่ีไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
จึงไดจ้ ัดรูปแบบการเรียนการสอนทางไกลในกรณีที่ไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติข้ึน เพ่ือความปลอดภัยของนักเรียน
ผู้ปกครอง และบุคลากรท่ีเก่ียวข้อง กระทรวงศึกษาธิการจึงกําหนดเปิดเรียน ปีการศึกษา 2564 ในวันที่ 1 มิถุนายน
2564 เปน็ ตน้ ไป
แนวทางหลักของการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) สพฐ. ได้กำหนดรูปแบบการเรยี นการสอน ด้วยวิธกี ารสอนใน 5 รปู แบบ ไดแ้ ก่ 1. การเรยี นปกติทีโ่ รงเรียน
(ON-SiTE) 2. การเรียนการสอนผ่านทีวี (ON-AIR) ผ่านระบบดาวเทียม KU-BAND (จานทึบ) ช่อง 186-200 ระบบ
เคเบิลทีวี (Cable TV) และระบบ IPTV 3. การเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต (ONLINE) ผ่านทางระบบ Video
Conference ระบบอินเทอร์เน็ตของโรงเรียน และระบบอ่ืนตามที่ สพท. จัดเตรียมให้ 4. การเรียนการสอนแบบ ON–
DEMAND ผ่านทางเว็บไซต์ DLTV (www.dltv.ac.th) ช่อง Youtube (DLTV Channel 1-15) และแอปพลิเคช่ัน
DLTV บนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต 5.การเรยี นการสอนแบบ ON-HAND สำหรับนกั เรียนท่ไี ม่มีความพร้อมด้านอปุ กรณ์
การรับชม โดยการนำหนังสือ แบบฝึกหัด ใบงาน ไปเรียนรู้ที่บ้านภายใต้ความช่วยเหลือของผู้ปกครอง ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับ
บริบทของแตล่ ะสถานศึกษาในการจัดการเรยี นการสอน
1.2 นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ

1

2

3

4

1.3 แนวปฏบิ ัตสิ ํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
นายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (กพฐ.) มอบนโยบายเตรียมการก่อนเปิด
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ผ่านระบบ Video Conference แก่ผ้อู ำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา (สพท.)
และผู้อำนวยการโรงเรียนทั่วประเทศว่า ตามท่ี น.ส.ตรีนุช เทียนทอง รมว.ศึกษาธิการ มีความห่วงใยความปลอดภัย
สูงสุดของนักเรยี น ครู และผู้ปกครอง กระทรวงศึกษาธกิ าร (ศธ.) จึงได้พิจารณาเสนอเรื่องการเลอ่ื นเปิดภาคเรียนท่ี 1 ปี
การศึกษา 2564 จากวันที่ 1 ม.ิ ย.ออกไปเป็นวันท่ี 14 มิ.ย. เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โค
โรนา 2019 ระลอกใหม่ทั่วประเทศยังมีความรุนแรง ดังนั้นจึงต้องเล่ือนการเปิดเทอมออกไป เพ่ือความปลอดภัยของ
นกั เรียน นักศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา ลดความเสี่ยงกบั การตดิ เชื้อโควดิ -19 อีกท้ังให้มรี ะยะเวลารับการฉีด
วัคซีนของครูและบุคลากรทางการศึกษา และรองรับการย้ายสถานศึกษาของนักเรียนในแต่ละช่วงช้ันเลขาธิการ กพฐ.
กลา่ วอีกวา่ สำหรบั การเปิดภาคเรยี นท่เี ลื่อนไปเปน็ วันท่ี 14 ม.ิ ย.นี้ มเี งอ่ื นไข 3 ประการ คอื
1.ในพื้นที่สีแดงเข้ม 4 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ นนทบุรี สมุทรปราการ และปทุมธานี ยังไม่อนุญาตให้เปิดการ
เรียนการสอนแบบ On-Site คือ ไม่อนุญาตให้เด็กมาเรียนที่โรงเรียนรวมถึงการใช้อาคารสถานท่ี และให้เปิดภาคเรียน
ในวันท่ี 14 มิ.ย.นีเ้ ทา่ นนั้
2.จังหวัดอ่ืนสามารถเลื่อนการเปิดภาคเรียนไปได้เช่นเดียวกัน โดยให้ทำการประเมินตนเองบนพื้นฐานความ
พร้อมโดยผู้อำนวยการโรงเรียนร่วมกับคณะครู และกรรมการสถานศึกษา หากมีความประสงค์ที่จะเปิดเรียนก่อนวันท่ี
14 มิ.ย. ให้ทำเรื่องเสนอคณะกรรมการควบคุมโรคจังหวัดนั้นๆพิจารณา และหากให้ความเห็นชอบ โรงเรียนก็สามารถ
เปดิ สอนแบบ On-Site ได้ แต่มาตรการรักษาความปลอดภัยก็ยงั ตอ้ งปฏิบัติตามอยา่ งเคร่งครัด
3.โรงเรียนพื้นที่สีแดงเข้ม 4 จังหวัด ต้องการเปิดสอนออนไลน์ ซึ่งต้องมีครูมาสอนออนไลน์ และมีความ
จำเป็นต้องใช้อาคารสถานท่ี โรงเรียนจะต้องเสนอแผนมาตรการท่ีครูสามารถมาสอนได้อย่างปลอดภัย และต้องมาไม่
เกิน 20 คน โดยดำเนินการเสนอมายัง สพท. เพ่ือเสนอ สพฐ.นำแผนเสนอขอ ศบค.พิจารณา เมื่อได้รับอนุญาต
โรงเรียนจึงจะเปิดเรียนออนไลน์ได้ ส่วนโรงเรียนท่ีไม่อยู่ใน 4 จังหวัดพื้นท่ีสีแดงเข้ม และจะมีการเปิดเรียน On-Site
หากอยู่ในพื้นที่เสี่ยง อาจต้องใช้วิธีการสลับมาเรียน หรือรูปแบบอ่ืน โดยคำนึงถึงความปลอดภัย และว่าส่วนเวลาเรียน
ทดแทนให้อยใู่ นดุลพินจิ ของแต่ละโรงเรียนว่าจะชดเชยอยา่ งไรเพ่ือให้ได้เวลาเรยี นครบถว้ นตามหลักสตู ร

นายอมั พร พินะสา
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

5

6

7

8

สว่ นท่ี 2

บทบาทหนา้ ท่ีของผู้เก่ียวขอ้ ง

บทบาทผู้บริหารสถานศึกษา

1) ขน้ั เตรยี มความพร้อม
▪ วางแผนการดาํ เนนิ การ
▪ แต่งตงั้ คณะกรรมการ
▪ สาํ รวจความพร้อม
▪ วางแผนพัฒนา
▪ ใหค้ วามช่วยเหลือ
▪ ดาวน์โหลดและจดั พิมพเ์ อกสาร
▪ แบ่งครรู ับผิดชอบ
▪ ประชาสมั พันธ์
▪ ประสานงานหนว่ ยงานภายนอก
▪ จัดหาสื่อสิ่งอํานวยความสะดวกแก่คณะครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
▪ จัดงบประมาณสนบั สนุนการทาํ แฟ้ม
▪ เพม่ิ ชอ่ งทางการส่อื สารตอบข้อสงสยั
▪ สร้างขวัญกําลงั ใจให้แก่คณะครู

2) ขน้ั กาํ กับติดตามช่วยเหลือแก้ปัญหา
▪ 08:15 น. ตรวจสอบการเตรยี มความพร้อมของครู
▪ 08:30 น. ถงึ 15:30 น. ควบคมุ ตรวจสอบการจัดการเรียนการสอน
▪ ตดิ ต่อสื่อสารกับผู้ปกครองและนกั เรยี น เพอื่ ช่วยเหลอื ตดิ ตาม แกป้ ัญหา
▪ นดั พบครู อยา่ งน้อยสปั ดาหล์ ะ 1 ครัง้

3) ขั้นประเมินผลการเรียนการสอน
▪ ตรวจบันทึกหลังการจัดการเรียนการสอน
▪ วิเคราะหผ์ ลการดาํ เนินงาน เพอ่ื พัฒนาปรับปรงุ แกไ้ ข
▪ รายงานผลการจดั การเรยี นการสอนตอ่ ผู้อำนวยการสปั ดาห์ละ 1 ครงั้

9

บทบาทครูมัธยมศึกษาตอนต้น

1) ขนั้ เตรียมความพรอ้ ม
▪ สํารวจความพร้อม
▪ จดั ตง้ั กลุม่ สอ่ื สารทางไกล (Line/Facebook/ตามบรบิ ท)
▪ สรา้ งความเข้าใจกับผู้ปกครอง
▪ ศึกษาเอกสารและดาวนโ์ หลด
▪ จดั พมิ พเ์ อกสารการจดั การเรียนการสอน และนัดหมายสง่ เอกสาร อย่างน้อย 1 ครงั้ /สัปดาห์

2) ข้นั จัดการเรยี นการสอนทางไกล
▪ 08.00 น. เตรียมความพรอ้ ม/ตรวจสอบจํานวนนักเรยี นเขา้ เรียน
▪ 08:30 น. ถงึ 13:30 น. ดูแลการเรยี นการสอน 10 นาที (หลังจากเรียนแต่ละรายวิชา ส่อื สาร
ผา่ นผู้ปกครองและนักเรียนโดยตรง)
▪ 13:30 น. ถงึ 15:30 น. ตดิ ต่อส่อื สารรายวนั /สรุปการจัดการเรียนการสอนร่วมกนั ตาม
ชอ่ งทางทน่ี ัดหมาย เช่น Line/Facebook/VDO Conference/ตามบริบท " บันทึกผลหลงั
การสอน

3) ขน้ั พบปะนกั เรียนและผูป้ กครองรายสัปดาห์
▪ ครูพบปะกับนักเรียนและผปู้ กครอง ตามท่ีนัดหมาย
▪ ครูสอบถามปญั หาท่ีเกิดขึ้นในระหว่างการจดั การเรยี นการสอน

4) ขั้นวัดและประเมนิ ผลการเรยี นการสอนทางไกล
▪ ตรวจใบงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน
▪ ทดสอบหลงั จบหน่วยการเรยี นรู้ (ผ่านอินเทอร์เนต็ /Google form/หรืออื่นๆ ทสี่ ามารถทําได้

บทบาทครมู ัธยมศึกษาตอนปลาย

1) ขั้นเตรยี มความพรอ้ ม
▪ สาํ รวจความพร้อม
▪ จัดตั้งกล่มุ ส่ือสารทางไกล (Line/Facebook/ตามบริบท)
▪ สร้างความเข้าใจในการใชส้ อ่ื สพฐ.
▪ ศกึ ษาเอกสารและดาวน์โหลด- ส่ือ สพฐ. 30 นาที

- เรยี นรูห้ ลงั จบ

- ส่ือ สพฐ. 20 นาที
▪ สรา้ งชอ่ งทางการติดต่อสอื่ สาร (ตามบริบทของพืน้ ที่)
▪ ครอู อกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ (ตวิ ฟรี.com หรอื อืน่ ๆ)

2) ขัน้ จัดการเรยี นการสอนทางไกล

▪ 08:00 น. เตรียมความพร้อม/ตรวจสอบจํานวนนักเรียนเข้าเรยี น (ด้วยวธิ กี ารออนไลนห์ รอื

บนั ทึกตามแบบฟอรม์ ผปู้ กครองรบั รอง)

▪ 08:30 น. ถึง 12:05 น. ดแู ลการเรยี นการสอน (หลงั จากเรยี นแต่ละรายวชิ าครู 10
จัดการเรียนรเู้ พิ่มเตมิ ) 20 นาที

▪ 11:15 น. ถึง 16:00 น. ครูประจําวิชาจัดกิจกรรมการเรียนรายวชิ าเพ่มิ เติมตามที่ออกแบบไว้
ตามชอ่ งทางที่ไดน้ ดั หมาย เช่น ห้องเรียนออนไลน์ Quipper School2 Google
Classroom/ตามบรบิ ท " บนั ทึกผลหลงั การสอน

3) ข้นั พบปะนกั เรียนและผู้ปกครองรายสปั ดาห์
▪ ครพู บปะกับนักเรียนและผู้ปกครอง ตามทน่ี ัดหมาย
▪ ครูสอบถามปัญหาทีเ่ กิดขน้ึ ในระหวา่ งการจดั การเรียนการสอน

4) ขนั้ วัดและประเมินผลการเรียนการสอนทางไกล
▪ ตรวจใบงาน/ชน้ิ งาน/ภาระงาน
▪ ทดสอบหลงั จบหนว่ ยการเรียนรู้ (ผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ /Google form/หรืออน่ื ที่สามารถทาํ ได้)

บทบาทนกั เรียน

1) ขั้นเตรยี มความพร้อม
▪ ร่วมปรกึ ษา ครู ผู้ปกครอง ในการวางแผนการจัดการเรียน
▪ ศึกษาระบบการเรยี นการสอนทางไกลในระดบั ชัน้ ของตนเอง
▪ เตรียมความพรอ้ มอปุ กรณก์ ารเรยี น (หากไม่มคี วามพร้อม ให้ปรึกษาผปู้ กครองและครูที่
ปรึกษา เพ่ือหาแนวทางการแก้ปัญหา)

2) ขั้นการจัดการเรียนการสอน
▪ เขา้ ร่วมกลมุ่ ช่องทางการตดิ ต่อสอื่ สารกับครูประจําวชิ า
▪ ดําเนนิ กจิ กรรมการเรียนการสอนตามที่ครูประจาํ วชิ ากําหนด ตามช่องทางการเรียนรูต้ า่ ง ๆ
▪ ต้ังใจเรยี น ในการเรยี นการสอนทางไกล ปฏิบตั ิตามท่ีครูมอบหมายอย่างเคร่งครัด

3) ขั้นการประเมินผล
▪ ทบทวนบทเรียนร่วมกับครหู รือผู้ปกครอง
▪ เตรยี มความพร้อมการสอบวัดผลประเมินผล ตามชอ่ งทางครปู ระจําวชิ ากาํ หนด
▪ ตงั้ ใจสอบ และปฏบิ ตั ติ ามข้อกําหนดของครูประจาํ วิชาอยา่ งเคร่งครัด
▪ ติดตามข่าวสารจากหลายช่องทาง เก่ียวกับการจดั การเรยี นการสอนทางไกล

บทบาทผู้ปกครอง

1) ใหข้ ้อมลู เก่ยี วกับอุปกรณ์ เครอ่ื งมือติดต่อสื่อสารและอื่น ๆ กับครปู ระจําชั้น (กรณผี ู้ปกครองไม่มีอปุ กรณ์ ให้
ติดต่อกับครู เพ่ือวางแผนร่วมกนั )

2) เข้าร่วมช่องทางการติดต่อสื่อสารระหว่างครู เชน่ Line, Facebook หรือชอ่ งทางอื่น ๆตามบรบิ ทท่ีกําหนด
รว่ มกนั

3) ศึกษาและทําความเขา้ ใจกับโรงเรยี น ครู และนกั เรยี นในการจัดการเรยี นการสอนทางไกล
4) เวลา 08:00 ผู้ปกครองรายงานการเข้าเรียนของนกั เรยี นตามชอ่ งทางท่ีได้ นัดหมายรว่ มกนั (กรณีนักเรยี น
สามารถติดต่อกบั ครไู ด้โดยตรง สามารถให้นักเรยี นรายงานกับครูได)้

11

5) เวลาตามตารางเรยี น ผู้ปกครองสามารถร่วมรบั ชม แนะนํา ดูแลช่วยเหลือกิจกรรมอย่างใกล้ชดิ กบั นักเรยี น
6) ในระหว่างการรบั ชมการจัดการเรยี น สามารถติดตอ่ ส่ือสารกบั ครูเพื่อสอบถามข้อสงสยั ขอคาํ แนะนําหรือ
รว่ มกันแกป้ ัญหาได้
7) มกี ารพบปะกบั ครู การรวบรวมแฟม้ งาน การดแู ล และการทดสอบนักเรียน (กรณผี ู้ปกครองไม่มีอุปกรณ์
หรือไมส่ ามารถส่ือสารได้ ควรประสานงานกบั ญาติพน่ี ้องหรือบคุ คล ในทอ้ งถนิ่ มาช่วยเหลือแทนได้)

12

สว่ นที่ 3
เครื่องมือ/ช่องทาง ในการจัดการเรียนการสอน
1.การเรยี นการสอนดว้ ยระบบทางไกลผ่าน DLTV
มี 4 ชอ่ งทางในการรบั ชม ดังนี้

13

1.1 ทีวดี าวเทียม KU Band 186-200
1.2 เวป็ ไซต์ www.dltv.ac.th

14

1.3 Application DLTV

15

1.4 YouTube : DLTV1 – DLTV12 Channel

16

17

18

19

2. แหลง่ เรียนรู้ออนไลน์ (Online) อ่ืน ๆ

2.1 www.deep.ac.th
แ พ ล ต ฟ อ ร์ม ด้ า น ก าร ศึ ก ษ าเพื่ อ ค ว าม เป็ น เลิ ศ Digital Education Excellence Platform จ า ก
กระทรวงศึกษาธิการ ด้วย การพัฒนาการจัดการสอนออนไลน์กับ แพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ คุณครู
สามารถเข้าศึกษาอบรมเคร่ืองมือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ได้จากเว็บไซต์ Deep By MOE โดย ประกอบไป
ด้วย เครื่องมือ การจดั การสอนออนไลนด์ ว้ ย G Suite และ Microsoft Teams
2.2 Aksorn Onlearn
Aksorn on-learn เคร่ืองมือสนับสนุนการสอนของครูผ่านออนไลน์แพลตฟอร์ม จากบริษัท อักษร เอ็ดดูเคช่ัน
จํากัด (มหาชน) แพลตฟอร์ม สําหรับการเรียนรู้ใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก จากระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึง 3
เนอื้ หาการเรยี นรตู้ รงตามตวั ชว้ี ดั ไม่มคี ่าใชจ้ า่ ย ใหค้ รสู ามารถเตรยี มการสอนได้ เลยทันที

3. เคร่ืองมือสอื่ สารแบบสองทาง (VDO Conference)

เครื่องมือสื่อสารแบบสองทาง (VDO Conference) หมายถึงโปรแกรมที่ใช้สําหรับติดต่อส่ือสารแบบ โต้ตอบ
กันได้ และสามารถโต้ตอบได้หลายคนพร้อมกัน ซ่ึงโปรแกรมลักษณะน้ีจึงเหมาะกับการที่จะใช้ในการ ประชุม สัมมนา
อบรม ตลอดจนใช้ในการเรยี นการสอน เสมือนหนงึ่ วา่ เปน็ การรวมกนั อยใู่ นหอ้ งเรียนหรอื หอ้ ง ประชุมสัมมนาเดยี วกัน

3.1 Google meet
▪ เป็นโปรแกรมในชดุ ของ G Suite For Education
▪ รองรบั การประชมุ พรอ้ มกันได้สูงสดุ 250 คน (for Education)
▪ ประชมุ กนั ได้ไม่จาํ กัดเวลาการประชมุ (for Education)
▪ บันทกึ การประชมุ เป็นไฟลว์ ดี ิโอ ตลอดการประชมุ (for Education)
▪ มีฟงั ก์ชนั ในการ Chat พร้อมบนั ทกึ การ Chat เป็นไฟล์เอกสาร
▪ รองรบั ระบบปฏิบัติการ iOS, Android และ Browser

3.2 ZOOM
▪ รองรับการประชมุ พรอ้ มกนั ได้สงู สุด 100 คน
▪ การประชมุ จํากัดเวลา 40 นาที ตอ่ การประชุม 1 คร้ัง
▪ รองรับระบบปฏบิ ัติการ iOS, Android และ Desktop zoom

3.3 Line Video Call
▪ รองรับการประชุมพรอ้ มกนั ได้สูงสุด 200 คน
▪ รองรบั ระบบปฏบิ ตั ิการ iOS, Android

3.4 Facebook Live

▪ จดั ไลฟส์ ดในกลุ่ม Facebook เพ่ือรกั ษาความเปน็ สว่ นตวั และควบคมุ กลุ่มผรู้ ับชม

▪ สร้างอีเวนต์ภายในกล่มุ เพ่ือแจง้ ให้ผคู้ นทราบตารางไลฟ์สดล่วงหน้า

▪ ผู้ชมสามารถปรบั คณุ ภาพของวดิ โี อเพอ่ื ชว่ ยให้การรบั ชมราบรนื่ ข้นึ หากอินเทอรเ์ น็ตไม่

เสถียร

▪ กระตุ้นใหผ้ ้ชู มมสี ่วนร่วมดว้ ยการคอมเม้นทห์ รือส่งอีโมตคิ อน

▪ กดบนั ทกึ หรือเซฟวดิ ีโอเพื่อให้นกั เรยี นกลบั มาชมย้อนหลังได้ 20

4. เครอื่ งมือการจดั การเรียนการสอน

4.1 Google Drive
เป็นบริการ Online Service ประเภท Cloud Technology ท่ีให้ผู้ใช้สามารถจัดเก็บข้อมูล ไฟล์ เอกสาร ไฟล์
รูปภาพ หรือไฟล์ประเภทต่าง ๆ ลงไปได้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย (จะตอ้ งสมัคร Gmail ก่อน)ผูใ้ ช้จะ สามารถเปิดดูไฟล์ต่าง
ๆ นนั้ ที่ใดก็ไดบ้ นอุปกรณ์ต่าง ๆ และยังสามารถเชิญผ้ใู ชอ้ ่ืน ๆ เข้ามาดูไฟลข์ องคุณได้ ทาง Gmail โดยการใช้ฟรนี ้ัน จะ
มีเนอ้ื ท่ีให้จัดเก็บถงึ 15 GB หากสถานศึกษามี GSuite for Education ภายใต้โดเมนเนมของสถานศึกษาจะสามารถใช้
งาน Google Drive มีเนื้อที่จัดเก็บแบบไม่จํากัด
4.2 One Drive
Microsoft OneDrive คือบริการพ้ืนท่ีเก็บข้อมูลฟรีจากไมโครซอฟท์ที่มีการเก็บข้อมูลไวบ้ น Cloud คุณสมบัติ
คล้าย Google Drive ใครก็ตามท่ีมีบัญชีของไมโครซอฟท์จะสามารถใช้งานได้ทุกคนโดย OneDrive สามารถเก็บไฟล์
ซิงค์ และแชร์ไฟล์กับบุคคลอื่นๆได้ผ่านอินเทอร์เน็ตโดย Windows 10, Windows 8.1, และ Xbox One จะมี
OneDrive ติดมาด้วยเสมอ โดยจะใช้ OneDriveในการซิงก์การตั้งค่าของระบบวินโดวส์ ธีม และแอปส์ต่างๆบน
วินโดวส์ และมกี ารแชร์แมก้ ระท่งั ประวัติการใชง้ าน Microsoft Edge และรหัสผา่ นทถี่ ูก เก็บไว้ด้วย
4.3 DropBox
Dropbox คือ เครื่องมือท่ีทําให้เราสามารถ เรียกใช้ ไฟล์งานต่างๆ ของเรา ได้ ทุกที่ ทุกเวลาไม่ว่าเรา จะอยู่ที่
แห่งไหน ใชค้ อมพิวเตอร์ Notebook, PC หรือ มือถือ เรากส็ ามารถเข้าถงึ ไฟลง์ านได้อย่างง่ายดาย และตรงกันเสมอ ไม่
ว่าจะมีการเพ่ิม ลด แก้ไข ไฟล์ใดๆ ใน Folder ของ Dropbox เป็นบริการซิงก์และฝาก ไฟล์ข้อมูลแบบออนไลน์ ซ่ึง
ผู้ใช้งานสามารถจัดเก็บและแบ่งปันแฟ้ม และโฟลเดอร์ร่วมกับคนอื่น หรือคนใน องค์กรเข้ามาใช้งานด้วยกันโดย
สามารถเข้าถึงแฟ้มข้อมูลต่างๆได้เพียง แค่ มีอินเทอร์เน็ต ซ่ึงขนาดของ ไฟล์ข้อมูลที่ฝากได้นั้นมีท้ังฟรี 2GB (เหมาะ
สาํ หรบั ผใู้ ช้งานอินเทอร์ทว่ั ไป)
4.4 Google Form
Google Form เป็นส่วนหนึ่งในบริการของกลุ่ม Google Docs ที่ช่วยให้เราสร้างแบบสอบถาม ออนไลน์
ข้อสอบออนไลน์ หรือใช้สําหรับรวบรวมข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว โดยที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการใช้ งาน Google Form
ผู้ใช้สามารถนําไปปรับประยุกต์ใช้งานได้หลายรูปแบบอาทิ เช่น การทําแบบฟอร์มสํารวจ ความคิดเห็น การทํา
แบบฟอรม์ สํารวจความพึงพอใจ การทําแบบฟอรม์ ลงทะเบยี น และการลงคะแนนเสียง เป็นต้น
4.5 Google Classroom
เป็นชุดเครื่องมือท่ีมีประสิทธิภาพ ได้รับการออกแบบมาเพ่ือช่วยให้ผู้สอนสามารถสร้างและเก็บงานได้ โดยไม่ต้อง
สิ้นเปลือง สามารถตั้งค่าได้ง่าย ผู้สอนสามารถเพ่ิมผู้เรียนได้โดยตรงหรือแชร์รหัสเพ่ือให้ผู้เรียนเข้า ช้ันเรียนได้ ผู้เรียน
สามารถดูงานท้ังหมดของตนเองได้ในหน้างาน และเน้ือหาสําหรับช้ันเรียนท้ังหมดจะถูก จัดเก็บในโฟลเดอร์ภายใน
Google ไดรฟโ์ ดยอตั โนมัติ ผู้สอนสามารถส่งประกาศและเริม่ การพดู คุยในชนั้ เรียน

21

ส่วนที่ 4
แนวทางดําเนนิ การจดั การเรยี นการสอนของโรงเรยี นพนาศึกษา

ระยะท่ี 1 การเตรยี มความพร้อม (17 พฤษภาคม - 31 พฤษภาคม 2564)

1. สํารวจความพร้อมในด้านต่าง ๆ เพื่อเตรียมข้อมูลพ้ืนฐานให้ชัดเจน เช่น สํารวจความพร้อมการเข้าถึงการ

รับชมช่องทางการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จําเป็น ต่อการใช้งาน ระบบดาวเทียม (Satellite),

ระบบดิจิทัลทีวี (Digital TV),ระบบเคเบ้ิลทีวี (Cable TV), ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จาก IPTV และ Application

โดยการสํารวจให้สถานศกึ ษาดําเนินการ สํารวจข้อมูลตามความจําเป็น และเตรยี มข้อมูลเพือ่ รายงานหน่วยงานตน้ สงั กัด

และหนว่ ยงานในระดบั สงู ตอ่ ไป

2. จดั กลมุ่ ความพร้อมการเขา้ ถงึ ตามขอ้ 1) โดยอาจจะแบง่ ออกเปน็ 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่

กลมุ่ ที่ 1 กลมุ่ ทม่ี ีความพร้อม 100%

กล่มุ ที่ 2 กลุ่มที่มีความพร้อมปานกลาง 50%

กลุ่มท่ี 3 กลุ่มท่ีมีความพร้อมน้อยหรือไม่มีความพร้อม หลังจากการจัดกลุ่มความพร้อมการเข้าถึง สถานศึกษา

หาวธิ ีการหรือแนวทางจัดระบบดูแลชว่ ยเหลอื

กลุ่มทม่ี คี วามพรอ้ มปานกลาง และกลุ่มทีม่ ีความพรอ้ มน้อยหรอื ไมม่ คี วามพร้อม

3. สาํ รวจความพรอ้ มของผปู้ กครองด้านเวลา พรอ้ มจัดกลมุ่ ความพรอ้ มด้านเวลาของผูป้ กครองตลอดจน

หาวิธกี ารหรือแนวทางจดั ระบบดแู ลช่วยเหลือกลุ่มที่มคี วามพรอ้ มนอ้ ย

4. จัดระบบส่ือสาร ระหว่างสถานศึกษากับผู้ปกครอง โดยศึกษารายละเอียดเอกสารฉบับนี้ในส่วนท่ี 3

ชอ่ งทาง/เครื่องมือ ในการจัดการเรยี นการสอน

5. จดั ประชุมชแ้ี จงทําความเข้าใจกบั คณะครแู ละผปู้ กครอง ดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย เชน่ Facebook

Live, YouTube Live, VDO Conference ท่เี หมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาภายใตเ้ งื่อนไขของศบค. จังหวัด

6. ประสานขอความร่วมมือกับเครือขา่ ยตา่ ง ๆ เพ่ือรว่ มกนั จดั การเรยี นการสอนใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สดุ

เช่น คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม) การศึกษานอก ระบบและ

การศกึ ษาตามอัธยาศัย (กศน) องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน (อปท) เป็นตน้

ระยะที่ 2 การจดั การเรียนการสอน (1 มิถุนายน – 13 มถิ ุนายน 2564)

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ( ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 - 3 )

สถานศึกษาจดั การเรยี นการสอนดว้ ยรูปแบบ ON AIR, ON LINE, ON HAND และON DEMAND ในระดบั

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ด้วยเครอ่ื งมอื การเรียนรูต้ ามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา เชน่ Google

Classroom , Line , Facebook Live เปน็ ต้น ทงั้ นขี้ นึ้ อยู่กบั ความเหมาะสมของเนื้อหาในรายวชิ า

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6)

สถานศกึ ษาจดั การเรียนการสอนดว้ ยรปู แบบ ON LINE, ON HAND และON DEMAND ในระดับระดับ

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ด้วยเคร่ืองมือการเรียนรตู้ ามความเหมาะสมและ บรบิ ทของสถานศกึ ษา เชน่ Google

Classroom , Line , Facebook Live เป็นตน้ ทัง้ น้ีขนึ้ อยู่กบั ความเหมาะสมของเนือ้ หาในรายวิชา

สถานศกึ ษาต้องเตรยี มความพรอ้ มในด้านตา่ ง ๆ เพื่อให้การจดั การเรยี นการสอนดําเนนิ ได้ตามความ ต้องการ

พร้อมแก้ไขปัญหาท่อี าจจะเกิดข้ึนในการเรยี นการสอน และรายงานผลการปฏบิ ตั เิ ป็นระยะ ๆ ตามท่ี หนว่ ยงานตน้

สังกัดกําหนด 22

ระยะท่ี 3 การจัดการเรียนการสอน (14 มิถุนายน 2564 - 31 มีนาคม 2565)
สถานการณ์ท่ี 1 กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยังไม่คลี่คลาย ระดับ
มธั ยมศึกษาตอนต้น จัดการเรียนการสอนดว้ ยระบบทางไกลผ่าน DLTV (ระบบดาวเทียม,ระบบดิจิทัล ทีวี,ระบบเคเบ้ิล
ทีวี,ระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ ) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จัดการเรยี นการสอนด้วย วีดทิ ัศนก์ ารสอนโดยครตู ้นแบบ
www.deep.go.th และระบบออนไลน์ดว้ ยเครอ่ื งมือการเรยี นรตู้ ามความ เหมาะสมและบริบทของสถานศกึ ษา
สถานการณ์ท่ี 2 กรณีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คล่ีคลาย จะจัดการ
เรียนการสอนปกติในโรงเรียน โรงเรียนสามารถจัดการเรียนการสอนให้สอดคลอ้ งกบั บริบทของตนเองได้ เช่น สลับการ
มาเรียนของนักเรียนโดยแบ่งกลุ่ม A,B แต่ละระดับช้ัน จัดการเรียนการสอนแบบ ON-SITE มาเรียนครบช้ัน เป็นต้น
โดยให้เว้น ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) และมีแผนเตรียมการเพ่ือรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ โดย
จะตอ้ งได้รบั การอนุมตั ิจากคณะกรรมการศึกษาธกิ ารจังหวัด ซึ่งมีผวู้ า่ ราชการจังหวัดเป็นประธาน
ระยะท่ี 4 การทดสอบและการศกึ ษาต่อ ( 1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2565)
สถานศึกษาเฝา้ ติดตามข่าวสาร จากสาํ นกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจรญิ และ
สพฐ. อย่าง ตอ่ เน่ืองเกยี่ วกับการวัดผลและประเมินผลการจดั การเรียนรตู้ ลอดจนการเข้าศกึ ษาต่อ โดยขณะนี้สํานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานจะประสานงานกบั หน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้องกับการทดสอบและคดั เลือกเขา้ ศึกษาต่อ
นั่นคือ กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม เกย่ี วกับระบบคัดเลือกเข้าศึกษาใน สถาบันอดุ มศึกษา
(TCAS GAT PAT) และ สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ เก่ียวกบั การทดสอบ O-net ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และ
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ว่าจะมีแนวทางหรือรูปแบบการดําเนินการอยา่ งไรต่อไป
อยา่ งไรก็ตาม สถานศึกษาได้ดาํ เนินการจดั การเรียนการสอนตรงตามตัวชี้วัดในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน รวมถึงปกี ารศกึ ษา 2564 น้ี การจดั การเรยี นการสอนกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิชา วิทยาศาสตร์ ในสาระที่ 4
เทคโนโลยี ทม่ี วี ิชาออกแบบเทคโนโลยี และ วิชาวทิ ยาการคาํ นวณ จะต้องมีการ จัดการเรยี นการสอนครบทุกระดับชนั้

23

QR Code กลมุ่ Line การเรยี นการสอน เพ่ือใชต้ ิดตอ่ สื่อสารกับนักเรยี นและผู้ปกครอง
โรงเรยี นพนาศึกษา อำเภอพนา จังหวัดอำนาเจรญิ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6

24

ภาคผนวก ก
ประกาศโรงเรยี นพนาศึกษา
เร่อื ง แนวปฏบิ ตั ิสำหรับข้าราชการครูและนักเรยี น
โรงเรยี นพนาศึกษา ในการเปดิ ภาคเรียนที่ 1/2564

25

26

27

ภาคผนวก ข
ประกาศโรงเรียนพนาศึกษา
เร่อื ง แนวปฏิบตั ิการใหค้ วามรว่ มมือตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน
และควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)

28

ประกาศโรงเรียนพนาศกึ ษา
เรื่อง แนวปฏิบตั ิการให้ความรว่ มมือตามมาตรการเฝ้าระวัง ปอ้ งกนั
และควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)

จากประกาศจังหวัดอำนาจเจริญ เร่ือง มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(โควิด - 19) เพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๑๑) เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 โดยนายทวีป บุตรโพธ์ิ ผู้ว่าราชการจังหวัด
อำนาจเจริญ ประธานกรรมการโรคติดต่อจังหวัดอำนาจเจริญ ผู้กำกับการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินจังหวัด

อำนาจเจริญ เนอ่ื งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด – 19) ในประเทศไทย พบว่า
มีผู้ติดเช้ือสะสมและผู้ติดเชื้อรายใหม่ในประเทศได้เพิ่มจํานวนขึ้นอย่างต่อเนื่อง และการระบาดระลอกใหม่น้ีได้

กระจายออกไปในหลายพ้ืนที่ค่อนข้างรวดเร็ว โดยในพื้นที่จังหวัดอํานาจเจริญ พบผู้ติดเช้ือแล้วจํานวน ๓๔ ราย และมี
แนวโนม้ ที่จะเพม่ิ จาํ นวนมากขน้ึ อย่างตอ่ เน่อื ง

เพื่อให้มาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โค
วิด-19) ในพ้นื ทจี่ ังหวดั อำนาจเจรญิ และในโรงเรียนพนาศึกษา จึงขอความร่วมมอื จากคณะครู บุคลากร และนักเรียน
ทุกคนถือปฏิบตั ติ ามมาตรการและแอพพลิเคชัน่ อย่างเครง่ ครัด ดงั นี้

1. มาตรการในการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษาประกอบด้วย
1.1 คัดกรองวัดไข้และอาการเสี่ยงกอ่ นเข้าสถานศกึ ษา
1.2 สวมหน้ากากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลา
1.3 ลา้ งมอื หรือเจลแอลกอฮอล์อย่างเพยี งพอ
1.4 เวน้ ระยะห่างระหวา่ งบุคคลอยา่ งน้อย 1-2 เมตร
1.5 ทาํ ความสะอาดห้องเรยี น/พนื้ ผวิ สัมผสั ร่วมเปิดหนา้ ต่าง ประตู ระบายอากาศ
1.6 งดจดั กิจกรรมรวมกลมุ่ คนจาํ นวนมาก ลดเวลาทํากิจกรรม
1.7 งดการใชส้ นามกีฬาทกุ ประเภทจนกวา่ สถานการณจ์ ะคลี่คลาย
1.8 ขอความร่วมมืองดเดนิ ทางไปในพืน้ ที่ควบคมุ สงู สุดโดยไมม่ ีความจําเปน็
1.9 ขอความรว่ มมือปฏบิ ัติตามมาตรการ D-M-H-T-T-A โดยเคร่งครัด

29

ด้านครูบคุ ลากรทางการศึกษา
1. ติดตามขอ้ มลู ข่าวสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคจากแหลง่ ทน่ี ่าเชอื่ ถือได้
2. สังเกตอาการป่วยของตนเองหากมอี าการทางเดินหายใจอย่างใดอยา่ งหนง่ึ ให้หยุดปฏบิ ัติงาน

และรบี ไปพบแพทย์ทันที
3. ปฏบิ ัติตามมาตรการ D-M-H-T-T-A โดยเคร่งครดั ไดแ้ ก่ เว้นระยะระหว่างกนั หลกี เล่ียงการสัมผัสกบั ผู้อ่ืน

(D-Distancing) สวมหน้ากากผา้ /หนา้ กากอนามยั เมื่อพบปะกับบุคคลหรือร่วมกิจกรรมกับผอู้ ่ืน
(M-Mask wearing) ล้างมือบ่อย ๆ ทกุ สถานที่จัดให้มีจุดบริการเจลล้างมอื อยา่ งทวั่ ถงึ และเพียงพอ (H-Hand washing)
ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายและสังเกตอาการ (T-Temperaturedied) ตรวจเช้ือโควิด – 19
(T-Testing) และ (A-Application) การใช้แอปพลิเคชันไทยชนะและหมอชนะ

4. แจง้ ผปู้ กครองและนักเรียนให้นาํ ของใช้ส่วนตัวและอปุ กรณป์ อ้ งกนั มาใชเ้ ป็นของตนเอง
5. ควรทําความสะอาดสถานท่ี อุปกรณ์ เคร่อื งใช้ท่ีมผี ู้สมั ผัสจํานวนมากในโรงอาหาร ห้องเรียน
ห้องสาํ นกั งาน และห้องปฏิบัตกิ ารทกุ พน้ื ที่ เช่น ลกู บดิ ประตู ราวบันได โต๊ะ เก้าอี้ ผ้าหม่ ผ้าปูเตยี ง เคร่ืองครัว จาน
ชาม ข้อนส้อม แกว้ น้ำ ดว้ ยน้ำยาทาํ ความสะอาดนำ้ ยาฆ่าเชื้อหรือเชด็ ด้วยแอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต์ อยา่ งน้อยวันละ
1-2 ครง้ั
6. ควบคุมดแู ลการจัดท่นี ่ังภายในสถานท่ีในโรงเรยี นตามหลักการเว้นระยะหา่ งระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1-2
เมตร
7. ตรวจสอบ กาํ กบั ตดิ ตามการมาเรยี นของนักเรียน
8. ตรวจคัดกรองสุขภาพทกุ คนท่ีเข้ามาในสถานศึกษาตามขั้นตอน |
9. ใหง้ ดหรอื เล่ือนการเชญิ บุคคลภายนอกมารว่ มกจิ กรรมการเรยี นการสอนการประชุม การอบรม สมั มนาหรือ
การดําเนินการใด ๆ ท่ีเกย่ี วข้องกับทางโรงเรยี นออกไปกอ่ น จนกวา่ กรมควบคุมโรคจะประกาศ สถานการณ์ของ
โรคติดตอ่ ท่ีคลายหรือลดลง
10. ขอเชญิ ชวนคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ฉีดวคั ซีน covid19 เพื่อชาติเพื่อสร้างภมู คิ มุ้ กัน
11. การดแู ลสขุ ภาพ

11.1 ดูแลสขุ ภาพให้สมบูรณ์แขง็ แรง ไมเ่ ข้าไปในสถานทแ่ี ออดั อากาศถ่ายเทไมส่ ะดวก มคี วามเสี่ยง ต่อ
การได้รบั เชื้อโรค เชน่ สนามบนิ ห้างสรรพสินคา้ ทอ่ี ับชืน้ และไมป่ ลอดเช้ือ ให้สวมหนา้ กากปอ้ งกนั เชอื้ โรค

11.2 เม่อื มีอาการผดิ ปกตเิ กี่ยวกับสุขภาพใหร้ ายงานโรงเรียนทราบและลาพกั การปฏบิ ตั ิงานไปพบแพทย์
ทันที

11.3 หลีกเล่ียงการสมั ผสั ผู้ปว่ ยคนแปลกหนา้ หรอื รับคนแปลกหน้ามาอยู่อาศยั ร่วมกับครอบครวั
11.4 กอ่ นเข้าบ้านหรือโรงเรียนใหล้ ้างทาํ ความสะอาดมือด้วยแอลกอฮอลห์ รือสบทู่ ุกคร้ัง
11.5 ในขณะปฏิบตั ิงานใหล้ ้างมือด้วยนำ้ หรือสบ่บู อ่ ย ๆ
12. การปฏบิ ตั ิตนเมอ่ื มีการจัดประชมุ เทา่ ท่จี าํ เปน็
12.1 มีการคัดกรองบุคลากรท่มี คี วามเสีย่ งออกไปจากกลุ่ม
12.2 ตรวจสอบความสะอาดสถานทีจ่ ัดอบรม ประชุม ฆา่ เชือ้ ใหส้ ะอาดปลอดภัย
12.3 มีการคดั กรองบุคลากรกอ่ นเขา้ ประชุมโดยการสังเกตพฤติกรรมขอความรว่ มมือจาก สาธารณสุขใน
พนื้ ทีม่ าอาํ นวยความสะดวกร่วมตรวจสอบ
12.4 ทาํ ความสะอาดมือดว้ ยนำ้ สบู่ และแอลกอฮอล์ก่อนเข้าประชุม
12.5 มอี าการไอจามควรปิดปากสวมหนา้ กากอนามยั หรอื ขออนุญาตไม่เขา้ รว่ มประชมุ

30

13. การกาํ หนดมาตรการป้องกันในระดบั โรงเรียนให้รองผู้อาํ นวยการกลุ่มบรหิ ารท่วั ไป งานอนามยั โรงเรยี น
เป็นเจา้ พนักงานผูร้ ับผิดชอบในระดับโรงเรียน จัดทาํ ปา้ ยแผนภาพแสดงขั้นตอนการปฏิบัตติ น นำ้ ยา ฆา่ เชอื้

แอลกอฮอล์ ประชาสมั พันธใ์ หบ้ คุ ลากรทราบและถือปฏบิ ัติ อาํ นวยความสะดวกอยา่ งต่อเน่ืองมีความ ปลอดภัย
จนกวา่ จะเขา้ สูภ่ าวะปกติ
ด้านนกั เรยี น

1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคจากแหล่งทน่ี ่าเช่อื ถือได้
2. สังเกตอาการปว่ ยของตนเองหากมอี าการเดินทางเดินหายใจอย่างใดอยา่ งหนงึ่ ให้รีบแจง้ ครหู รือ ผู้ปกครอง
3. ปฏบิ ตั ิตามมาตรการ D-M-H-T-T-A โดยเครง่ ครัด ได้แก่ เว้นระยะระหวา่ งกนั หลกี เลี่ยงการสมั ผัสกบั ผู้อื่น
(D-Distancing) สวมหน้ากากผ้า/หน้ากากอนามยั เมื่อพบปะกับบุคคลหรือร่วมกิจกรรมกบั ผอู้ ื่น
(M-Mask wearing) ลา้ งมือบ่อย ๆ ทุกสถานทจ่ี ัดให้มจี ุดบริการเจลล้างมืออย่างท่ัวถึงและเพียงพอ (H-Hand washing)
ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายและสังเกตอาการ (T-Temperaturedied) ตรวจเชื้อโควิด – 19
(T-Testing) และ (A-Application) การใชแ้ อปพลิเคชันไทยชนะและหมอชนะ
4. ให้นกั เรียนทีค่ าดว่าเป็นกลุ่มเสีย่ งและผ้ทู ี่เดนิ ทางมาจากพน้ื ท่คี วบคุมสูงสุดแจง้ ครูท่ปี รึกษา
และพักอยู่ทีบ่ า้ นอยา่ งน้อย 14 วันโดยสามารถตดิ ตอ่ สง่ งานภายหลงั ได้
5. มีของใชส้ ่วนตัว ไมใ่ ช้ร่วมกบั ผู้อน่ื
6. กรณขี าดเรียนหรือถูกกักตัวควรตดิ ตามความคืบหน้าการเรียนอยา่ งสม่ำเสมอ
7. หลกี เลี่ยงการลอ้ เลียนความผิดปกติหรืออาการไมส่ บายของเพือ่ น
8. การดูแลสุขภาพ

8.1 ดแู ลสขุ ภาพให้สมบูรณแ์ ขง็ แรง ไมเ่ ขา้ ไปในสถานท่ีแออดั อากาศถา่ ยเทไมส่ ะดวก มีความเสี่ยงตอ่
การได้รับเช้ือโรค เชน่ สนามบิน ห้างสรรพสินค้า ท่ีอบั ขน้ึ และไมป่ ลอดเชื้อ ให้สวมหนา้ กากอนามัยหรือหนา้ กากผา้
ป้องกันเชื้อโรค

8.2 เมื่อมอี าการผิดปกติเกี่ยวกับสุขภาพใหร้ ายงานครูที่ปรึกษาและโรงเรียนทราบและลาพักการ เรียนไป
พบแพทยท์ นั ที

8.3 หลกี เลยี่ งการสมั ผสั ผู้ปว่ ยคนแปลกหน้าหรือรับคนแปลกหน้ามาอยู่อาศยั รว่ มกับครอบครวั 8.4 กอ่ น
เขา้ บา้ นหรอื โรงเรยี นใหล้ ้างทําความสะอาดมือด้วยแอลกอฮอล์หรอื สบู่ทุกคร้ัง
8.5 ในขณะปฏบิ ตั งิ านใหล้ ้างมือด้วยน้ำหรือสบบู่ ่อยๆ
9. ควรทําความสะอาดสถานที่ อุปกรณเ์ ครื่องใช้ที่มผี ู้สมั ผัสจํานวนมากในโรงอาหาร ห้องเรยี น
และหอ้ งปฏบิ ัติการทุกพืน้ ท่ี เชน่ ลกู บิดประตู ราวบนั ได โต๊ะ เก้าอี้ จาน ชาม ชอ้ นส้อม แกว้ นำ้ ดว้ ยนำ้ ยา
ทาํ ความสะอาด นำ้ ยาฆ่าเชอ้ื หรือเช็ดด้วยแอลกอฮอล์ 70 เปอรเ์ ซ็นต์อย่างน้อยวนั ละ 1-2 ครั้ง

ด้านผูป้ กครอง
1. ตดิ ตามขอ้ มูลขา่ วสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคจากเวบ็ ไซต์โรงเรยี นและแหล่งทเี่ ช่ือถือได้ 2. สังเกต
อาการปว่ ยของบุตรหลานหากมีอาการทางเดนิ หายใจอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ใหร้ ีบพาไปพบแพทย์
3. ปฏิบตั ิตามมาตรการ D-M-H-T-T-A โดยเครง่ ครดั ไดแ้ ก่ เวน้ ระยะระหวา่ งกนั หลกี เล่ียงการสัมผสั กบั ผูอ้ ่ืน

(D-Distancing) สวมหน้ากากผา้ /หนา้ กากอนามัย เม่ือพบปะกับบุคคลหรือร่วมกิจกรรมกับผูอ้ นื่
(M-Mask wearing) ล้างมือบ่อย ๆ ทุกสถานท่ีจดั ให้มจี ดุ บริการเจลลา้ งมืออยา่ งทว่ั ถงึ และเพยี งพอ (H-Hand washing)
ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายและสังเกตอาการ (T-Temperaturedied) ตรวจเช้ือโควิด – 19
(T-Testing) และ (A-Application) การใชแ้ อปพลเิ คชนั ไทยชนะและหมอชนะ

4. จดั หาของใช้ส่วนตวั ใหบ้ ตุ รหลาน

31

5. กรณมี กี ารจัดการเรยี นการสอนทางไกลออนไลน์ผูป้ กครองควรให้ความร่วมมอื กับครูในการดแู ล จดั การ
เรยี นการสอนแก่นกั เรียน

6. การดแู ลสขุ ภาพ
6.1 หลีกเลีย่ งการสมั ผสั ผูป้ ว่ ยคนแปลกหน้าหรือรบั คนแปลกหนา้ มาอยู่อาศัยรว่ มกับครอบครวั
6.๒ กอ่ นเข้าบา้ นหรือโรงเรียนให้ลา้ งทําความสะอาดมือดว้ ยแอลกอฮอลห์ รอื สบู่ทุกครั้ง
6.๓ ดูแลสุขภาพใหส้ มบูรณ์แข็งแรง ไม่เขา้ ไปในสถานที่แออดั อากาศถา่ ยเทไม่สะดวก มีความเสี่ยงต่อ

การไดร้ บั เชื้อโรค เช่น สนามบิน ห้างสรรพสินค้า ท่ีอับข้นึ และไม่ปลอดเชื้อ ให้สวมหนา้ กากอนามยั หรือหนา้ กากผ้า
ปอ้ งกนั เชื้อโรค

6.4 ในขณะปฏิบตั ิงานให้ลา้ งมือด้วยน้ำสบบู่ อ่ ย ๆ
จงึ ประกาศให้ทราบและถอื ปฏบิ ัติอยา่ งเคร่งครัดโดยทัว่ กนั

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. 2564

32

คณะจัดทำคูม่ อื การจดั การเรยี นการสอน
ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ปีการศกึ ษา 2564

คณะทีป่ รึกษา ผอู้ ำนวยการโรงเรียน
1. นายอชริ ะ วิริยสุขหทยั รองผู้อำนวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการและบรหิ ารทั่วไป
2. นางสาวโฉมสุดา บุญล้อม รองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารงบประมาณและบุคคล
3. นายกฤชนนท์ บญุ รอด หวั หนา้ กลุม่ บรหิ ารงานวชิ าการ
4. นางกนกวรรณ บัง้ ทอง หวั หนา้ กลุ่มบริหารกิจการนักเรียน
5. นางสาววาสนา บรรลือ หวั หน้ากลุ่มงานบรหิ ารทัว่ ไป
6. นายอาคม เนืองเนตร หัวหนา้ กลุม่ บริหารงบประมาณและบุคคล
7. นางอรทยั ศักดิส์ ยาม หัวหนา้ กลมุ่ บริหารนโยบายและแผนงาน
8. นายกติ ติศกั ดิ์ รัตนศรี
ครูชำนาญการ ประธานกรรมการ
คณะดำเนินงาน ครู รองประธานกรรมการ
1. นางปยิ วรรณ ผ่าโผน ครูผชู้ ว่ ย
2. นางสาวนภิ าวรรณ์ แสนคณู ครผู ู้ชว่ ย กรรมการ
3. นายวนั เฉลมิ พงษ์วิจติ ร ครผู ชู้ ่วย กรรมการ
4. นางสาวกรกนก ก้านสวุ รรณ กรรมการและเลขานุการ
5. นางสาวพรนภา พรมวัน


Click to View FlipBook Version