แผนพัฒนา เศรษฐกิจฉบับที่ 1-13 กลุ่มที่ 3
แนวทางการพัฒนา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คือการกำ หนดแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ เพื่อให้ประชาชนมีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นเป็น แม่แบบของการวางแผนด้านเศรษฐกิจและสังคมในประเทศ รวมถึงเป็นเป้าหมายร่วมที่คนในสังคมพยายามขับเคลื่อน เศรษฐกิจให้เดินไปในทิศทางเดียวกัน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504-2509) การลงทุนในสาธารณูปโภคขั้นพื้น ฐาน การสะสมทุนทางกายภาพ และ เร่งการขยายตัวทางเศรษฐกิจ Fauget Stationery สาระสำ คัญ :
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514) การเน้นกายขยายอัตราความเจริญทางเศรษฐกิจ การกระจายความเจริญไปทั่วประเทศ ในพื้นที่ ห่างไกล ทุรกันดาร สาระสำ คัญ :
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) การขยายอัตราความเจริญทางเศรษฐกิจ การลด ช่องว่างระหว่างรายได้และบริการทางสังคม มีน โยบายด้านประชากรเรื่อง การคุมกำ เนิด สาระสำ คัญ :
มุ่งการขยายการผลิตสาขาเกษตร ปรับปรุงโครงสร้าง อุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการส่งออก รวมถึงกระจาย รายได้ในภูมิภาค และเริ่มมีการสำ รวจแหล่งพลังงาน บริเวณอ่าวไทย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) สาระสำ คัญ :
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจการเงินของ ประเทศ การปรับโครงสร้างทางการเกษตร ทาง อุตสาหกรรม โครงสร้างการผลิต รวมถึงระดมความ ช่วยเหลือจากภาคเอกชน สาระสำ คัญ :
มีการออกแผนหลักการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ มีการพัฒนาเมืองและพื้นที่เฉพาะและการกระจายความเจริญไปสู่เมืองภูมิภาค แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534)
กำ หนดการ กระจายสินค้าสู่คู่ค้า แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเน้นการพัฒนาให้เกิดความสมดุลทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ด้านการกระจายรายได้ และด้านการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539)
การเน้นคนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา การพัฒนาที่เน้นความสมดุลในด้านสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) มีการอัญเชิญปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการ พัฒนา ดำ เนินการต่อเนื่องในเรื่องของการ เน้นคนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาและ การฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศภายหลัง วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2540
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) มีดำ เนินการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนื่อง มีวิสัยทัศน์ คือ สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน
ฉบับที่ 11 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) สาระสำ คัญ : ดำ เนินการพัฒนาต่อเนื่องจากแผนฯ ที่ 8-10 คือ การยึด หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา นอกจาก นี้ ยังกำ หนดวิสัยทัศน์ประเทศ ในระยะ 5 ปี คือ สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง
ฉบับที่ 12 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) สาระสำ คัญ : การพัฒนาประเทศดำ เนินตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่าง ต่อเนื่อง จัดทำ บนพื้นฐานของกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมทั้งการปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ ประเทศไทย 4.0 เพื่อมุ่งสู่ “ความมั่งคง มั่งคั่ง และยั่งยืน”
ฉบับที่ 13 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ตามเจตนารมณ์ของยุทธศาสตร์ชาติ ตามหลักการและแนวคิด 4 ประการ คือ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การสร้างความสามารถในการล้มแล้วลุกไว เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ การพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว
นางสาวรวิวรรณ เเก้วบัวดี เลขที่ 16 นางสาวพิมพ์ธิดา วิเศษสิงห์ เลขที่ 18 นางสาวอภิสรา โพธ์ทองคำ เลขที่ 22 มัธยมศึกษาปีที่ 5/2 สมาชิก ชิ