The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือ/เอกสารประกอบการสอนในคอร์สเรียนออนไลน์ iot learning

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by All Tech, 2023-09-04 00:01:30

couses online smart hom iot learning kit

คู่มือ/เอกสารประกอบการสอนในคอร์สเรียนออนไลน์ iot learning

Keywords: smart home,learning,couse,online,iot,ชุดเรียนรู้,coding,เพื่อการศึกษา

ความสะดวกสบาย ระบบความปลอดภัย ประหยัดพลังงาน ตอบสนอง life style คนรุ่นใหม่ Coding - Smart Home


1. Model บ้าน 2. NodeMCU base 1.0 3. NodeMCU V.3 6. สายต่อไฟ 8.อุปกรณ์ประกอบ Model 7. สวิทซ์ไฟ 9. โฟโตบอร์ด 11. สาย USB 12. ตัวต้านทาน (resistor) 15. คู่มือการเรียนรู้ 16. วิดิโอสอน 4. แผ่นอะคริลิค อุปกรณ์ Smart Home 5. รังถ่าน 2A 10. ถ่าน 2A 13. Adapter 14. หลอดไฟ


IoT คืออะไร


Internet of Things (IoT) หมายถึง “อุปกรณ์” จำนวนมากที่เชื่อมต่อกับ อินเทอร์เน็ต หรือหมายถึงการเชื่อมโยงของอุปกรณ์ อัจฉริยะทั้งหลายผ่านอินเทอร์เน็ตเพื่อให้สามารถแบ่ง ปันข้อมูลกับสิ่งต่าง ๆ และนำเทคโนโลยีนี้เข้ามาใช้เพื่อ อำนวยความสะดวกมากยิ่งขึ้น ในบทความนี้เราจะพาไป ทำความรู้จักกับอุปกรณ์ IoT ที่สามารถนำไปใช้ในชีวิต ประจำวันได้ IoT คืออะไร Internet of Things (IoT)


ระบบสตาร์ทรถและ ควบคุมรถแบบไร้สาย ระบบ iot ในปัจจุบัน ระบบการสั่งงานด้วยเสียง ระบบควบคุมเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟอัจฉริยะ ระบบสวิตซ์ไฟอัจฉริยะ ระบบการ เตือนภัยอัจฉริยะ ระบบรักษาความปลอดภัย


ระบบ iot ในปัจจุบัน ระบบการสั่งงานด้วยเสียง ระบบการสั่งงานด้วยเสียง ระบบการสั่งงานสมาร์ทโฟนด้วยเสียงเป็น ระบบ IoT ที่ถูกนำมาใช้กับการควบคุม อุปกรณ์เช่น ระบบ Voice Assistant ของ ระบบปฏิบัติการ Android ที่บริษัท Google พัฒนาขึ้นมา หรือ Siri ในระบบปฏิบัติการ ios แทนการสั่งด้วยการสัมผัสหน้าจอ


ระบบ iot ในปัจจุบัน ระบบการเตือนภัยอัจฉริยะ ระบบการเตือนภัยอัจฉริยะเป็นระบบ IoT ที่ จะทำการตรวจจับการทำงานต่าง ๆ ของเครื่อง ใช้ภายในบ้าน และจะทำการเตือนภัยต่าง ๆ ผ่านไปยังสมาร์ทโฟนของผู้ใช้ไม่ว่าจะเป็น การลืมปิดน้ำ ปิดไฟ การพบควันและประกาย ไฟติดในบ้าน แก๊สรั่วซึม เป็นต้น ระบบการ เตือนภัยอัจฉริยะ


ระบบ iot ในปัจจุบัน ระบบไฟอัจฉริยะ ระบบไฟอัจฉริยะเป็นระบบ IoT ที่ทำให้ผู้ใช้ งานสามารถดูแลสั่งการ การทำงานของระบบไฟ ส่องสว่างภายในบ้าน การปรับระดับแสงหรือ สีไฟ รวมทั้งการตั้งเวลาเปิดปิด ทั้งจากการสั่ง การด้วยเสียงและระบบตรวจจับการเคลื่อนไหว รวมทั้งการสั่งงานผ่านสมาร์ทโฟน ระบบไฟอัจฉริยะ


ระบบ iot ในปัจจุบัน ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบรักษาความปลอดภัยเป็นระบบ IoT รักษา ความปลอดภัยและทรัพย์สิน เช่น กล้องวงจรปิด แบบไร้สายที่สามารถดูภาพได้ทุกที่ผ่านสมาร์ท โฟน เซ็นเซอร์ประตู/หน้าต่าง และระบบเปิด ปิดประตูบ้าน รวมทั้งการแจ้งเตือนผ่านลำโพงที่ สามารถสั่งเปิด/ปิดผ่านสมาร์ทโฟนได้ ระบบรักษาความปลอดภัย


ระบบ iot ในปัจจุบัน ระบบควบคุมเครื่องปรับอากาศ ระบบควบคุมเครื่องปรับอากาศภายในบ้านเป็น ระบบ IoT ที่สามารถสั่งงานเครื่องปรับอากาศ ได้ล่วงหน้าก่อนเดินทางกลับถึงบ้าน เหมาะ สำหรับเมืองไทยซึ่งเป็นเมืองร้อน และทำให้เย็น ได้ทันทีที่กลับบ้าน รวมถึงการควบคุมรักษา ระดับอุณหภูมิให้คงที่และเหมาะสม ระบบควบคุม เครื่องปรับอากาศ


ระบบ iot ในปัจจุบัน ระบบสวิตซ์ไฟอัจฉริยะ ระบบสวิตช์ไฟอัจฉริยะภายในบ้านเป็นระบบ IoT ซึ่งติดตั้งเพื่อเปิด/ปิดไฟส่องสว่างตามจุดที่ สำคัญของบ้าน เช่น ทางเดิน ประตูหน้าต่าง เป็นต้น ผ่านสมาร์ทโฟน คำสั่งเสียง และการตั้ง ค่าเปิด/ปิด อัตโนมัติ ระบบสวิตซ์ไฟอัจฉริยะ


ระบบ iot ในปัจจุบัน ระบบสตาร์ทรถและควบคุมรถแบบไร้สาย ระบบสตาร์ทรถและควบคุมรถแบบไร้สายเป็นระบบ IoT แบบใหม่ในธุรกิจยานยนต์ที่เริ่มมีการจำหน่าย รถยนต์ที่รองรับระบบดังกล่าวออกมาใช้จริงแล้ว เริ่มจาก เปิด/ปิด/ล็อก รถยนต์จากระยะไกลผ่านแอปพลิเคชั่น ในสมาร์ทโฟน และสามารถเช็คพิกัดตำแหน่งรถได้ ระบบสตาร์ทรถและ ควบคุมรถแบบไร้สาย


รูปแบบการเขียนโปรแกรม iot ด้วย Arduino และ Blynk


รูปแบบการเขียนโปรแกรม iot ด้วย Arduino และ Blynk


Home Assistant


Home Assistant


Home Assistant


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 1 การต่อวงจรสวิตซ์ไฟ


หลอดไฟ LED คือ หลอดไฟ LED (Light Emitting Diode) หรือไดโอด เปล่งแสง เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำอย่างหนึ่งจัดอยู่ใน จำพวกไดโอดที่สามารถเปล่งแสงในช่วงสเปกตรัมแคบ แสงที่เปล่งออกมาประกอบด้วยคลื่นความถี่เดียวและเฟส ต่อเนื่องกัน ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 1 การต่อวงจรสวิตซ์ไฟ


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 1 การต่อวงจรสวิตซ์ไฟ หลักการทำ งาน โครงสร้างประกอบไปด้วยสารกึ่งตัวนำสองชนิด (สารกึ่งตัวนำชนิด N และสารกึ่ง ตัวนำชนิด P) ประกบเข้าด้วยกัน มีผิวข้างหนึ่งเรียบคล้ายกระจกเมื่อจ่าย ไฟฟ้ากระแสตรงผ่านตัว LED โดยจ่ายไฟบวกให้ขาแอโนด (A) จ่ายไฟลบให้ขา แคโทด (K) ทำให้อิเล็กตรอนที่สารกึ่งตัวนำชนิด N มีพลังงานสูงขึ้น จนสามารถวิ่ง ข้ามรอยต่อจากสารชนิด N ไปรวมกับโฮลในสารชนิด P การที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ ผ่านรอยต่อ PN ทำให้เกิดกระแสไหล เป็นผลให้ระดับพลังงานของอิเล็กตรอน เปลี่ยนไปและคายพลังงานออกมาในรูปคลื่นแสง


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 1 การต่อวงจรสวิตซ์ไฟ ปัจจุบันแอลอีดีมีหลายรูปแบบ แบ่งตามลักษณะของ Packet แบ่งได้ 2 แบบ แบบที่ 1 Lamp Type เป็นแอลอีดีชนิดที่พบกันทั่วไปมีขายื่นออกมาจากตัว Epoxy 2 ขาหรือ มากกว่า โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 3 mm. ขึ้นไป บริษัทผู้ผลิตจะ ออกแบบให้กระแสได้ไม่เกิน 150 mA.


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 1 การต่อวงจรสวิตซ์ไฟ แบบที่ 1 Lamp Type ตัวอย่าง lamp type โครงสร้างภายใน


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 1 การต่อวงจรสวิตซ์ไฟ แบบที่ 2 Surface Mount Type (SMD) มีลักษณะ packet เป็นตัวบาง ๆ เวลาประกอบต้องใช้เครื่องมือชนิดพิเศษ มีขนาดการขับกระแสตั้งแต่ 20 mA - 1 A สำหรับแอลอีดีแบบ SMD ถ้าขับ กระแสได้ตั้งแต่ 300 mA ขึ้นไปจะเรียกว่า Power LED การใช้งานส่วนใหญ่จะ ใช้ภายในเนื่องจากสารเคลือบหน้าหลอดแอลอีดีส่วนใหญ่จะเป็นซิลิโคน ซึ่ง ละอองน้ำหรือความชื้นสามารถซึมผ่านได้


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 1 การต่อวงจรสวิตซ์ไฟ แบบที่ 2 Surface Mount Type (SMD) ตัวอย่าง Surface Mount Type (SMD) โครงสร้างภายใน


สวิตช์ไฟ สวิตช์ไฟ คือ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ควบคุมวงจรกระแสไฟฟ้า ทำหน้าที่เปิดกระแสไฟ หรือตัดกระแสไฟไม่ให้ไหลเข้าสู่ เครื่องใช้ไฟฟ้า หลอดไฟ เครื่องมือ เครื่องจักรที่ใช้ไฟฟ้า สวิตช์ไฟถูกออกแบบมาให้ติดตั้งได้ง่าย ใช้งานง่าย สามารถ ตอบสนองความต้องการได้รวดเร็วเพียงแค่สัมผัส ผลิตจาก พลาสติกที่ทนความร้อน มีหลายดีไซน์ให้เลือกใช้งาน ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 1 การต่อวงจรสวิตซ์ไฟ


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 1 การต่อวงจรสวิตซ์ไฟ รางถ่าน AA 2 ก้อน รางถ่าน AA 2 ก้อน ต่อแบบ อนุกรมแรงดัน (Volt) ที่ได้คือ 3 V. สำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็ก ที่ใช้ไฟแรงดัน DC 3 Volt


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 1 การต่อวงจรสวิตซ์ไฟ Diagram วงจรการต่อสวิตซ์ไฟ 3V. SW LED


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 1 การต่อวงจรสวิตซ์ไฟ Diagram การต่อกับอุปกรณ์จริง


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 1 การต่อวงจรสวิตซ์ไฟ Diagram การต่อกับอุปกรณ์จริง


SW Micro controller LED input output ภาพรวมการทำ งานของระบบ Smart Home iot Learning kit ภาพรวม


วงจร Pull up หรือ วงจร Pull down คือการต่อ ตัวต้านทานที่ขา input ของไมโครคอนโทลเลอร์ วงจร Pull up, Pull down คืออะไร ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 2 การต่อสวิตซ์ไฟเข้ากับไมโครคอนโทรลเลอร์


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 2 การต่อสวิตซ์ไฟเข้ากับไมโครคอนโทรลเลอร์ เหตุผลที่ต้องต่อวงจร Pull up หรือ Pull down ให้กับขา input ของไมโคร คอนโทรเลอร์ ถ้าเราต่อสวิตส์หรือ เซนเซอร์ต่างๆ เข้ากับไมโครคอนโทรเลอร์ตรงๆ อย่างเดียว อาจจะทำให้เกิดสัญญาณรบกวนได้ในกรณีที่ input ถูกลอยขาไว้ไม่ ได้จ่าย logic high หรือ logic low เช่น การต่อสวิตส์ถ้าเรากดสวิตส์จะทำให้ มี logic high จ่ายให้กับ input ของไมโครคอนโทลเลอร์แต่ถ้าเราปล่อยสวิตส์ ทำให้ขา input ถูกลอยไว้ไม่ได้ต่อลงกราวหรือ logic low ดังนั้นจึงต้องต่อ วงจร Pull up, Pull down เพื่อให้แน่ใจว่าเป็น logic high หรือ logic low เสมอ ถึงแม้ว่าจะไม่มี input ป้อนเข้ามา


Pull-up Resistor Pull-up Resistor คือการนำตัวต้านทานต่อเข้า กับ Vcc (+5V) เพื่อให้แรงดันอยู่คงที่ ทำให้อยู่ใน สถานะ “HIGH” หรือ “1” ตลอดเวลา และเมื่อกด สวิตซ์กระแสไฟฟ้าจะไหลลง Ground ทันทีซึ่งทำให้ สถานะเป็นลอจิก “LOW” หรือ “0” และ การทำงาน ลักษณะนี้จะเรียกว่า Active Low เพราะว่าจะเขียน โปรแกรมที่ทำงาน เมื่อลอจิกเป็น “LOW” ส่วนใหญ่ เราจะเห็นต่อสวิตซ์นิยมใช้แบบ Pull-up มากกว่า ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 2 การต่อสวิตซ์ไฟเข้ากับไมโครคอนโทรลเลอร์


Pull-down Resistor Pull-down Resistor คือการต่อ ตัวต้านทาน จาก input ของไมโครคอนโทลเลอร์เข้ากับ กราวด์ โดยใน Pull-down Resistor จะมีลักษณะคล้ายกับ Pull-up Resistor แตกต่าง ตรงที่ สภาวะปกติของ Pull-down Resistor จะเป็นลอจิก “LOW” หรือ “0” เมื่อมีการกดปุ่ม กระแสไฟจะไหลเข้าขาอินพุท ทำให้ ลอจิกเป็น “HIGH” หรือ “1” ได้การทำงานใน ลักษณะนี้จะเรียกว่า Active High ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 2 การต่อสวิตซ์ไฟเข้ากับไมโครคอนโทรลเลอร์


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 3 การต่อหลอดไฟ LED เข้ากับไมโครคอนโทรลเลอร์การต่อ led เข้ากับหลอดไฟ


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 3 การต่อหลอดไฟ LED เข้ากับไมโครคอนโทรลเลอร์วงจรรวม


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งงานด้วย ESPHome


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งงานด้วย ESPHome ขาอุปกรณ์ ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ต่อกับหลอดไฟ ต่อกับสวิตซ์ไฟ


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งงานด้วย ESPHome ขั้นตอนการเขียน code 1) เปิด google chrome แล้วไปที่ URL ตามเอกสารแนบในชุดเรียนรู้


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งงานด้วย ESPHome


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งงานด้วย ESPHome ตั้งชื่อตามต้องการ


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งงานด้วย ESPHome


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งงานด้วย ESPHome


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งงานด้วย ESPHome


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งงานด้วย ESPHome


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งงานด้วย ESPHome


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งงานด้วย ESPHome


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งงานด้วย ESPHome


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 4 การเขียนโปรแกรมควบคุมสั่งงานด้วย ESPHome


ฝึกปฏิบัติ ตอนที่ 5 การควบคุมสั่งงานด้วย ESPHome


Click to View FlipBook Version