The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pootzen Kang, 2019-09-17 10:14:52

6,22,30

6,22,30

ความเปน็ มา

การทาฝนหลวงน้ีมขี น้ั ตอนยงุ่ ยากหลายประการ จึงตอ้ งใชบ้ ุคลากรหลายฝ่ายรว่ มมอื กนั จึงจะประสบความสาเรจ็ ซึ่งเปน็ เหตผุ ล
หนึ่ง ที่ต้องมหี ลายหนว่ ยงานเข้าร่วมกัน สรา้ งสรรคโ์ ครงการนี้ ใหเ้ ปน็ ฝันท่ีเป็นจริงของพ่ีน้องชาวอสี านในส่วนของฝนหลวงพิเศษ
โครงการฝนหลวงพเิ ศษ หากสามารถชว่ ยเหลอื พน่ี อ้ งชาวอีสานจากภาวะแห้งแล้ง ถงึ แมจ้ ะมกี ารสรา้ งเขือ่ นหรอื อ่างเก็บนา้ ขนาด
เล็กในบางส่วนของภูมภิ าค แตก่ ็ยงั ไม่ เพยี งพอท่ีจะเก็บกักน้าสาหรบั อปุ โภค บริโภคและใชใ้ นการเกษตร โครงการน้ีจงึ สามารถ
บรรเทาความเดอื ดรอ้ นได้ เพราะสามารถที่จะเขา้ ไปปฏบิ ตั ิ ภารกจิ ในจุดต่าง ๆ ซ่งึ เกิด ภาวะแห้งแล้งได้ แม้ฝนท่ีตกในบางครั้ง
อาจจะผดิ เป้าหมายไปบา้ ง เน่ืองจาก ขอ้ ผิดพลาดของสภาพลมฟ้าอากาศ หรอื จากการคานวณ แต่กเ็ ป็น เพยี งสว่ นนอ้ ย เมอื่ เทียบ
กับผลสาเร็จซงึ่ นบั ไดว้ ่าอยู่ในระดับทนี่ า่ พงึ พอใจ
จากที่กล่าวมาในขา้ งต้น สามารถพสิ ูจน์ได้ว่า กองทัพเรอื ไม่ไดม้ เี พียงหนา้ ที่ในการปกปอ้ งนา่ นน้าไทยเทา่ นั้น แตย่ งั ได้เข้า
ช่วยเหลอื ราษฎรในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ในหลาย โครงการทรี่ ่วมมอื กับภาครัฐอ่ืนๆ เชน่ โครงการดบั ไฟปา่ ที่ จังหวดั เชยี งใหม่ สามารถ
รกั ษาพื้นทีป่ า่ ใหพ้ น้ จากความเสยี หายไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ทั้งทเี่ พ่ือรับใชเ้ บอื้ งพระยคุ ลบาท ในการชว่ ยเหลือราษฎรของ
พระองคท์ ่าน ใหอ้ ย่ดู ีกนิ ดี มคี ุณภาพชวี ิตทด่ี ีข้นึ

ท่ตี ง้ั โครงการ
กองการบินทหารเรอื ต.พลา อ.บา้ นฉาง จ.ระยอง

วตั ถปุ ระสงค์

โครงการฝนหลวง เกดิ ขน้ึ จากพระราชดารสิ ว่ นพระองค์ ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ในปี
พ.ศ ๒๔๙๕ เมอ่ื คราวเสด็จพระราชดาเนนิ เยยี่ มพสกนกิ รในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ไดท้ รงรบั ทราบถึงความเดือดรอ้ น
ทุกข์ยากของราษฎร และเกษตรกรทข่ี าดแคลนนา้ อุปโภค บรโิ ภค และการเกษตร จงึ ไดม้ พี ระมหากรุณาธคิ ุณ
พระราชทาน โครงการพระราชดาริ "ฝนหลวง" ให้กบั ม.ร.ว.เทพฤทธ์ิ เทวกลุ ไปดาเนินการ ซ่ึงต่อมา ไดเ้ กดิ เป็น
โครงการค้นควา้ ทดลอง ปฏบิ ตั ิการฝนเทยี มหรอื ฝนหลวงขึ้น ในสงั กดั สานกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมอ่ื ปี
๒๕๑๒ ด้วยความสาเรจ็ ของ โครงการ จงึ ไดต้ ราพระราชกฤษฎีกา ก่อต้ังสานักงานปฏบิ ตั กิ ารฝนหลวง ขน้ึ ในปี พ.ศ.๒๕๑๘
ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเปน็ หนว่ ยงานรองรับโครงการ พระราชดาริ "ฝนหลวง" ต่อไป

ด้วยความสาคัญ และปรมิ าณความตอ้ งการให้มีปฏิบัตกิ ารฝนหลวงชว่ ยเหลือทวี
จานวนมากข้ึน ฉะนั้นเพ่ือชว่ ยเหลือทวแี ห้งแล้งจานวนมากน้ัน เพ่ือใหง้ าน
ปฏิบตั ิการฝนหลวงสามารถปฏิบตั กิ ารช่วยเหลือเกษตรกรไดก้ ว้างขวาง และได้ผลดี
ย่งิ ข้ึน รฐั บาลจงึ ได้ตราพระราชกฤษฎกี ากอ่ ตั้ง สานักงานปฏบิ ัติการฝนหลวง ใน
สังกัดสานกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมือ่ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ.
2518 เพอื่ เป็นหน่วยงานรองรับโครงการพระราชดารฝิ นหลวงต่อไป กระทั่งมีการ
ปรับปรุง และพัฒนาปฏบิ ตั ิการฝนหลวงมาจนถงึ ปัจจุบนั

วธิ กี ารทาฝนหลวง

การทาฝนหลวง เปน็ กรรมวธิ กี ารเหน่ยี วนาน้าจากฟา้ ซึ่งตอ้ งใชเ้ คร่ืองบนิ ทมี่ อี ัตราการบรรทุกมาก ๆ บรรจสุ ารเคมขี น้ึ ไปโปรยใน
ทอ้ งฟ้า โดยดูจากความชืน้ ของจานวนเมฆ และสภาพของทิศทางลมประกอบกนั ปัจจยั สาคญั ทีท่ าให้เกดิ ฝน คอื ความรอ้ นชนื้ ปะทะ
ความเยน็ และมีแกนกลั่นตัวที่มปี ระสทิ ธภิ าพในปรมิ าณทเ่ี หมาะสม
มขี นั้ ตอนดงั น้ี
ข้นั ตอนทห่ี น่งึ : กอ่ กวน

การก่อกวน เป็นขั้นตอนที่เมฆธรรมชาติเรมิ่ กอ่ ตวั ทางแนวตัง้ การปฏิบตั ิการฝนหลวงในขน้ั ตอนน้ี จะมงุ่ ใชส้ ารเคมี
ไปกระต้นุ ใหม้ วลอากาศเกดิ การลอยตัวขึ้นส่เู บอ้ื งบน เพือ่ ให้เกดิ กระบวนการชกั นาไอนา้ หรอื ความช้ืนเขา้ สู่ระบบการเกดิ เมฆ
ระยะเวลาทีจ่ ะปฏบิ ตั กิ ารในขนั้ ตอนน้ี ไม่ควรเกนิ 10.00 น. ของแตล่ ะวัน โดยการใช้สารเคมที สี่ ามารถดูดซับไอนา้ จากมวลอากาศ
ได้ แม้จะมเี ปอร์เซน็ ตค์ วามชนื้ สมั พทั ธต์ ่า เพอื่ กระตนุ้ กลไกของกระบวนการกล่ันตัวไอน้าในมวลอากาศ ทางด้านเหนอื ลมของพนื้ ท่ี
เปา้ หมาย เม่อื เมฆเรมิ่ เกิดมกี ารกอ่ ตัวและเจรญิ เติบโตในแนวต้งั จึงใชส้ ารเคมที ่ใี หป้ ฏิกิรยิ าคายความร้อน โปรยเป็นวงกลม หรอื
เปน็ แนวถดั มาทางใตล้ มเปน็ ระยะทางส้ัน ๆ เขา้ ส่กู อ้ นเมฆ เพ่ือกระตนุ้ ให้เกิดกลุ่มแกนรว่ มในบรเิ วณปฏบิ ตั กิ ารสาหรบั ใช้เปน็
ศูนยก์ ลางท่จี ะสรา้ งกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนตอ่ ไป

ขัน้ ตอนท่ีสอง : เลี้ยงให้อ้วน

การเลย้ี งใหอ้ ้วน เป็นขน้ั ตอนทเี่ มฆกาลังก่อตัวเจรญิ เตบิ โตซงึ่ เปน็ ระยะท่ีสาคัญมากในการปฏบิ ตั ิการฝนหลวง
เพราะจะตอ้ งไปเพิ่มพลังงานใหก้ บั การลอยตวั ของก้อนเมฆใหย้ าวนานออกไป โดยตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยีและประสบการณ์ หรือศลิ ปะ
แหง่ การทาฝนควบคู่ไปพร้อม ๆ กนั เพ่อื ตดั สินใจ โปรยสารเคมฝี นหลวงชนิดใด ณ ท่ใี ดของกลมุ่ กอ้ นเมฆ และในอัตราใดจงึ
เหมาะสม เพราะ ตอ้ งใหก้ ระบวนการเกิดละอองเมฆสมดุลกบั การลอยตวั ของเมฆ มฉิ ะนนั้ จะทาใหเ้ มฆสลาย

ข้ันตอนท่ีสาม : โจมตี

การโจมตี ถือเปน็ ขน้ั ตอนสุดท้ายของกรรมวธิ ีปฏบิ ตั ิการฝนหลวง โดย เมฆ หรือ กล่มุ เมฆฝน ตอ้ งมคี วาม
หนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็นฝนได้ ภายในกล่มุ เมฆจะมีเมด็ น้าขนาดใหญม่ ากมาย หากเครื่องบนิ บนิ เขา้ ไปในกลุม่ เมฆฝนนี้
จะมีเม็ดน้าเกาะตามปกี และกระจงั หนา้ ของเครื่องบนิ ซงึ่ ในจะตอ้ งปฏบิ ตั ิการเพอื่ ลดความรุนแรงในการลอยตวั ของก้อนเมฆ หรือ
ทาให้อายกุ ารลอยตัวนน้ั หมดไป สาหรับการปฏบิ ัติการในขน้ั ตอนน้ี จะตอ้ งพจิ ารณาจดุ มุ่งหมายของการทาฝนหลวง ซ่งึ มีอยู่ 2
ประเด็น คือ เพ่อื เพ่มิ ปรมิ าณฝนตก และเพ่อื ใหเ้ กิดการกระจายการตกของฝน


Click to View FlipBook Version