The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการสร้างสุขยกกำลังสอง (สร้างสุข2) เพื่อน้องในถิ่นทุรกันดาร ปีที่ 3 ครั้งที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by CAS (Admin), 2023-04-21 01:06:25

โครงการสร้างสุขยกกำลังสอง (สร้างสุข2) เพื่อน้องในถิ่นทุรกันดาร ปีที่ 3 ครั้งที่ 1

โครงการสร้างสุขยกกำลังสอง (สร้างสุข2) เพื่อน้องในถิ่นทุรกันดาร ปีที่ 3 ครั้งที่ 1

Keywords: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง,สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์,ศูนย์บริการวิชาการ

โครงการสร้า ร้ งสุข สุ ยกกำ ลังสอง (สร้า ร้ งสุข สุ ) เพื่อ พื่น้องในถิ่นทุร ทุ กันดาร ปีที่ 3 ครั้ง รั้ ที่ 1 สำ นักวิชวิาพยาบาลศาสตร์ ร่ว ร่ มกับ ศูนย์บย์ริกริารวิชวิาการ รายงานติดตาม ผลสัม สั ฤทธิ์ขธิ์องโครงการ 2


รายงานติดตามและประเมินผลการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ โครงการสร้างสุขยกก าลังสอง (สร้างสุข2 ) เพื่อน้อง ในถิ่นทุรกันดาร ปีที่ 3 ครั้งที่ 1 วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566 ณ โรงเรียนดอนแสนใจ (ตชด.อนุสรณ์) ต.แม่สลองใน อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย


บทน า 1.1 ความน า ตามที่ส านักวิชาพยาบาลศาสตร์ได้ด าเนินการอบรมโครงการสร้างสุขยกก าลังสอง (สร้างสุข2 ) เพื่อน้อง ในถิ่นทุรกันดาร ปีที่ 3 ในวันที่ 24 ธันวาคม 2565 ณ โรงเรียนดอยแสนใจ (ตชด.อนุสรณ์) ต.แม่สลองใน อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย เพื่อส่งเสริมความรู้ในการดูแลสุขภาพที่พึงประสงค์ ให้แก่เด็กวัยเรียนในถิ่นทุรกันดาร และสร้างเสริม ให้เกิดจิตบริการสาธารณะแก่คณจารย์ และนักศึกษาส านักวิชาพยาบาลศาสตร์ 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทราบผลการน าความรูไปใชของผูรับการอบรมภายหลังเข้าร่วมโครงการไปแลว 3 เดือน 2. เพื่อน าผลการส ารวจมาปรับปรุงในการจัดโครงการในครั้งตอไป 3. เพื่อใหทราบถึงปญหาและอุปสรรคในการจัดโครงการครั้งกอนๆ ที่เคยจัดมา 4. เพื ่อให้ทราบหัวขอความสนใจของผูเขาร ่วมโครงการ และสามารถน าไปปรับปรุงหลักสูตร การจัดโครงการในครั้งตอไป 1.3 ระยะเวลาในการติดตาม ระหว่างเดือนมีนาคม 2566 1.4 สถานที่จัดโครงการที่ผ่านมา โรงเรียนดอยแสนใจ (ตชด.อนุสรณ์) ต.แม่สลองใน อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย 1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลของผู้เข้าร่วมอบรม และการน าความรู้จากการอบรมไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน ตลอดจนน าข้อบกพร่องมาปรับปรุงแก้ไขในการจัดโครงการครั้งต่อไป


วิธีการศึกษา และวิธีการประมวลผล วิธีการศึกษาการติดตามประเมินผลหลังการอบรมในโครงการสร้างสุขยกก าลังสอง (สร้างสุข2 ) เพื่อน้อง ในถิ่นทุรกันดาร ปีที่ 3 เป็นการส ารวจความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมโครงการ และผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายหลังการ อบรมเสร็จสิ้นและกลับไปปฏิบัติงานในหน่วยงานที่ท่านสังกัด 2.1 ขอบเขตการศึกษา การติดตามประเมินผลหลังการอบรมโครงการสร้างสุขยกก าลังสอง (สร้างสุข2 ) เพื่อน้องในถิ่นทุรกันดาร ปีที่ 3 ได้ท าการติดตามผู้เข้าร่วมโครงการฯ ด้วยการลงพื้นที่เพื่อสัมภาษณ์ผู้เข้าร่วมโครงการฯ และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย จากฐานข้อมูลผู้เข้าผู้เข้าร่วมโครงการ โดยมีผู้เข้าร่วมสัมภาษณ์ แยกเป็นตัวแทนครู จ านวน 4 คน และ ตัวแทนนักเรียน จ านวน 10 คน 2.2 เครื่องที่ใช้ในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการลงพื้นที่สัมภาษณ์โดยใช้แบบฟอร์มติดตามและประเมินผลการน าความรู้ไปใช้ ประโยชน์ตามรายชื่อฐานข้อมูลจากการเข้าร่วมโครงการ ควบคู่กับการใช้แบบติดตามประเมินผลหลังการอบรม โดยมีเครื่องมือวัดความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการที่สร้างขึ้น เพื่อเสนอผลการศึกษาในภาพรวมทั้งหมดจาก องค์ประกอบ 4 ส่วน ดังนี้ 2.2.1 ผู้ให้ข้อมูล แบ่งเป็น ผู้รับบริการวิชาการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.2.2 การน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ ของผู้เข้าร่วมโครงการ ลักษณะค าถามจะประกอบด้วยลักษณะ ค าถามที่เป็นปลายเปิด 2.2.3 การพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้ง 4 มิติ ของผู้เข้าร่วมโครงการ ลักษณะค าถามจะประกอบด้วยลักษณะ ค าถามที่เป็นปลายเปิด 2.2.4 ระดับความคิดเห็น การน าองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้และระยะเวลาการน าไปใช้ประโยชน์ ของผู้เข้า อบรมเป็นแบบสอบถามแบบประเมินค่า 2.2.5 ความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมต่อการน าองค์ความรุ้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์พัฒนาคุณภาพชีวิต (SROI) ด้านเศรษฐกิจ ด้านคุณภาพชีวิตด้านสังคม ด้านคุณภาพชีวิตด้านสิ่งแวดล้อม เป็นแบบสอบถาม แบบประเมินค่า 2.3 การให้คะแนนระดับความพึงพอใจ การวัดระดับความพึงพอใจในการให้บริการโดยการให้คะแนนส าหรับลักษณะค าที่มีค าตอบให้เลือก 5 ระดับ คือ พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก พึงพอใจปานกลาง พึงพอใจน้อย และพึงพอใจน้อยที่สุด โดยมีเกณฑ์ การให้คะแนนดังนี้ คะแนน ระดับความพึงพอใจ 5 คะแนน พึงพอใจมากที่สุด 4 คะแนน พึงพอใจมาก 3 คะแนน พึงพอใจปานกลาง


2 คะแนน พึงพอใจน้อย 1 คะแนน พึงพอใจน้อยที่สุด 2.4 การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินความพึงพอใจ โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติพรรณนาในรูปแบบของความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percent) และค่าเฉลี่ย (Mean) โดยมีเกณฑ์การให้ค่าเฉลี่ยดังนี้ - ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 - 5.00 หมายความว่า พึงพอใจมากที่สุด - ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 - 4.50 หมายความว่า พึงพอใจมาก - ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.51 - 3.50 หมายความว่า พึงพอใจปานกลาง - ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.51 - 2.50 หมายความว่า พึงพอใจน้อย - ค่าเฉลี่ยระหว่าง 0.00 - 1.50 หมายความว่า พึงพอใจน้อยที่สุด และน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยตาราง แจกแจงความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ส านักวิชาพยาบาลศาสตร์จัดโครงการสร้างสุขยกก าลังสอง (สร้างสุข2 ) เพื่อน้องในถิ่นทุรกันดาร ปีที่ 3 วันที่ 24 ธันวาคม 2565 โรงเรียนดอยแสนใจ (ตชด.อนุสรณ์) ต.แม่สลองใน อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย โดยมีผู้เข้าร่วม อบรมทั้งหมด จ านวน 100 คน ทั้งนี้ ได้จัดลงพื้นที่ติดตามประเมินผลการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ จากตัวแทน ผู้เข้าร่วมอบรม จ านวน 10 คน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จ านวน 4 คน และได้รับแบบประเมินกลับคืน จ านวน 14 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100.00 ของจ านวนที่ติดตามทั้งหมด จากการวิเคราะห์ และประเมินผล แต ่ละส ่วน มี รายละเอียดผลการประเมินโครงการ ดังนี้


3.1 ข้อมูลทั่วไป 3.1.1 ผู้ให้ข้อมูล ตารางที่ 1 จ านวน และร้อยละของผู้ให้ข้อมูล ลักษณะประชากร จ านวน (N=10) ร้อยละ (100.00) ผู้ให้ข้อมูล ผู้รับบริการวิชาการ 10 71.43 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4 28.57 จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้ตอบแบบติดตามและประเมินผลการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ เป็นผู้รับบริการ วิชาการ จ านวน 10 คน หรือร้อยละ 71.43 และเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จ านวน 4 คน หรือร้อยละ 28.57 3.2 การน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ของผู้เข้าอบรม 3.2.1 หลังการเข้าร่วมโครงการบริการวิชาการ ท่านน าความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่างไร - น าความรู้ไปใช้ในการดูแลตัวเอง เช่น แปรงฟัน ล้างมือถูกวิธี รับประทานอาหาร 5 หมู่ การชั่งน ้าหนัก - น าความรู้ไปช่วยปฐมพยาบาลเพื่อนและน้อง เช่น การปฐมพยาบาลข้อเคล็ด/ข้อแพลง แขนหัก (กระดูกหัก) และถูกผึ้งต่อยตอนเข้าค่ายลูกเสือ ส าลักอาหารโดยไปช่วยเพื่อนที่อยู่หอพักตอนที่เพื่อน อาหารติดคอ - น าความรู้ไปปฏิบัติและดูแลตนเอง ดังนี้ 1) การท าแผล โดยได้หาวิธีการท าแผลที่ถูกวิธีไปปฏิบัติจริง 2) การล้างมือ โดยได้ล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารหรือขนม 3) การท าความสะอาดร่างกาย โดยได้สระผมสัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง และอาบน ้าวันละ 2 ครั้ง 3.2.2 ท่านน าความรู้ไปถ่ายทอดให้กับบุคคลอื่นหรือไม่ อย่างไร - ได้น าความรู้ไปถ่ายทอดให้เพื่อน น้องๆ และครอบครัว (กรณีที่ได้กลับบ้าน) เช่น บอกให้ล้างมือก่อน รับประทานอาหารและล้างมือให้ถูกวิธี แปรงฟันทุกวัน ดื่มนมทุกเช้าและรักษาความสะอาดร่างกาย - ได้น าความรู้ไปถ่ายทอดโดยการสอนน้องๆ อายุ 7-8 ปี โดยสอนเรื่องการแปรงฟัน การล้างมือและการ อาบน ้า


3.2.3 หลังจากการเข้าร่วมโครงการบริการวิชาการ ชุมชนของท่านมีการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ อย่างไร - ช่วยปฐมพยาบาลคนในชุมชน เมื่อมีบาดแผล - กรณีที่อยู่ในโรงเรียนได้น าความรู้ไปถ่ายทอดให้น้อง ในการดูแลสุขอนามัยของตนเอง - กรณีที่อยู่ที่บ้าน ยังไม่ได้น าไปถ่ายทอดความรู้ เนื่องจากนักเรียนอยู่ในโรงเรียนประจ า (อยู่หอพักใน โรงเรียน) ซึ่งจะกลับบ้านช่วงเดือน พ.ค. และกลับประมาณ 2 เดือน ซึ่งนักเรียนจะน าความรู้ที่ได้รับไป ถ่ายทอด (บอก) ต่อไป 3.2.4 หลังจากการเข้าร่วมโครงการบริการวิชาการ ชุมชนของท่านมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร - บางส่วนก็ท าตามหรือมีการเปลี่ยนแปลง เช่น ล้างมือ แปรงฟัน การดูแลความสะอาดร่างกาย การ รับประทานอาหาร โดยอธิบายให้เพื่อนหรือน้องท าตามเป็นขั้นตอน 3.3 การพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้ง 4 มิติ 3.3.1 หลังจากการเข้าร่วมโครงการบริการวิชาการ ท่านสามารถหารายได้เพิ่มขึ้นหรือไม่ - โครงการนี้ไม่สามารถตอบได้ เนื่องจากไม่ได้ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ของโครงการ 3.3.2 หลังจากการเข้าร่วมโครงการบริการวิชาการ ท่านสามารถพึ่งพาตัวเองได้มากขึ้นหรือไม่ อย่างไร - สามารถน าความรู้ไปใช้ในการดูแลสุขอนามัยของตนเองได้ทุกเรื่อง เช่น การแปรงฟัน การล้างมือ การ รักษาความสะอาดร่างกายและรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ - สามารถให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ เช่น การดูแลบาดแผล งูกัด ผึ้งต่อย ข้อเคล็ด/ข้อแพลง การ ส าลักสิ่งแปลกปลอม - สามารถดูแลตนเองได้ เช่น การดูแลตนเองเมื่อมีบาดแผล หากถูกงูกัดก็สามารถปฐมพยบาลเบื้องต้นได้ - การดูแลเรื่องสุขอนามัยของตนเอง เช่น การอาบน ้า แปรงฟัน สระผม - การดูแลด้านโภชนาการ โดยรับประทานอาหารที่ถูกสุขอนามัย มีสารอาหารครบ 5 หมู่ และติดตาม ภาวะโภชนาการโดยการชั่งน ้าหนัก วัดส่วนสูง 3.3.3 หลังจากการเข้าร่วมโครงการบริการวิชาการ ท่านสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการ เรียนรู้ของตัวเอง/เพื่อนร่วมงาน/ผู้เรียน ได้มากขึ้นหรือไม่ อย่างไร - ส าหรับตนเองท าให้ตนเองมีสุขภาพดี ท าให้กลิ่นตัวไม่เหม็น - เพิ่มขีดความสามาถในการดูแลตนเองเกี่ยวกับเรื่องโภชนาการ ความสะอาดร่างกาย และเพิ่ม ความสามารถให้แก่น้องๆ อายุ 7-8 ปี ในเรื่องของการดูแลรักษาความสะอาดร่างกาย


3.3.4 หลังจากการเข้าร่วมโครงการบริการวิชาการ คุณภาพชีวิตด้านสิ่งแวดล้อมของท่านดีขึ้น หรือไม่ อย่างไร - โครงการนี้ไม่สามารถตอบได้ เนื่องจากไม่ได้ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ของโครงการ ผลการติดตามและประเมินผลการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การประเมินความ พึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย 4.63 โดยมีความพึงพอใจด้านเศรษฐกิจ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 4.75 ด้าน คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ มีค่าเฉลี่ยน 4.65 ด้านคุณภาพชีวิตด้านสิ่งแวดล้อม มีค่าเฉลี่ย 4.63 ด้านคุณภาพชีวิต สังคมการศึกษา มีค่าเฉลี่ย 4.58 และด้านคุณภาพชีวิตสังคมวัฒนธรรม มีค่าเฉลี่ย 4.56 ตามล าดับ 3.2 ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความเกี่ยวข้องเป็นครู ในโรงเรียนดอยแสนใจ (ตชด.อนุสรณ์) ตารางที่ 2 แสดงระดับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (N=4) ด้านเศรษฐกิจ ความพึงพอใจหลังการอบรมของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด รวม ค่าเฉลี่ย จ านวน มาก จ านวน ปานกลาง จ านวน น้อย จ านวน น้อยที่สุด จ านวน ด้านศรษฐกิจ 1. ความรู้ที่นักเรียนได้รับ สามารถ น าไปพัฒนาให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และขยายผลได้ 3 (75.00) 1 (25.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.75 มากที่สุด 2. นักเรียนสามารถน าความรู้ที่ได้รับ ไปจัดกิจกรรมถ่ายทอดให้แก่ผู้อื่น ได้ 3 (75.00) 1 (25.00) 2 (25.00) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.75 มากที่สุด 3. ความรู้ที่ได้รับท าให้นักเรียนมี ก าลังใจในการท ากิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจ าวัน 3 (75.00) 1 (25.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.75 มากที่สุด 4. ท าให้ลดภาระค่าใช้จ่ายของ นักเรียน 3 (75.00) 1 (25.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.75 มากที่สุด ค่าเฉลี่ยรวม 4.75 มากที่สุด จากตารางที่ 2 การติดตามประเมินผลความพึงพอใจหลังการอบรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านเศรษฐกิจ พบว่า มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.75 และจากการติดตามประเมินผลความพึงพอใจหลังการอบรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พบว่า ผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด โดยหัวข้อความรู้ที่นักเรียนได้รับ สามารน าไปพัฒนาให้เกิดองค์ความรู้ ใหม่และขยายผลได้ หัวข้อนักเรียนสามารถน าความรู้ที่ได้รับไปจัดกิจกรรมถ่ายทอดให้แก่ผู้อื่นได้ หัวข้อความรู้ที่ ได้รับท าให้นักเรียนมีก าลังใจในการท ากิจกรรมต ่าง ๆ ในชีวิตประจ าวัน หัวข้อท าให้ลดภาระค ่าใช้จ ่ายของ นักเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.75 ทั้ง 4 หัวข้อ


ตารางที่ 3 แสดงระดับความพึงพอใจหลังการอบรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(N=4)ด้านคุณภาพชีวิตด้านสังคม สุขภาพ ความพึงพอใจหลังการอบรมของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด รวม ค่าเฉลี่ย จ านวน มาก จ านวน ปานกลาง จ านวน น้อย จ านวน น้อยที่สุด จ านวน ด้านสังคมสุภาพ 1. ความรู้ที่ได้รับท าให้นักเรียนมี สุขภาพที่ดีเพิ่มมากขึ้น 2 (50.00) 2 (50.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.50 มาก 2. ความรู้ที่ได้รับท าให้ครอบครัวของ นักเรียนมีสุขภาพที่ดีเพิ่มมากขึ้น 2 (50.00) 2 (50.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.50 มาก 3. ความรุ้ที่ได้รับนักเรียนสามารถดูแล ครอบครัวได้โดยไม่ต้องพึ่งพาคน อื่น 3 (75.00) 1 (25.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.75 มากที่สุด 4. ความรู้ที่ได้รับท าคุณภาพชีวิต สุขภาพและความเครียดดีขึ้น 3 (75.00) 1 (25.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.75 มากที่สุด 5. ความรู้ที่ได้รับท าให้นักเรียนมี ความส าเร็จตามเป้าหมายของ ท่านเอง 2 (50.00) 2 (50.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.75 มากที่สุด ค่าเฉลี่ยรวม 4.65 มากที่สุด จากตารางที่ 3 การติดตามประเมินผลความพึงพอใจหลังการอบรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านคุณภาพ ชีวิตด้านสังคมสุขภาพ พบว่า มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.65 และจากการติดตามประเมินผลความพึงพอใจหลังการอบรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านคุณภาพชีวิตด้าน สังคมสุขภาพ หัวข้อความรู้ที่ได้รับนักเรียนสามารถดูแลครอบครัวได้โดยไม่ต้องพึ่งพาคนอื่น หัวข้อความรู้ที่ได้รับ ท าให้คุณภาพชีวิตสุขภาพและความเครียดดีขึ้น หัวข้อความรู้ที่ได้รับท าให้นักเรียนมีความส าเร็จตามเป้าหมาย ของท่านเอง มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 4.75 รองลงมาคือ หัวข้อความรู้ที่ได้รับท าให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดีเพิ่มมาก ขึ้น หัวข้อความรู้ที่ได้รับท าให้ครอบครัวของนักเรียนมีสุขภาพที่ดีเพิ่มมากขึ้น มีค่าเฉลี่ย 4.50 เท่ากัน


ตารางที่ 4 แสดงระดับความพึงพอใจหลังการอบรมของผู้มีส่วนได้ส ่วนเสีย(N=4)ด้านคุณภาพชีวิตด้านสังคม การศึกษา ความพึงพอใจหลังการอบรมของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด รวม ค่าเฉลี่ย จ านวน มาก จ านวน ปานกลาง จ านวน น้อย จ านวน น้อยที่สุด จ านวน ด้านสังคงการศึกษา 1. ความรู้ที่ได้รับท านักเรียนมีความรู้ เพิ่มมากขึ้นและน าไปต่อยอด ความรู้ได้ 2 (50.00) 2 (50.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.50 มาก 2. นักเรียนมีผลลัพธ์การเรียนรู้เพิ่ม มากขึ้น 2 (50.00) 2 (50.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.50 มาก 3. นักเรียนสามารถน าความรู้ไป ถ่ายทอดให้กับเพื่อนร่วมงาน ชุมชน สังคมได้ 3 (75.00) 1 (25.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.75 มากที่สุด ค่าเฉลี่ยรวม 4.58 มากที่สุด จากตารางที่ 4 การติดตามประเมินผลความพึงพอใจหลังการอบรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านคุณภาพ ชีวิตด้านสังคมการศึกษา พบว่า มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.58 และจากการติดตามประเมินผลความพึงพอใจหลังการอบรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านคุณภาพชีวิตด้าน สังคมการศึกษา หัวข้อนักเรียนสามารถน าความรู้ไปถ่ายทอดให้กับเพื่อนร่วมงาน ชุมชน สังคมได้มีค่าเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 4.75 รองลงมาคือ หัวข้อความรู้ที่ได้รับท าให้นักเรียนมีความรุ้เพิ่มมากขึ้นและน าไปต่อยอดความรู้ได้ และ หัวข้อนักเรียนมีผลลัพธ์การเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น มีค่าเฉลี่ย 4.50 เท่ากัน


ตารางที่ 5 แสดงระดับความพึงพอใจหลังการอบรมของผู้มีส่วนได้ส ่วนเสีย(N=4)ด้านคุณภาพชีวิตด้านสังคม วัฒนธรรม ความพึงพอใจหลังการอบรมของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด รวม ค่าเฉลี่ย จ านวน มาก จ านวน ปานกลาง จ านวน น้อย จ านวน น้อยที่สุด จ านวน ด้านสังคมวัฒนธรรม 1. ความรู้ที่ได้รับท าให้เกิดการยอมรับ ความคิดเห็นที่แตกต่างกัน 2 (50.00) 2 (50.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.50 มาก 2. ความรู้ที่ได้รับท าให้มีการแสดง ความชื่นชมและเห็นคุณค่าซึ่งกัน และกัน 3 (75.00) 1 (25.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.75 มากที่สุด 3. ความรู้ที่ได้รับท าให้สามารถหาย รายได้มาเลี้ยงดูตนเองและ/หรือ จุนเจือครอบครัว/พึ่งพาตนเองได้ 2 (50.00) 2 (50.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.50 มาก 4. ความรู้ที่ได้รับท าให้มีการรวมกลุ่ม ของชุมชนที่เข้มแข็งขึ้น 2 (50.00) 2 (50.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.50 มาก ค่าเฉลี่ยรวม 4.56 มากที่สุด จากตารางที่ 5 การติดตามประเมินผลความพึงพอใจหลังการอบรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านคุณภาพ ชีวิตด้านสังคมวัฒนธรรม พบว่า มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.56 และจากการติดตามประเมินผลความพึงพอใจหลังการอบรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านคุณภาพชีวิตด้าน สังคมวัฒนธรรม หัวข้อความรู้ที่ได้รับท าให้มีการแสดงความชื่นชมและเห็นคุณค่าซึ่งกันและกัน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 4.75 รองลงมาคือ หัวข้อความรู้ที่ได้รับท าให้เกิดการยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างกัน หัวข้อความรู้ที่ ได้รับท าให้มีการแสดงความชื่นชมและเห็นคุณค่าซึ่งกันและกัน หัวข้อความรู้ที่ได้รับท าให้มีการรวมกลุ่มของ ชุมชนที่เข้มแข็งขึ้น มีค่าเฉลี่ย 4.50 เท่ากัน


ตารางที่ 6แสดงระดับความพึงพอใจหลังการอบรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (N=4)ด้านคุณภาพชีวิตด้านสิ่งแวดล้อม ความพึงพอใจหลังการอบรมของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด รวม ค่าเฉลี่ย จ านวน มาก จ านวน ปานกลาง จ านวน น้อย จ านวน น้อยที่สุด จ านวน ด้านสิ่งแวดล้อม 1. ความรู้ที่ได้รับท าให้เกิดการใช้ ประโยชน์ในทรัพยากรของชุมชนที่ มีประสิทธิภาพมากขึ้น 2 (50.00) 2 (50.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.50 มาก 2. ความรู้ที่ได้รับท าให้ตนเองมี ประโยชน์ต่อคนอื่น 4 (100.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 5.00 มากที่สุด 3. ความรู้ที่ได้รับท าให้คุณภาพชีวิต ด้านสิ่งแวดล้อมดีขึ้น 2 (50.00) 2 (50.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.50 มาก 4. สามารถน าความรู้ที่ได้ไปบริหาร จัดการวัสดุเหลือใช้ได้ดีขึ้น 2 (50.00) 2 (50.00) 0 (0) 0 (0) 0 (0) 4 (100.00) 4.50 มาก ค่าเฉลี่ยรวม 4.63 มากที่สุด จากตารางที่ 6 การติดตามประเมินผลความพึงพอใจหลังการอบรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านสิ่งแวดล้อม พบว่า มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.63 และจากการติดตามประเมินผลความพึงพอใจหลังการอบรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านคุณภาพชีวิตด้าน สิ่งแวดล้อม หัวข้อความรู้ที่ได้รับท าให้ตนเองมีประโยชน์ต่อคนอื่น มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 5.00 รองลงมาคือ หัวข้อความรู้ที่ได้รับท าให้เกิดการใช้ประโยชน์ในทรัพยากรของชุมชนที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น หัวข้อความรู้ที่ ได้รับท าให้คุณภาพชีวิตด้านสิ่งแวดล้อมดีขึ้น หัวข้อสามารถน าความรู้ที่ได้ไปบริหารจัดการวัสดุเหลือใช้ได้ดีขึ้น มี ค่าเฉลี่ย 4.50 เท่ากัน


แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของเด็กวัยเรียน ส่วนที่ 1: ข้อมูลทั่วไปของผู้ของแบบสอบถาม ข้อมูลส่วนบุคคล ก่อน หลัง จ านวน (คน) ร้อยละ จ านวน (คน) ร้อยละ อายุ (ปี) <10 11-20 21-30 22 53 25 22.00 53.00 25.00 27 47 25 27.27 47.48 25.25 เพศ ชาย หญิง 49 51 49.00 51.00 47 52 47.48 52.52 สัญชาติ ไทย อื่นๆ 51 49 51.00 49.00 21 78 21.21 78.79 ระดับการศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 4 ประถมศึกษาปีที่ 5 ประถมศึกษาปีที่ 6 29 32 39 29.00 32.00 39.00 29 28 42 29.30 28.28 42.42


ส่วนที่ 2: แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของเด็กวัยเรียน แบบสอบถาม ก่อน (n=100) หลัง (n=99) จ านวน (คน) ร้อยละ จ านวน (คน) ร้อยละ การรักษาสุขอนามัยส่วนบุคคล 1. นักเรียนแปรงฟันในเวลาตื่นนอนตอนเช้า ทุกวัน บางวัน ไม่เคยเลย 91 8 1 91.00 8.00 1.00 89 8 2 89.90 8.08 2.02 2. นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน ทุกวัน บางวัน ไม่เคยเลย 22 65 13 22.00 65.00 13.00 27 54 18 27.27 54.54 18.19 3. นักเรียนแปรงฟันก่อนนอน ทุกวัน บางวัน ไม่เคยเลย 38 56 6 38.00 56.00 6.00 66 30 3 66.67 30.30 3.03 4. การแปรงฟันแต่ละครั้ง แปรงฟันนานกี่นาที ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 1 นาที 2 นาทีขึ้นไป 15 8 77 15.00 8.00 77.00 25 6 68 25.25 6.06 68.69 5. ใน 1 วัน นักเรียนอาบน ้าบ่อยแค่ไหน วันละ 1 ครั้ง วันละ 2 ครั้ง วันละ 3 ครั้ง 59 31 10 59.00 31.00 10.00 48 36 15 48.48 36.37 15.15 6. ใน 1 สัปดาห์ นักเรียนสระผมบ่อยแค่ไหน ไม่สระผม สัปดาห์ละ 1 ครั้ง สัปดาห์ละ 2 ครั้ง สัปดาห์ละ 3-6 ครั้ง ทุกวัน 0 20 24 17 39 0.00 20.00 24.00 17.00 39.00 3 12 25 18 41 3.03 12.12 25.25 18.19 41.41


แบบสอบถาม ก่อน (n=100) หลัง (n=99) จ านวน (คน) ร้อยละ จ านวน (คน) ร้อยละ 7. ใน 1 สัปดาห์ นักเรียนดูแลเล็บมือ เล็บเท้า ให้สั้น และสะอาดอยู่เสมอบ่อยแค่ไหน ไม่เคยดูแล สัปดาห์ละ 1 ครั้ง สัปดาห์ละ 2 ครั้ง สัปดาห์ละ 3-6 ครั้ง ทุกวัน 1 17 32 13 37 1.00 17.00 32.00 13.00 37.00 0 19 31 12 37 0.00 19.19 31.31 12.12 37.38 8. นักเรียนสวมเสื้อผ้าที่ซักสะอาดและเปลี่ยนทุกวัน ไม่เคยท าเลย นานๆ ครั้ง บ่อยครั้ง ทุกวัน 3 9 13 75 3.00 9.00 13.00 75.00 3 10 12 74 3.03 10.10 12.12 74.75 9. นักเรียนล้างมือด้วยสบู่และน ้า ก่อนรับประทาน อาหาร หลังเข้าห้องน ้าและหลังหยิบจับสิ่งสกปรก ไม่เคยท าเลย นานๆ ครั้ง บ่อยครั้ง ทุกวัน 0 15 28 57 0.00 15.00 28.00 57.00 2 16 31 50 2.02 16.16 31.31 50.51 10. นักเรียนใช้ผ้าหรือกระดาษทิชชูปิดปากและจมูก เมื่อไอหรือจาม ไม่เคยท าเลย นานๆ ครั้ง บ่อยครั้ง ทุกวัน 8 22 42 28 8.00 22.00 42.00 28.00 12 20 42 25 12.12 20.20 42.43 25.25 11. นักเรียนสวมหน้ากากอนามัยเมื่อออกนอกบ้าน และขณะอยู่โรงเรียน ไม่เคยท าเลย นานๆ ครั้ง บ่อยครั้ง 0 12 19 0.00 12.00 19.00 13 45 27 13.13 45.46 27.27


แบบสอบถาม ก่อน (n=100) หลัง (n=99) จ านวน (คน) ร้อยละ จ านวน (คน) ร้อยละ ทุกวัน 69 69.00 14 14.14 การออกก าลังกาย 1. ในสัปดาห์ที่ผ่านมา นักเรียนท ากิจกรรมทางกาย หรือออกกก าลังกายหรือไม่ ท า ไม่ท า 85 15 85.00 15.00 85 14 85.86 14.14 2. ท ากิจกรรมทางกายหรือออกก าลังกายกี่วัน/ สัปดาห์ 1-3 วัน/สัปดาห์ 4-6 วัน/สัปดาห์ ทุกวัน 43 22 35 43.00 22.00 35.00 52 22 25 52.53 22.22 25.25 3. ท ากิจกรรมทางกายหรือออกก าลังกายนานวันละกี่ นาที น้อยกว่า 30 นาที/วัน ประมาณ 30-60 นาที/วัน มากกว่า 60 นาที/วัน 31 36 33 3100 36.00 33.00 34 36 29 34.34 36.36 29.30 การรับประทานอาหาร 1. รับประทานอาหารมื้อเช้าหรือไม่ ไม่รับประทาน รับประทานบางวัน รับประทานทุกวัน 71 21 8 71.00 21.00 8.00 2 18 79 2.02 18.18 79.80 2. รับประทานอาหารว่างมื้อเช้าหรือไม่ ไม่รับประทาน รับประทานบางวัน รับประทานทุกวัน 71 21 8 71 21 8 39 34 26 39.39 34.34 26.26 3. รับประทานอาหารว่างมื้อบ่ายหรือไม่ ไม่รับประทาน รับประทานบางวัน รับประทานทุกวัน 50 26 24 50.00 26.00 24.00 18 27 54 18.18 27.27 54.55


แบบสอบถาม ก่อน (n=100) หลัง (n=99) จ านวน (คน) ร้อยละ จ านวน (คน) ร้อยละ 4. รับประทานอาหารมื้อกลางวันหรือไม่ ไม่รับประทาน รับประทานบางวัน รับประทานทุกวัน 1 9 90 1.00 9.00 9.00 4 11 84 4.04 11.11 84.85 5. รับประทานเนื้อสัตว์หรือไม่ ไม่รับประทาน รับประทาน 2 98 2.00 98.00 4 95 4.04 95.96 6. รับประทานผัก/ผลไม้หรือไม่ ไม่รับประทาน รับประทาน 16 84 16.00 84.00 10 89 10.10 89.90 7. รับประทานไข่หรือไม่ ไม่รับประทาน รับประทาน 71 29 71.00 29.00 81 18 81.82 18.18 8. ดื่มนมหรือไม่ (เฉพาะที่บ้าน) ไม่ดื่ม ดื่ม 23 77 23.00 77.00 14 85 14.14 85.86 9. ในสัปดาห์ที่ผ่านมา นักเรียนดื่มน ้าอัดลม เช่น โค้ก เป๊ปซี่ น ้าเขียว น ้าแดง สไปรท์ หรือไม่ ไม่ดื่ม ดื่ม 1-3 วัน/สัปดาห์ ดื่ม 4-6 วัน/สัปดาห์ ดื่มทุกวัน 26 51 3 20 26.00 51.00 3.00 20.00 25 47 6 21 25.25 47.48 6.06 21.21 10. ในสัปดาห์ที่ผ่านมา นักเรียนรับประทานลูกอม หรือไม่ ไม่รับประทาน รับประทาน 1-3 วัน/สัปดาห์ รับประทาน 4-6 วัน/สัปดาห์ รับประทานทุกวัน 33 49 5 13 33.00 49.00 5.00 13.00 31 56 1 11 31.31 56.57 1.01 11.11


แบบสอบถาม ก่อน (n=100) หลัง (n=99) จ านวน (คน) ร้อยละ จ านวน (คน) ร้อยละ 11. ในสัปดาห์ที่ผ่านมา นักเรียนรับประทานขนมถุง กรุบกรอบหรือไม่ ไม่รับประทาน รับประทาน 1-3 วัน/สัปดาห์ รับประทาน 4-6 วัน/สัปดาห์ รับประทานทุกวัน 12 41 12 35 12.00 41.00 12.00 35.00 17 36 16 30 17.17 36.36 16.16 30.31


รูปภาพติดตามและประเมินผลการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ โครงการสร้างสุขยกก าลังสอง (สร้างสุข2 ) เพื่อน้อง ในถิ่นทุรกันดาร ปีที่ 3 ครั้งที่ 1


งงาานนปปรระะเเมิมิมินมินผผลลแแลละะติติติดติดตตาามม


Click to View FlipBook Version