The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by acp.pim.m, 2022-09-08 22:36:53

Petai Kerayong

Petai Kerayong

Petai Kerayong

Scientific name :
Parkia timoriana (DC.) Merr.

Common names :
Petai Kerayong

Family :
FABACEAE or LEGUMINOSAE

Description :
Its growth form is a tree, up to 50 m tall. The Foliage features alternate, bipinnate leaves bear numerous small
leaflets on it. Its flowers are about 2 mm in diameter, borne on a stalked pear-shaped inflorescence. Its fruits are
green pods that contain numerous seeds, about 27 cm long. Grows in lowland forests, along hillsides and ridges.
Cultivation is propagated by seed.

Habitat and distribution :
India to Myanmar, Thailand, Indo-China, through Malay Peninsula to New Guinea.
Native Habitat: Terrestrial (Primary Rainforest, Mountain, Secondary Rainforest, Monsoon Forest)

Ethnobotanical Uses :
There are a number of human uses for this tree. The wood is used for firewood and lumber. Tree bean is a
common food in Thailand and Indonesia. In Thai cuisine this vegetable is known as nitta sprout, and it is added to
curry.

Source :
www.nparks.gov.sg/florafaunaweb

เหรียง

ช่อื วทิ ยาศาสตร์ :
Parkia timoriana (DC.) Merr.

ช่อื เรียกอ่นื :
กะเหร่ยี ง เรยี ง สะเหรย่ี ง สะตือ นะกิง นะรงิ เรียง เหรียง เมลด็ เหรียง

ช่อื วงศ์ :
FABACEAE หรือ LEGUMINOSAE

ลักษณะ :
จัดเปน็ ไมย้ ืนต้นผลดั ใบขนาดกลาง มีลําตน้ ตรง มคี วามสูงได้ถงึ 50 เมตร ลักษณะโดยท่วั ไปจะคล้ายคลงึ กบั ตน้ สะตอ แต่
มีพุ่มใบแน่นเปน็ สีเขียวทึบกว่าพุ่มใบของสะตอ ก้านใบยาวประมาณ 4-12 เซนติเมตร เปน็ รูปมนยาว ออกดอกเปน็ ช่อกลม
ผลเปน็ ฝักกวา้ งประมาณ 3-4 เซนติเมตร

การกระจายพันธุ์ :
เปน็ พันธ์ุไม้ท่มี ีเขตการกระจายพันธุใ์ นหมู่เกาะตมิ อรแ์ ละในแถบเอเชยี เขตรอ้ น ซ่งึ ไลต่ ั้งแตป่ ระเทศอินเดียไปจนถึงประเทศ
ปาปัวนวิ กินี ส่วนในประเทศไทยนั้นจะพบข้นึ ได้ทวั่ ไปทางภาคใต้ มกั ข้นึ ตามป่าดบิ ช้นื

ประโยชน์ :
เมล็ดเหรียงมรี สมนั ช่วยบํารุงร่างกาย มีคณุ คา่ ทางสมนุ ไพรท่ดี เี ปน็ ยาแกอ้ าการจุกเสียดแนน่ ทอ้ ง


Click to View FlipBook Version