กการารศึศกึกษขษาขสา่อสว่อวนงนปงปดรระดกะอกอออบกบกแแคค
จัดทำโดย
นายโอมธัช วิริยะธีรกิจ
ชั้น ม.5 ห้อง 335 แผนการเรียน วิทย์-คณิต เลขที่ 42
เสนอ
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตำแหน่ง ครูวิทยฐานะ ครูชำนาญการ สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประกอบรายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
คำนำ
แม็กกาซีนเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา
ชีววิทยา 4(ว30244) เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องส่วน
ประกอบของดอก โดยศึกษาผ่านการลงมือแยกส่วนประกอบ
ของดอกแค โดยแม็กกาซีนเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป
และข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของดอกแค พร้อมภาพประกอบ
และคลิปวิดีโอศึกษาลักษณะกายวิภาคของดอกแค
ผู้จัดทำคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การจัดทำแม็กกาซีน
เล่มนี้จะมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาส่วนประกอบ
ของดอกแคในการให้ความรู้และคลายข้อสงสัยได้เป็นอย่างดี
โอมธัช วิริยะธีรกิจ
19 พฤศจิกายน 2565
สารบัญ
หัวข้อ หน้าที่
ข้อมูลทั่วไปของดอกแค------------------------------------1
ข้อมูลเบื้องต้นของโครงสร้างดอกแค---------------------3
ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของดอกแค----------------------4
ภาพประกอบข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ดอกแค-----------5
บรรณานุกรมและเอกสารอ้างอิง--------------------------9
ภาคผนวก
คลิปวิดีโอขณะทำการศึกษา------------------------10
ภาพขณะทำการศึกษา------------------------------11
หน้าที่ 1
ข้อมูลทั่วไปของดอกแค
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Sesbania grandiflora (L.) Desv.
ชื่อสามัญ : Agasta, Sesban, Vegetable humming bird
วงศ์ : Leguminosae - Papilionoideae
ชื่อท้ องถิ่น : แค แคบ้านดอกแดง แคขาว (ภาคกลาง) แคแดง (เชียงใหม่)
ประเภทพืช: ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง
ถิ่นที่พบ: สามารถเจริญเติบโตได้ทั่วไปในเขตร้อนชื้น
ลำต้ น: สูง 3-6 เมตร แตกกิ่งก้านสาขามาก เปลือกต้นสีน้ำตาลปนเทา
ขรุขระ แตกเป็ นสะเก็ด
ราก: เป็ นระบบรากแก้ว มีลักษณะกลมๆ แทงลึกลงในดิน มีรากแขนงและ
รากย่อย รากออกตามรอบๆลำต้น มีสีน้ำตาล
ใบแค: เป็ นใบประกอบแบบขนนก ออกเรียงสลับ มีใบย่อยขนาดเล็กรูปขอบ
ขนาน ปลายใบมนกว้าง ขอบใบและแผ่นใบเรียบ ใบสีเขียว กว้างประมาณ
1-1.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 3-4 เซนติเมตร
ดอกแค: ลักษณะของดอกคล้ายดอกถั่ว ออกดอกเป็ นช่อบริเวณซอกใบ 2-3
ดอก ดอกมีกลิ่นหอม มีสีขาวหรือสีแดง มีก้านเกสรตัวผู้สีขาวอยู่ 60 อัน กลีบ
เลี้ยงเป็ นรูประฆังหรือรูปถ้วย
หน้าที่ 2
ข้อมูลทั่วไปของดอกแค
ผลแค: ผลมีลักษณะเป็ นฝักกลมยาว มีความยาวประมาณ 8-15
เซนติเมตร ผสมเกสรโดยนก ฝักเมื่อแก่จะแตกออกเป็ น 2 ซีก และมี
เมล็ดอยู่ด้านใน ฝักแคมีสีเขียวอ่อน สามารถรับประทานเป็ นอาหารได้
เมล็ดแค: มีลักษณะเหมือนลิ่ม เมล็ดกลมแป้ น สีน้ำตาล มีหลายเมล็ด
สรรพคุณ : เปลือก
ต้มหรือฝนรับประทาน แก้โรคบิดมีตัว
แก้มูกเลือด แก้ท้องเดิน ท้องร่วง คุมธาตุ
ภายนอก ใช้ชะล้างบาดแผล
ดอก,ใบ
รับประทานแก้ไข้เปลี่ยนอากาศ เปลี่ยนฤดู (แก้ไข้หัวลม)
ชาวอินเดีย ใช้สูดน้ำที่คั้นได้จากดอกหรือใบแคเข้าจมูกรักษาโรค
ริดสีดวงในจมูก และทำให้มีน้ำมูกออกมา แก้ปวดและหนักศีรษะ ลด
ความร้อน ลดไข้
ประโยชน์ ของแค:
- นิยมปลูกไว้เป็ นรั้วบ้าน ปลูกตามคันนา ริมถนนข้างทาง และปลูกไว้ใน
บริเวณบ้าน
-ดอกแคฝักอ่อน ยอดอ่อน และใบอ่อน สามารถนำมาปรุงเป็ นอาหารได้
หลากหลาย เมนูดอกแค เช่น แกงแค, แกงส้ม
หน้าที่ 3
ข้อมูลเบื้องต้นของโครงสร้างดอกแค
เป็ นดอกสมบูรณ์ เพศ (Perfect flower)
เป็ นดอกครบส่วน (Complete flower)
เป็ นดอกช่อ (Influorescence flower)
ดอกมีสมมาตรแบบด้านข้าง
(Zygomorphic flower)
ดอกมีชนิ ดรังไข่แบบอยู่เหนื อวงกลีบ
(Superior ovary)
หน้าที่ 4
ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของดอกแค
ลักษณะทางสัณฐานภายนอกและกายวิภาคภายใน
ก้านดอกย่อย: มีสีเขียว ขนาดสั้นอยู่ติดกับฐานรองดอก
ฐานรองดอก: มีลักษณะพองออกที่ปลายกิ่ง มีขนาดสั้น
กลีบเลี้ยง: กลีบเลี้ยงมีสีเขียว วงกลีบเลีี้ยงแบบเชื่อม
ติดกัน(synsepaolus calyx) ประกอบด้วยหลอดกลีบ
เลี้ยง(calyx tube) และแฉกกลีบเลี้ยง(calyx lobes)
มี5 แฉก
กลีบดอก: กลีบดอกมีสีขาว วงกลีบดอกแบบแยกจาก
กันอิสระ(polypetalous corolla) มี 5 กลีบ
เกสรตัวผู้: มี 10 อัน ก้านเกสรตัวผู้เชื่อมติดกันแต่อับ
เรณูเป็ นอิสระ แยกออกเป็ น 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งมีเกสร
ตัวผู้ 9 อัน อีกกลุ่มมีเกสรตัวผู้ 1 อัน
เกสรตัวเมีย: มี 1 อัน ยอดเกสรลักษณะกลม รังไข่ยาว
แบนโค้งเล็กน้อย เป็ นรังไข่ที่อยู่เหนือวงกลีบ
ดอก(superior ovary)
หน้าที่ 5
ก้านดอกย่อย ก้านดอก
(pedicel) (peduncle)
ฐานรองดอก
(receptacle)
วงกลีบดอก
(corolla)
กลีบเลี้ยง
(sepal)
แฉกกลีบเลี้ยง กลีบดอก
(calyx lobes) (petal)
หลอดกลีบเลี้ยง
(calyx tube)
หน้าที่ 6
เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย
(stamen) (carpel)
ฐานรองดอก
(receptacle)
ยอดเกสรตัวเมีย
(stigma)
อับเรณู ก้านชูเกสรตัวเมีย
(anther) (style)
ก้านชูอับเรณู รังไข่
(filament) (ovary)
ออวุล
(ovule)
ก้านดอกย่อย หน้าที่ 7
(pedicel)
ก้านดอก
(peduncle)
ฐานรองดอก
(receptacle)
วงกลีบดอก กลีบเลี้ยง
(corolla) (sepal)
เกสรตัวผู้
(stamen)
เกสรตัวเมีย
(carpel)
หน้าที่ 8
ก้านดอก หลอดกลีบเลี้ยง แฉกกลีบเลี้ยง กลีบดอก
(peduncle) (calyx tube) (calyx lobes) (petal)
ก้านดอกย่อย รังไข่
(pedicel) (ovary)
ยอดเกสรตัวเมีย
(stigma)
อับเรณู
(anther)
ก้านชูเกสรตัวเมีย
(style)
ก้านชูอับเรณู ฐานรองดอก
(filament) (receptacle)
หน้าที่ 9
บรรณานุกรมและเอกสารอ้างอิง
ข้อมูลทั่วไปของดอกแค https://arit.kpru.ac.th/ap2/local/?
nu=pages&page_id=1586&code_db=610010&code_type=01
http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_09.htm
https://www.thai-thaifood.com/th/%E0%B9%81%E0%B8%84/
เอกสาร เรื่อง บทปฏิบัติการดอก http://old-book.ru.ac.th/e-
book/b/BO333(H)(48)/BO333(H)(48)-7.pdf
หน้าที่ 10
ภาคผนวก
คลิปวิดีโอขณะทำการศึกษา
URL: https://youtu.be/6AZV0yuM_hM
หน้าที่ 11
ภาคผนวก
ภาพขณะกำลังผ่าดอก อุปกรณ์ในการ
ศึกษาโครงสร้างกลีบเลี้ยง ทำการผ่าดอก
ภาพขณะกำลังผ่าดอก ภาพขณะกำลังผ่าดอก
ศึกษเากสรตัวผู้ ศึกษาโครงสร้างกลีบดอก