ค่มู อื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
(Handbook of a Competency Appraisal for Basic Education students based on
the Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D.2008))
ความสามารถ ความสามารถ
ในการใชเ้ ทคโนโลยี ในการสือ่ สาร
ความสามารถ ความสามารถ
ในการใช้ทักษะชีวิต ในการคดิ
ความสามารถ
ในการแกป้ ัญหา
สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
คมู่ อื ประเมินสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี นระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
(Handbook of a Competency Appraisal for Basic Education students based on
the Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D.2008) )
สำนักทดสอบทางการศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
คูม่ อื ประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
ปที ่พี ิมพ ์ : พ.ศ. 2555
จำนวนพิมพ ์ : 500 เล่ม
ลขิ สทิ ธิ์เป็นของ : สำนักทดสอบทางการศกึ ษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ
โทรศพั ท ์ 0-2288-5783
โทรสาร 0-2281-6236
เว็บไซต์ : http://bet.obec.go.th
พมิ พท์ ่ี : โรงพิมพส์ ำนกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ
314-316 ซอยบ้านบาตร ถนนบำรงุ เมือง แขวงบ้านบาตร
เขตป้อมปราบศัตรพู ่าย กทม. 10100
คำนำ
ตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดให้สมรรถนะ
สำคัญของผู้เรียนเป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและมีขีด
ความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก นอกเหนือจากคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานและตัวช้ีวัด
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนั้นการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนจึงเป็นกลไกสำคัญอัน
หน่ึงท่ีสะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 โดยในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนด
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรบั ผเู้ รียนไว้ 5 สมรรถนะ ไดแ้ ก่ ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถใน
การคิด ความสามารถในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต และความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี ซึ่งสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้เล็งเห็น
ความสำคัญของการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรของครูผู้สอนในระดับสถาน
ศึกษา จึงได้พัฒนาเครื่องมือท่ีมีคุณภาพและน่าเชื่อถือในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนเพ่ือ
ใช้ในระดับสถานศึกษาในแต่ละระดับ ช่วงช้ัน ได้แก่ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งมีรูปแบบการประเมินที่หลากหลายวิธีการ โดยให้ทุกฝ่ายได้มี
ส่วนร่วมในการประเมินสมรรถนะของผู้เรียน เช่น ให้ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมินตนเอง และ
เพ่ือนประเมินผู้เรียน เป็นต้น ดังนั้น สำนักทดสอบทางการศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเครื่องมือ
ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ซ่ึงประกอบด้วยคู่มือและเครื่องมือในการประเมินสมรรถนะ
สำคัญของผู้เรียนที่ได้พัฒนาข้ึนจะมีประโยชน์อย่างย่ิงในการประเมินและพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
ในทกุ ระดบั ตอ่ ไป
สำนักทดสอบทางการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
กรกฎาคม 2554
สารบัญ
เรื่อง หนา้
1. วัตถปุ ระสงค์ในการประเมิน 1
2. ฐานคิดของการสร้างแบบประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1
3. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน 4
พุทธศกั ราช 2551
4. แนวทางการประเมิน 5
5. เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการประเมนิ 5
6. วิธีการประเมนิ และการวเิ คราะห์ข้อมลู 11
ภาคผนวก
_ แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียนสำหรับนักเรียนประเมนิ ตนเอง 14
ฉบบั ที่ 2/1 (คู่ขนาน)
_ แบบประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียนสำหรับนกั เรยี นประเมินตนเอง 20
ฉบับที่ 2/2 (คขู่ นาน)
_ แบบประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นสำหรับนักเรียนประเมนิ ตนเอง 25
ฉบบั ท่ี 2/3 (คู่ขนาน)
_ เกณฑ์การประเมนิ คุณภาพ (Rubric) สำหรบั ครูผู้สอนประเมนิ นกั เรยี น 30
คณะทำงาน
51
คำชีแ้ จง
เอกสารประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551 ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ฉบบั นีจ้ ัดทำขนึ้ เพือ่ เป็นแนวทางใหแ้ กส่ ถานศกึ ษา ในการ
ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
ใน 5 สมรรถนะ ได้แก่ ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้
ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี โดยเอกสารการ
ประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียนฉบบั นี้ ประกอบดว้ ย 2 ส่วน คอื
ส่วนที่ 1 คู่มือการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ประกอบด้วย สาระสำคัญเก่ียว
กบั วตั ถุประสงคใ์ นการประเมนิ ฐานคิดของการสร้างและพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะ รายละเอียด
และคำอธิบายตัวช้วี ดั ของแตล่ ะสมรรถนะของผู้เรยี น แนวทางการประเมิน กรอบโครงสร้างเครอ่ื งมือ
ท่ีใช้ในการประเมิน วิธีการประเมินและการบันทึกข้อมูล และเกณฑ์การตัดสินและการแปล
ความหมาย
ส่วนที่ 2 แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ประกอบด้วย เคร่ืองมือประเมิน
สมรรถนะผู้เรียน 3 ฉบับ ได้แก่ 1) แบบประเมนิ สำหรบั ครปู ระเมนิ ผเู้ รียน และ 2) แบบประเมินสำหรบั
ผู้เรยี นประเมนิ ตนเอง (การประเมนิ พฤตกิ รรมและการประเมินทศั นคต)ิ
ดังน้ัน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ผู้ประเมิน
ควรทำความเข้าใจกับสาระสำคัญของแต่ละเรื่องในเอกสารฉบับน้ีอย่างละเอียดก่อนท่ีจะนำไป
ประเมินผู้เรยี น
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียนระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับประถมศกึ ษา (ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6)
การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นการประเมินสมรรถนะของ
ผเู้ รยี นท่ีจำเป็นในการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ในรูปแบบของการประเมนิ
จากหลายแหล่ง (Multi-rater Approach) และการประเมินด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย (Multi-
method) ซงึ่ มีเอกสารทีใ่ ช้ในการประเมนิ ดังนี้
1. คมู่ ือการประเมนิ สมรรถนะของผเู้ รยี น
2. แบบประเมินสมรรถนะของผูเ้ รียน ประกอบด้วย
2.1 เกณฑก์ ารประเมนิ สำหรบั ครูผสู้ อนประเมนิ นกั เรียน
2.2 แบบประเมนิ ตนเองสำหรับนกั เรียนประเมนิ ตนเอง
2.3 แบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ
1. วัตถุประสงค์ในการประเมนิ
เพื่อได้ข้อมูลเก่ียวกับสมรรถนะท่ีจำเป็นของผู้เรียนสำหรับใช้ในการปรับปรุงและพัฒนา
ผเู้ รียน ให้สามารถเรยี นรู้ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
2. ฐานคดิ ของการสร้างแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
แบบประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามหลกั สตู รแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มีฐานคดิ มาจากแนวคดิ ของ Prof. David C. McClelland
นกั จติ วิทยาของมหาวทิ ยาลยั Harvard ทก่ี ล่าวไวว้ า่ “สมรรถนะ คือ บคุ ลกิ ลักษณะทซี่ อ่ นอยูภ่ ายใน
ปัจเจกบคุ คล ซ่ึงผลกั ดันให้บุคคลน้นั สามารถสร้างผลการปฏิบตั ิงานท่ดี ี หรอื ปฏิบตั งิ านทรี่ บั ผดิ ชอบ
ได้ตามเกณฑ์ ท่ีกำหนด” ซึ่งความหมายในบริบทของผู้เรียน สมรรถนะ หมายถึง คุณลักษณะ
เชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณลักษณะอื่นๆ ท่ีทำให้นักเรียน
สามารถเรียนรู้หรือปฏิบตั งิ านหรอื สรา้ งผลงานได้โดดเด่นกวา่ เพือ่ นร่วมงานอ่ืนๆ ในชัน้ เรยี น
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร 1
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
องค์ประกอบของสมรรถนะ
McClelland ได้กล่าวว่า สมรรถนะประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 ส่วน สรุปได้ดังน้ี
(McClelland ,1973 ; สกุ ัญญา รศั มีธรรมโชติ , 2547 ; สำนักงาน ก.พ. , 2548 ; รัชนีวรรณ วนิชย์
ถนอม, 2547; ชนาธปิ ท้ยุ แป, 2551)
1. ทักษะ (Skills) หมายถึง ส่ิงที่บุคคลกระทำได้ดี และฝึกปฏิบัติเป็นประจำจนเกิด
ความชำนาญ เชน่ ทักษะของหมอฟนั ในการอดุ ฟัน โดยไม่ทำให้คนไขร้ สู้ ึกเสียวเส้นประสาท
2. ความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความรู้เฉพาะด้านของบุคคล เช่น ความรู้ภาษา
อังกฤษ ความรดู้ ้านการบรหิ ารตน้ ทนุ เป็นต้น
3. ภาพลักษณภ์ ายในบุคคล (Self-Image / Self-concept) หมายถึง ทศั นคติ คา่ นิยม
และความคิดเห็นเก่ียวกับภาพลักษณ์ของตนเอง หรือสิ่งที่บุคคลเช่ือว่าตนเองเป็น เช่น
Self-confidence คนทม่ี คี วามเช่ือม่ัน ในตนเองสูง จะเช่ือวา่ ตนเองสามารถแก้ปญั หาต่างๆ ได
้
4. คุณลักษณะภายในหรืออุปนิสัย (Traits) หมายถึง บุคลิกลักษณะประจำตัวของบุคคล
เป็นส่งิ ท่ีอธิบายถึงบุคคลนัน้ เช่น เป็นคนท่นี า่ เชอ่ื ถอื และไว้วางใจ หรอื มีลักษณะเป็นผู้นำ เป็นต้น
5. แรงจูงใจ (Motive) หมายถึง แรงขบั ภายใน ซึง่ ทำใหบ้ ุคคลแสดงพฤติกรรมท่มี ่งุ สูส่ ง่ิ ที่
เป็นเป้าหมาย เช่น บุคคลท่ีมุ่งผลสัมฤทธ์ิ (Achievement Orientation) มักชอบตั้งเป้าหมาย
ทท่ี ้าทาย และพยายามทำงานสำเรจ็ ตามเปา้ ที่ต้ังไว้ ตลอดจนพยายามปรบั ปรุงการทำงานของตนเอง
ตลอดเวลา
โดยความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ ของสมรรถนะน้ันนิยมทำการอธิบายด้วยโมเดล
ภเู ขานำ้ แขง็ (Iceberg Model) ดงั แผนภาพท่ี 1
Skills, Knowledge ÊÇ‹ ¹·àÕè ˹ç ä´§Œ ‹Ò Skills
Self-Image ʋǹ·è«Õ ‹Í¹Í‹٠Knowledge
ã¹áµÅ‹ кؤ¤Å
TTrraaititss Self-Image
Motives Traits
Motives
ปรับปรุงจาก : สกุ ัญญา รัศมธี รรมโชติ , 2547
คู่มือ2 ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ระดบั ของสมรรถนะ
อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์ ( 2547) กล่าวว่า ระดับของสมรรถนะหรือความสามารถ
(Proficiency Level) เป็นการบ่งบอกถึงพฤติกรรมที่คาดหวังหรือต้องการให้เกิดขึ้น ซ่ึงจะแยกตาม
ระดบั ท่ีแตกตา่ งกนั ไป โดยจะแบง่ ออกเป็น 5 ระดับไดแ้ ก่
1) Basic Level ขน้ั เรียนรู้ : การเร่ิมตน้ ฝกึ หดั ซึง่ สามารถปฏิบัตงิ านได้โดยตอ้ งอยภู่ ายใต้
กรอบหรอื แนวทางท่ีกำหนดขน้ึ หรอื เป็นสถานการณ์ท่ีไมย่ ุ่งยากซบั ซอ้ นได้
2) Doing Level ขั้นปฏิบัติ : การแสดงพฤติกรรมที่กำหนดขึ้นได้ด้วยตนเองหรือ
ชว่ ยเหลือสมาชกิ ในทีมให้สามารถปฏิบัติงานตามทไี่ ด้รบั มอบหมาย
3) Developing Level ข้ันพัฒนา : ความสามารถในการนำสมาชิกในทีม รวมถึง
การออกแบบและคิดริเรม่ิ ส่ิงใหมๆ่ เพ่ือประโยชนแ์ ละเปา้ หมายของทีมงาน
4) Advanced Level ขั้นก้าวหน้า : การคิดวิเคราะห์และนำสิ่งใหม่ๆ มาใช้เพื่อ
เสริมสร้างประสิทธิภาพการทำงานของหน่วยงาน และความสามารถในการสอนผู้อื่นให้สามารถ
แสดงพฤติกรรมนน้ั ๆ ได้ตามทีก่ ำหนด
5) Expert Level ขั้นผู้เช่ียวชาญ : การมุ่งเน้นกลยุทธ์และแผนงานในระดับองค์การ
รวมถงึ ความสามารถ ในการให้คำปรึกษาแนะนำแกผ่ ู้อืน่ ถงึ แนวทางหรือข้ันตอนการทำงานและวธิ กี าร
แก้ไขปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร 3
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียนตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ท่ีใชเ้ ปน็ กรอบ ในการประเมนิ ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ 16 ตวั ชว้ี ัด โดยมีรายละเอียดดงั น้
ี
สมรรถนะ
คำอธิบาย
จำนวน
ตวั ชว้ี ัด
1 ความสามารถ ความสามารถในการรบั และสง่ สาร มวี ัฒนธรรมในการใชภ้ าษาถ่ายทอด 4
ในการสอื่ สาร
ความคดิ ความรูค้ วามเข้าใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเอง เพอ่ื
แลกเปลยี่ นขอ้ มลู ข่าวสาร และประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชนต์ ่อการ
พัฒนาตนเองและสงั คม รวมทัง้ การเจรจาต่อรองเพอื่ ขจดั และลดปญั หา
ความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ การเลอื กรับหรือไมร่ บั ขอ้ มลู ขา่ วสารด้วยหลกั เหตผุ ล
และ ความถกู ต้อง ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ กี ารส่อื สารท่มี ีประสิทธิภาพ
โดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่มี ีตอ่ ตนเองและสงั คม
2 ความสามารถ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคิดอย่าง 2
ในการคิด
สรา้ งสรรค์ การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบเพื่อนำไปสู่
การสรา้ งองคค์ วามรู้ หรือสารสนเทศ เพ่ือการตัดสินใจเกีย่ วกบั ตนเอง
และสังคมได้อยา่ งเหมาะสม
3 ความสามารถ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ ท่ีเผชิญไดอ้ ยา่ ง
2
ในการแก้ ถกู ตอ้ งเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ
ปัญหา
เขา้ ใจความสัมพนั ธแ์ ละการเปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ ต่าง ๆ ในสงั คม
แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามร้มู าใช้ในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หา และ
มกี ารตดั สินใจที่มปี ระสทิ ธิภาพ โดยคำนงึ ถึงผลกระทบที่เกิดข้นึ ตอ่ ตนเอง
สังคมและส่ิงแวดล้อม
4 ความสามารถ ความสามารถในการนำกระบวนการตา่ ง ๆ ไปใชใ้ นการดำเนินชีวิต 6
ในการใช้ ประจำวัน การเรยี นรูด้ ้วยตนเอง การเรยี นรูอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง การทำงานและ
ทกั ษะชวี ติ
การอยู่รว่ มกนั ในสงั คมด้วยการสรา้ งเสรมิ ความสมั พนั ธอ์ ันดีระหวา่ งบคุ คล
การจดั การปัญหาและความขัดแยง้ ต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตัว
ให้ทนั กบั การเปล่ียนแปลงของสังคม และสภาพแวดล้อมและการรูจ้ กั
หลกี เลีย่ งพฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงค์ ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ น่ื
5 ความสามารถ ความสามารถในการเลอื กและใชเ้ ทคโนโลยีด้านตา่ ง ๆ และมีทักษะ 2
ในการใช้ กระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่อื การพฒั นาตนเองและสังคมในดา้ น
เทคโนโลยี
การเรยี นรกู้ ารสอ่ื สาร การทำงาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์
ถูกตอ้ งเหมาะสมและมีคุณธรรม
หมายเหตุ รายละเอยี ดเก่ยี วกบั ตัวชวี้ ดั ในแต่ละสมรรถนะระบุไว้ในภาคผนวก
คู่มอื4 ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
4. แนวทางการประเมิน
แนวทางการประเมินสมรรถนะผู้เรียน ใช้ในรูปแบบของการประเมินจากหลายแหล่ง
(Multi-rater Approach) และการประเมินด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย (Multi-method) โดย
รายละเอยี ด ดังแผนภาพท่ี 2
ʋǹ·‹ÕàËç¹ä´Œ Skills ¤Ã»Ù ÃÐàÁ¹Ô (Rubric)
Knowledge
ÊÇ‹ ¹·«‹Õ Í‹ ¹Í‹٠¼àŒÙ ÃÂÕ ¹»ÃÐàÁÔ¹µ¹àͧ (Rating scale)
ã¹áµÅ‹ кؤ¤Å
Traits, Motives, Self-Image
5. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
เครอ่ื งมือที่ใช้ในการประเมินสมรรถนะในระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 มี จำนวน 2 ชุด คอื
5.1 แบบประเมินสมรรถนะสำหรับครูผู้สอนประเมิน มีลักษณะเป็นแบบประเมิน
เกณฑค์ ุณภาพ (Rubric) โดยเกณฑ์การประเมินในแตล่ ะตัวช้ีวัดจะมลี กั ษณะเปน็ เกณฑ์แบบแยกสว่ น
(Analytic Criteria) ซ่ึงแบ่งคุณภาพออกเป็น 4 ระดับ คือ ระดับดีเยี่ยม ระดับดี ระดับพอใช้หรือ
ผ่านเกณฑ์ และระดับปรับปรุงหรือไม่ผ่านเกณฑ์ โดยเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละตัวช้ีวัด มีดังนี้ คือ
ระดับดเี ยย่ี ม ได้ 3 คะแนน ระดับดี ได้ 2 คะแนน ระดบั พอใชห้ รอื ผ่านเกณฑ์ ได้ 1 คะแนน และ
ระดบั ปรับปรงุ หรือไมผ่ ่านเกณฑ์ ได้ 0 คะแนน
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร 5
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตวั อยา่ ง เกณฑ์คณุ ภาพ (Rubric)
สมรรถนะท่ี 5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
ตัวช้วี ัดที่ 1 เลอื กและใชเ้ ทคโนโลยเี พอื่ พฒั นาตนเองและสงั คม
พฤติกรรมบง่ ช
้ี ดเี ย่ียม
ระดับคณุ ภาพ
ปรบั ปรุง
ดี
พอใช้ / ผ่านเกณฑ์
1. เลอื กและใช้ เลือกและใช้เทคโนโลยี เลอื กและใชเ้ ทคโนโลยี ใช้เทคโนโลยใี นการ ใช้เทคโนโลยี
เทคโนโลยีใน ท่ีเหมาะสม ในการ ทเี่ หมาะสม ในการ การสืบคน้ ค้นคว้า ในการการสืบค้น
การเรยี นรูอ้ ย่าง การสืบค้น ค้นคว้า การสืบค้น คน้ คว้า รวบรวมความรู้ได้ ค้นคว้า รวบรวม
สรา้ งสรรค์ รวบรวม สรปุ ความ รวบรวมความรู้ได้ ด้วยตนเองอยา่ ง
ความร้ไู ด้โดยมีผู้
และมคี ณุ ธรรม
รู้ได้ด้วยรูปแบบของ ดว้ ยตนเองอยา่ ง
ถูกต้อง
แนะนำหรือลอก
ตนเองอยา่ ง ถูกต้อง
เลยี นแบบผอู้ นื่
สร้างสรรค์
5.2 แบบประเมินสมรรถนะสำหรับนักเรียนประเมินตนเอง ซึ่งจัดทำไว้ 3 ฉบับ คู่ขนาน
เพือ่ ใหค้ รูสามารถนำไปเลอื กใช้ มีลักษณะเปน็ มาตรวดั ประมาณคา่ (Rating scale) โดยแบง่ ออกเป็น
2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 การวัดพฤติกรรมการปฏิบัติหรือคุณลักษณะของนักเรียน มีลักษณะเป็นแบบ
มาตรวัดประมาณค่า 3 ระดับ คือ ไม่เคยปฏิบัติ ปฏิบัติบางคร้ัง ปฏิบัติบ่อยคร้ัง โดยเกณฑ์การให้
คะแนน แต่ละข้อรายการ มีดงั นี้ คอื ไมเ่ คยปฏิบัติเลย ได้ 0 คะแนน ปฏิบัตบิ างครงั้ ได้ 1 คะแนน
และปฏิบตั ิบ่อยครัง้ ได้ 2 คะแนน
ตัวอย่าง แบบวัดพฤตกิ รรมการปฏบิ ัติหรอื คุณลักษณะของนกั เรียน
สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
รายการพฤติกรรม
ความถข่ี องการปฏบิ ตั ิ
ไม่เคย
บางครง้ั
บอ่ ยครั้ง
1. ข้าพเจ้าใช้เทคโนโลยเี พ่อื ประโยชน์ในการเรยี นรอู้ ยา่ งเหมาะสม
(0)
(1)
(2)
2. ข้าพเจา้ เลือกใชข้ อ้ มลู ขา่ วสารจากอินเทอรเ์ นต็ เพ่อื ประโยชนต์ อ่
ตนเองหรือผ้อู น่ื อย่างเหมาะสม
3…
คู่มือ6 ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตอนท่ี 2 การวัดทัศนคติหรือความคิดเห็นของนักเรียน มีลักษณะเป็นแบบมาตรวัด
ประมาณค่า 5 ระดับ คอื นอ้ ยท่สี ุด นอ้ ย ปานกลาง มาก และมากที่สดุ หรือ ไม่เหน็ ดว้ ยอยา่ งยงิ่ ไม่
เหน็ ด้วย เฉยๆ เห็นด้วย และเหน็ ด้วยอย่างยิง่ โดยเกณฑก์ ารให้คะแนนแต่ละขอ้ รายการ มีดังนี้ คือ
ขอ้ ความทางบวก น้อยท่ีสดุ หรอื ไมเ่ หน็ ดว้ ยอย่างยิ่ง ได้ 1 คะแนน น้อยหรือไม่เห็นดว้ ย ได้ 2 คะแนน
ปานกลางหรือเฉยๆ ได้ 3 คะแนน มากหรือเหน็ ดว้ ย ได้ 4 คะแนน มากทส่ี ดุ หรือเห็นดว้ ยอย่างย่ิง ได้
5 คะแนน สว่ นขอ้ ความทางลบ นอ้ ยทส่ี ดุ หรือไม่เห็นดว้ ยอย่างย่ิง ได้ 5 คะแนน นอ้ ยหรือไมเ่ ห็นด้วย
ได้ 4 คะแนน ปานกลางหรอื เฉยๆ ได้ 3 คะแนน มากหรือเห็นดว้ ย ได้ 2 คะแนน มากท่สี ดุ หรือเหน็
ด้วยอยา่ งย่ิง ได้ 1 คะแนน
ตวั อยา่ ง แบบวดั ทัศนคติหรือความคดิ เหน็ ของนักเรียน
สมรรถนะท่ี 5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
ระดับความคิดเหน็
รายการ
นอ้ ย นอ้ ย
ปาน มาก
มาก
ท่สี ุด
กลาง
ทีส่ ุด
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
1. ขา้ พเจา้ ชอบที่ครใู ช้เทคโนโลยีในการจดั การเรียนการสอน
2. ข้าพเจ้าเข้าใจบทเรียนไดด้ ีข้ึนเมือ่ ครูใชเ้ ทคโนโลยใี นการจดั การ
เรียนการสอน
3…
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร 7
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
รายละเอียดของโครงสรา้ งเครือ่ งมือประเมิน
ตาราง โครงสร้างแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 สำหรับ
ครูผสู้ อนประเมนิ นกั เรียน
สมรรถนะ
ตัวชี้วัด
ลักษณะเครือ่ งมอื
จำนวนขอ้
1. ความสามารถ
1.1 ใชภ้ าษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
แบบประเมนิ 4
ในการสอื่ สาร
ความคดิ ความรสู้ ึก และทัศนะของตนเอง
คณุ ภาพ (Rubric)
ด้วยการพูดและการเขียน
1.2 พดู เจรจาตอ่ รอง
2
1.3 เลือกรบั หรอื ไมร่ ับข้อมูลข่าวสาร
2
1.4 เลือกใช้วิธีการส่อื สาร
1
2. ความสามารถ
2.1 คิดพน้ื ฐาน
3
ในการคดิ
2.2 คิดข้นั สูง
3
3. ความสามารถ
3.1 ใช้กระบวนการแก้ปญั หาโดยการวิเคราะห์ 13
ในการแก้ปญั หา
ปญั หา วางแผนในการแกป้ ัญหา ดำเนินการ
แก้ปัญหา ตรวจสอบและสรปุ ผล
3.2 ผลลพั ธท์ ่ีเกดิ จากการแก้ปัญหา
1
4. ความสามารถ
4.1 นำกระบวนการเรียนรูท้ ่ีหลากหลายไปใช้ 1
ในการใช้ทกั ษะชวี ติ
ในชวี ิตประจำวนั
4.2 เรยี นร้ดู ว้ ยตนเองและเรยี นรู้อย่างต่อเนือ่ ง
3
4.3 ทำงานและอยู่รว่ มกนั ในสังคมอย่างมี 3
ความสุข
4.4 จัดการกับปัญหาและความขดั แย้ง
1
ในสถานการณ์ตา่ งๆ ได้อย่างเหมาะสม
4.5 ปรับตัวตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม 2
และสภาพแวดล้อม
4.6 หลกี เลยี่ งพฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงค์ ทีส่ ง่ ผล 2
กระทบต่อตนเองและผู้อ่นื
5. ความสามารถ
5.1 เลอื กและใชเ้ ทคโนโลยเี พื่อพัฒนาตนเอง 4
ในการใช้ และสงั คม
4
5.2 มที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลย
ี
เทคโนโลยี
รวมท้ังสน้ิ
49
คู่มือ8 ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตาราง โครงสร้างแบบประเมินสมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน สำหรับนักเรียนประเมินตนเอง (ภาคปฏบิ ตั )ิ
สมรรถนะ
ตวั ชว้ี ดั
ลกั ษณะเครื่องมอื
จำนวนขอ้
1. ความสามารถ 1.1 ใช้ภาษาถ่ายทอดความร้คู วามเข้าใจ ความคดิ แบบมาตรวดั 2
ในการส่อื สาร
ความร้สู ึก และทัศนะของตนเองดว้ ยการพดู
ประมาณคา่ 2
และการเขียน
(Rating scale)
1.2 พดู เจรจาต่อรอง
3 ระดบั
1.3 เลือกรับหรอื ไมร่ บั ข้อมูลขา่ วสาร
2
1.4 เลือกใชว้ ธิ กี ารสือ่ สาร
2
2. ความสามารถ 2.1 คิดพ้นื ฐาน
4
ในการคดิ
2.2 คดิ ขัน้ สงู
4
3. ความสามารถ 3.1 ใช้กระบวนการแกป้ ัญหาโดยการวิเคราะห์ 5
ในการแก้ปัญหา ปญั หา วางแผนในการแก้ปัญหา ดำเนินการ
แก้ปญั หา ตรวจสอบและสรุปผล
3.2 ผลลพั ธท์ ี่เกิดจากการแกป้ ญั หา
1
4 ความสามารถ 4.1 นำกระบวนการเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย ไปใช้ใน 1
ในการใชท้ ักษะชีวิต ชีวิตประจำวนั
4.2 เรยี นรดู้ ว้ ยตนเองและเรยี นรู้อย่างต่อเนื่อง
2
4.3 ทำงานและอยรู่ ว่ มกันในสงั คมอยา่ งมคี วามสขุ
2
4.4 จดั การกบั ปัญหาและความขดั แย้งใน 3
สถานการณต์ ่างๆ ได้อยา่ งเหมาะสม
4.5 ปรบั ตวั ต่อการเปลย่ี นแปลงทางสงั คม
2
และสภาพแวดล้อม
4.6 หลกี เล่ยี งพฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงคท์ ส่ี ง่ ผล 2
กระทบต่อตนเองและผอู้ ืน่
5 ความสามารถ 5.1 เลือกและใชเ้ ทคโนโลยีเพ่อื พฒั นาตนเอง
2
ในการใช้ และสังคม
4
เทคโนโลยี
5.2 มที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
รวมท้งั ส้นิ
40
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร 9
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตาราง โครงสร้างแบบประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน สำหรับนกั เรียนประเมินตนเอง (ภาคความรู้สึก)
สมรรถนะ
ตัวชวี้ ัด
ลกั ษณะเครอ่ื งมอื
จำนวนขอ้
1. ความสามารถ 1.1 ใชภ้ าษาถา่ ยทอดความรคู้ วามเขา้ ใจ ความคดิ แบบมาตรวัด 1
ในการส่ือสาร
ความรูส้ ึก และทศั นะของตนเอง ด้วยการพูด
ประมาณค่า 2
และการเขียน
(Rating scale)
1.2 พดู เจรจาตอ่ รอง
5 ระดบั
1.3 เลอื กรบั หรือไมร่ บั ข้อมลู ขา่ วสาร
1
1.4 เลอื กใช้วธิ กี ารสื่อสาร
2
2. ความสามารถ 2.1 คิดพนื้ ฐาน
4
ในการคิด
2.2 คดิ ขั้นสูง
2
3. ความสามารถ 3.1 ใชก้ ระบวนการแก้ปญั หาโดยการวิเคราะห์ 5
ในการแกป้ ัญหา
ปญั หา วางแผนในการแก้ปัญหา ดำเนนิ การ
แกป้ ญั หา ตรวจสอบและสรปุ ผล
3.2 ผลลัพธ์ทเ่ี กดิ จากการแก้ปัญหา
1
4 ความสามารถ
4.1 นำกระบวนการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลายไปใช้ใน 1
ในการใช้ทักษะชีวติ
ชวี ติ ประจำวัน
4.2 เรยี นรดู้ ้วยตนเองและเรยี นร้อู ยา่ งต่อเนือ่ ง
1
4.3 ทำงานและอย่รู ่วมกนั ในสงั คมอยา่ งมคี วามสขุ
1
4.4 จัดการกบั ปญั หาและความขดั แย้งใน 1
สถานการณ์ต่างๆ ได้อยา่ งเหมาะสม
4.5 ปรบั ตัวต่อการเปล่ยี นแปลงทางสังคม
1
และสภาพแวดล้อม
4.6 หลีกเลยี่ งพฤติกรรมไม่พึงประสงคท์ ่สี ่งผล 1
กระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น
5 ความสามารถ
5.1 เลอื กและใช้เทคโนโลยเี พ่ือพัฒนาตนเอง
5
ในการใช้ และสงั คม
1
เทคโนโลยี
5.2 มที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
รวมทัง้ สิ้น
30
คู่มอื10 ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
6. วิธีการประเมินและวิเคราะหข์ อ้ มูล
6.1 วิธีการประเมิน ชุดแบบประเมินนี้ เป็นการประเมินท่ีมุ่งใช้รูปแบบของการประเมิน
จากหลายแหล่ง (Multi-rater Approach) และการประเมินด้วยวิธีการที่หลากหลาย (Multi-
method) โดยให้เด็กแตล่ ะคนทำการประเมินตนเอง และครูทำการประเมินอกี ครัง้ หนง่ึ
¤ÃÙ»ÃÐàÁÔ¹ ¹¡Ñ àÃÕ¹ ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹µ¹àͧ
6.2 การวเิ คราะหข์ ้อมูล การวิเคราะหข์ อ้ มลู สามารถแบง่ ออกเปน็ 2 ระดบั คือ
1) การวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละสมรรถนะ ผลการประเมินท่ีได้จากแหล่งประเมิน
ตา่ งๆ ในแตล่ ะสมรรถนะจะมคี ะแนนอยู่ระหวา่ ง 0 – 3 แล้วนำผลการประเมินแต่ละแหลง่ มาคำนวณ
หาค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) เพื่อเป็นค่าคะแนนในแต่ละสมรรถนะของผู้เรียน โดยมีระดับคุณภาพ
ของสมรรถนะดงั ต่อไปนี
้
ระดบั คณุ ภาพ
เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ
ดมี าก/ผา่ นขัน้ สงู
มีคะแนนต้งั แตร่ อ้ ยละ 75 ขึน้ ไป
มคี ะแนนระหวา่ งร้อยละ 40 -74
ด/ี ผ่าน
มคี ะแนนตำ่ กว่ารอ้ ยละ 40
ปรบั ปรุง/
2) การวเิ คราะหข์ ้อมลู ของสมรรถนะในภาพรวม
นำคะแนนที่ได้ในแต่ละสมรรถนะมาคำนวณหาคะแนนเฉล่ียในภาพรวมของทุก
สมรรถนะ (ผลรวมของคะแนนในทุกสมรรถนะหารด้วยจำนวนสมรรถนะ) และนำไปเทียบกับเกณฑ์
ในการตัดสนิ ดังต่อไปนี้
ระดับคณุ ภาพ
เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ
ดีเยี่ยม
มผี ลการประเมนิ ในระดับดี/ผา่ น ครบท้งั 5 สมรรถนะ
ดี
มผี ลการประเมนิ ในระดบั ด/ี ผ่าน 4 สมรรถนะ
พอใช
้ มีผลการประเมนิ ในระดับด/ี ผา่ น 3 สมรรถนะ
ปรบั ปรุง
มีผลการประเมินในระดับดี/ผ่าน 1- 2 สมรรถนะ
11
คู่มอื
ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ภาคผนวก
ฉบับที่ 2/1
แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน สำหรับนักเรียนประเมนิ ตนเอง
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
ระดับประถมศกึ ษา (ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6)
คำชีแ้ จง
1. แบบประเมินแบ่งออกเป็น 2 ตอน ประกอบด้วย
ตอนที่ 1 แบบประเมินการปฏิบตั ติ นของนักเรยี น มีข้อความท้ังหมด 40 ข้อ เมื่อนกั เรียน
อา่ นขอ้ ความแต่ละข้อแลว้ นักเรยี นไดป้ ฏิบตั อิ ย่างไรให้ตอบในชอ่ งท่ตี รงกับการปฏิบตั ิของนักเรยี น
มากท่ีสุด คอื
ไมเ่ คยปฏิบตั ิเลย ใหใ้ สเ่ ครอื่ งหมาย 3 ทช่ี อ่ งหมายเลข 0
ปฏิบตั ิเป็นบางครง้ั ให้ใส่เครอ่ื งหมาย 3 ท่ชี ่องหมายเลข 1
ปฏบิ ตั ิบอ่ ยคร้งั ใหใ้ ส่เครือ่ งหมาย 3 ท่ชี อ่ งหมายเลข 2
ตอนท่ี 2 แบบประเมินความคิดเห็น ความรู้สึกของนักเรียน มีข้อความท้ังหมด 30 ข้อ
เมือ่ นักเรยี นอา่ นขอ้ ความแต่ละขอ้ แล้ว นักเรยี นมคี วามคดิ เห็น หรือความรู้สกึ ย่างไรให้ตอบในชอ่ ง
ทต่ี รงกับความคิดเหน็ หรือความร้สู ึกของนกั เรียนมากทสี่ ุด คอื
นอ้ ยทีส่ ดุ ใหใ้ สเ่ คร่อื งหมาย 3 ท่ีช่องหมายเลข 1
นอ้ ย ให้ใสเ่ คร่อื งหมาย 3 ท่ีชอ่ งหมายเลข 2
ปานกลาง ให้ใสเ่ คร่ืองหมาย 3 ท่ชี อ่ งหมายเลข 3
มาก ให้ใสเ่ ครื่องหมาย 3 ทีช่ ่องหมายเลข 4
มากทีส่ ดุ ใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย 3 ทช่ี ่องหมายเลข 5
2. ขอให้นักเรียนตอบแบบสอบถามใหค้ รบทุกรายการประเมิน
3. ผลการตอบแบบสอบถามคร้ังนจี้ ะไมม่ ีผลเสียต่อนักเรียนและสถานศกึ ษาแต่อยา่ งใด
ข้อมลู ทัว่ ไปของนกั เรยี น
ช่ือ............................................................ นามสกลุ .............................................................
ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที.่ ......................................
โรงเรยี น..................................................................
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา..........................................เขต…................
เพศ p ชาย p หญิง
คู่มอื14 ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ฉบบั ท่ี 2/1
แบบประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับนักเรียนประเมินตนเอง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตอนที่ 1 การปฏิบตั ิของนักเรยี น
ระดับการปฏิบตั
ิ
ข้อท
่ี รายการประเมนิ
ไมเ่ คย
บางครั้ง
บอ่ ยครั้ง
(0)
(1)
(2)
สมรรถนะท่ี 1 ความสามารถในการสือ่ สาร
1.
ข้าพเจ้าเชิญชวนให้เพื่อนปฏิบัตติ ามข้อตกลงของกลุ่มได้
2.
ขา้ พเจา้ เขียนรายงานความร้หู รอื เรื่องราวท่ีได้จากการอา่ น ฟัง
หรือดจู ากส่ือ โดยครตู รวจแลว้ ได้คะแนนในระดับผา่ นเกณฑ
์
ขึน้ ไป
3.
ขา้ พเจา้ ขอรอ้ งครใู หม้ อบหมายการบ้านให้เหมาะสม
กับความสามารถไดส้ ำเรจ็
4.
ข้าพเจ้าพูดตอ่ รองคร/ู ผูป้ กครอง ให้อภัยหรือลดโทษ ไดส้ ำเร็จ
5.
ข้าพเจ้าหลกี เลยี่ งการรับรูข้ ้อมลู จากส่อื ลามก อนาจาร
6.
ข้าพเจา้ หลีกเลี่ยงการดลู ะครทีม่ เี น้ือหาไม่เหมาะสมกบั วยั
7.
ข้าพเจ้ามอบของที่ระลึกหรือบัตรอวยพรแด่ผู้ปกครอง ในวัน
สำคญั ท่ีเก่ียวขอ้ ง
8.
ข้าพเจ้าเขยี นแผนท่ีจากโรงเรยี นมาถงึ บ้านแทนการอธิบาย
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถในการคดิ
9.
ขา้ พเจ้าจำแนกข้อเทจ็ จรงิ และความคดิ เห็นทน่ี ำเสนอ
ในขอ้ มูลข่าวสารได
้
10.
เม่ือเกิดเหตุการณ์หรือมีปัญหาในชีวิตประจำวันข้าพเจ้าสามารถ
บอกหรอื ระบุสาเหตขุ องปญั หาแท้จรงิ ได้
11.
ข้าพเจ้าสามารถเล่าข่าวหรือเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในชีวิตประจำวัน
ใหผ้ ูอ้ ื่นเข้าใจได
้
12.
ข้าพเจา้ สามารถเลอื กใช้สินค้า หรอื อธิบายขอ้ ดี ข้อจำกัดของ
ส่ิงทีเ่ ลอื ก โดยใช้ข้อมลู ทม่ี ใี นกลอ่ งบรรจภุ ัณฑ์ได้
13.
ขแล้าพะเเหจา้มวาาะงสแมผ
นการใชจ้ า่ ยจากรายรบั ที่ไดอ้ ยา่ งเพยี งพอ
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร 15
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ระดับการปฏบิ ัติ
ข้อที่
รายการประเมนิ
ไมเ่ คย
บางครง้ั
บอ่ ยครัง้
(0)
(1)
(2)
14.
ขา้ พเจ้าสามารถเขยี นเรอื่ งจากภาพทีค่ รูกำหนดได
้
15.
ขา้ พเจา้ สามารถนำข้อมูลจากเหตกุ ารณต์ า่ งๆ ไปปรบั ใช
้
ในชีวติ ประจำวนั ได้อย่างสรา้ งสรรค์
16.
ขา้ พเจา้ สามารถเล่าเร่อื งทีม่ าของเร่ืองราว เหตกุ ารณ์ ปญั หา
อปุ สรรคอยา่ งมีเหตมุ ผี ลให้ครูฟังและเสนอแนวคดิ ไดอ้ ย่างสมเหตุ
สมผล
สมรรถนะที่ 3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา
17.
ข้าพเจ้าระบุสาเหตปุ ญั หาท่ีเกดิ ข้ึนกบั ตนเอง
18.
ข้าพเจา้ จัดลำดบั ความสำคัญสาเหตุของปญั หา
19.
ข้าพเจา้ ใช้ข้อมูลและรายละเอียดประกอบการวางแผนแก้ปัญหา
อยา่ งหลากหลาย
20.
ข้าพเจ้าปฏิบตั ติ ามแผนการแก้ปญั หาทกี่ ำหนดไว
้
21.
ขา้ พเจา้ สรปุ ผลการแก้ปญั หาอย่างครบถ้วน สมเหตุสมผล
22.
ขา้ พเจ้ามผี ลการแก้ปัญหา หรอื ชิ้นงานทเ่ี กดิ จากการแกป้ ัญหา
สมรรถนะที่ 4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
23.
ขา้ พเจา้ สร้างผลงานทเี่ ปน็ ประโยชนไ์ ด้สำเรจ็
24.
ขา้ พเจา้ แสดงผลงานทเ่ี กิดจากความคิดและจนิ ตนาการใหผ้ อู้ ื่น
ยอมรับ
25.
ข้าพเจ้าศกึ ษาคน้ คว้าหาข้อมลู จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และ
นำมาใชป้ ระโยชน์
26.
ข้าพเจา้ ใช้เหตุผลสนบั สนนุ การแสดงความคิดเหน็
27.
ข้าพเจา้ แสดงความสามารถทข่ี ้าพเจ้าภาคภูมใิ จ
28.
ข้าพเจ้าใชเ้ หตผุ ลและข้อมูลทีถ่ กู ต้องในการตัดสนิ ใจ กระทำ
เชอื่ /ไม่เชือ่
29.
ขา้ พเจ้าใช้เหตผุ ลและขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ งในการแกป้ ญั หา
ในชีวติ ประจำวนั
คู่มือ16 ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ระดับการปฏบิ ัติ
ข้อท่
ี รายการประเมนิ
ไมเ่ คย
บางครัง้
บ่อยครง้ั
(0)
(1)
(2)
30.
ขา้ พเจ้าทำงานร่วมกบั เพ่ือน ๆ อย่างราบรนื่ ไม่มีความขัดแย้ง
31.
ขา้ พเจา้ ปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลง กฎ กติกา ของกลุ่ม/หอ้ งเรยี น/
โรงเรยี น และครอบครวั
32.
ข้าพเจา้ ตดิ ตามขา่ วสาร เหตุการณ์ จากสื่อต่าง ๆ และนำมา
สนทนากับเพ่อื นและผู้อ่ืน
33.
ข้าพเจา้ วเิ คราะหค์ วามเส่ียงในสถานการณต์ ่าง ๆ และสามารถ
หลกี เลีย่ งการเผชญิ กับความเส่ียงได
้
34.
ข้าพเจา้ ควบคมุ อารมณโ์ กรธได้
สมรรถนะท่ี 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
35.
ข้าพเจ้าใชเ้ ทคโนโลยีเพือ่ ประโยชนใ์ นการเรยี นรูอ้ ยา่ งเหมาะสม
36.
ข้าพเจ้าเลือกใชข้ ้อมลู ข่าวสารจากอินเทอร์เน็ตเพ่ือประโยชน
์
ตอ่ ตนเองหรือผู้อ่นื อย่างเหมาะสม
37.
ขา้ พเจา้ ใช้เทคโนโลยใี นการสอ่ื สารกับผูอ้ ่นื ได้อยา่ งเหมาะสม
กบั กาลเทศะและเกิดประโยชน์
38.
ข้าพเจ้าใชเ้ ทคโนโลยใี นการสร้างสรรค์ผลงานเพ่ือนำเสนอ
ภาระงาน / ช้ินงาน ในช้ันเรียน
39.
ข้าพเจา้ ใช้เทคโนโลยใี นการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ เช่น การจัดนิทรรศการ
การทำแผ่นพบั / เอกสาร /วารสาร เผยแพร่ประชาสัมพันธ
์
งานต่างๆ
40.
ข้าพเจ้าพัฒนางานและสรา้ งสรรคผ์ ลงานดว้ ยกระบวนการ
เทคโนโลย
ี
คู่มือป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร 17
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตอนท่ี 2 ความคดิ เห็นและความรู้สึกของนกั เรียน
ระดับความคดิ เห็น/ความรู้สกึ
ขอ้ ท
ี่ รายการประเมนิ
น้อย น้อย
ปาน มาก
มาก
ท่ีสดุ
กลาง
ท่สี ดุ
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
สมรรถนะท่ี 1 ความสามารถในการสื่อสาร
41.
ขา้ พเจ้ารู้สึกวา่ พดู อธบิ ายเร่อื งราวตา่ ง ๆ ใหผ้ ้อู ่นื
ไดเ้ ข้าใจเสมอ
42.
ขา้ พเจ้าคดิ วา่ การพูดตอ่ รองเปน็ การฝกึ นสิ ัยท่ีไมด่
ี
43.
ขา้ พเจ้าคิดวา่ การพดู โนม้ นา้ วต่อรองเป็นเรือ่ งทข่ี า้ พเจา้ ถนดั
44.
ขา้ พเจา้ คดิ ว่าการรบั ข้อมูลขา่ วสารมผี ลทำให้จติ ใจวุ่นวาย
45.
ข้าพเจ้าคิดว่าการพดู คอื วธิ กี ารส่อื สารทีเ่ หมาะสมกบั
ทุกสถานการณ
์
46.
ข้าพเจา้ คิดวา่ คนทันสมัยจำเปน็ ตอ้ งใชม้ ือถอื รุ่นใหม่
สมรรถนะท่ี 2 ความสามารถในการคิด
47.
ข้าพเจา้ รสู้ กึ กระตือรือรน้ ท่จี ะแกโ้ จทย์ปัญหาข้อทีย่ ากๆ
48.
ข้าพเจ้าชอบและมีความสขุ ท่ีได้ผลติ ของใชห้ รือของเลน่
จากเศษวสั ดเุ หลอื ใช
้
49.
ขา้ พเจา้ ชอบใหเ้ พอ่ื นวิจารณ์ผลงานของตน
50.
ขา้ พเจ้าชอบฟงั การเจรจาที่มีเหตผุ ลอธิบายประกอบ
สมเหตุสมผล
51.
ขา้ พเจ้าเชื่อมนั่ ในเหตผุ ลและสามารถปรับเปลย่ี นความคิด
ได้เมือ่ มีส่งิ ที่ชบ้ี ง่ วา่ ฉนั ทำผิด
52.
ข้าพเจา้ ชอบหาแนวทางแก้ปญั หาของตนเองหรอื ประยุกต์
วิธขี องผู้อื่น
สมรรถนะท่ี 3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา
53.
ขา้ พเจา้ สนใจท่หี าสาเหตขุ องปญั หาทเี่ กิดขึ้น
54.
ข้าพเจ้าสนใจหาขอ้ มูลหลายๆ ด้านในการแก้ปญั หา
55.
ขา้ พเจา้ รู้สึกโกรธตัวเองเมือ่ ดำเนินการแกป้ ัญหาไมไ่ ด้
คู่มือ18 ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ระดับความคิดเห็น/ความรู้สกึ
ขอ้ ท
่ี รายการประเมิน
น้อย น้อย
ปาน มาก
มาก
ที่สดุ
กลาง
ทส่ี ุด
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
56.
ข้าพเจา้ รสู้ ึกเบ่ือหนา่ ยในการบันทกึ ข้อมูลในการแก้ปัญหา
57.
ขา้ พเจ้าพึงพอใจทีไ่ ดส้ รุปและรายงานผลการแกป้ ญั หา
ได้อย่างสมเหตุสมผล
58.
ขา้ พเจา้ รูส้ ึกภาคภมู ใิ จเมอื่ แกป้ ัญหาได้สำเรจ็ อยา่ ง
สมเหตสุ มผลและสอดคลอ้ งกับคณุ ธรรม
สมรรถนะท่ี 4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
59.
ขา้ พเจา้ เตม็ ใจแนะนำกระบวนการทำงานใหก้ ับเพอ่ื น
60.
ขา้ พเจา้ มีความตั้งใจเป็นคนใฝเ่ รยี นร้
ู
61.
ข้าพเจา้ เต็มใจที่แบ่งปนั สง่ิ ของใหเ้ พ่อื น
62.
ข้าพเจ้าให้กำลังใจตนเองเมือ่ มีปัญหาหรือทำงานผิดพลาด
63.
ขา้ พเจ้าดีใจท่ไี ด้เปน็ ผู้เล่าข่าวสารบา้ นเมืองใหเ้ พ่อื นฟัง
64.
ขา้ พเจา้ ใหค้ วามสำคัญกับการออกกำลังกาย
สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลย
ี
65.
ขา้ พเจ้าเชอื่ ว่าเทคโนโลยีมปี ระโยชนต์ อ่ การเรยี นรู้
66.
ขา้ พเจา้ ชอบท่คี รใู ชเ้ ทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน
67.
ข้าพเจา้ เข้าใจบทเรียนไดด้ ขี ้ึนเมอ่ื ครูใช้เทคโนโลยีในการ
จดั การเรยี นการสอน
68.
ข้าพเจา้ คดิ วา่ เทคโนโลยีมีประโยชนใ์ นการตดิ ต่อสอ่ื สาร
69.
ขา้ พเจา้ รูส้ กึ ชนื่ ชมผู้อน่ื ที่สรา้ งสรรคช์ นิ้ งานทม่ี ีคุณคา่
ด้วยกระบวนการเทคโนโลยี
70.
หากพบเหน็ ผู้อนื่ ใช้เทคโนโลยีในทางท่ไี มเ่ หมาะสม เชน่
คัดลอกผลงานผูอ้ ่นื จากอนิ เทอรเ์ นต็ มาเป็นของตนเอง
ข้าพเจา้ จะตักเตอื นและแนะนำให้ทำในส่ิงทีถ่ กู ตอ้ งได้
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร 19
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ฉบับที่ 2/2
แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน สำหรับนักเรียนประเมนิ ตนเอง
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
ระดับประถมศกึ ษา (ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6)
คำชีแ้ จง
1. แบบประเมินแบ่งออกเป็น 2 ตอน ประกอบด้วย
ตอนที่ 1 แบบประเมินการปฏิบตั ติ นของนักเรยี น มีข้อความท้ังหมด 40 ข้อ เมื่อนกั เรียน
อา่ นขอ้ ความแต่ละข้อแลว้ นักเรยี นไดป้ ฏิบตั อิ ย่างไรให้ตอบในชอ่ งท่ตี รงกับการปฏิบตั ิของนักเรยี น
มากท่ีสุด คอื
ไมเ่ คยปฏิบตั ิเลย ใหใ้ สเ่ ครอื่ งหมาย 3 ทช่ี อ่ งหมายเลข 0
ปฏิบตั ิเป็นบางครง้ั ให้ใส่เครอ่ื งหมาย 3 ท่ชี ่องหมายเลข 1
ปฏบิ ตั ิบอ่ ยคร้งั ใหใ้ ส่เครือ่ งหมาย 3 ท่ชี อ่ งหมายเลข 2
ตอนท่ี 2 แบบประเมินความคิดเห็น ความรู้สึกของนักเรียน มีข้อความท้ังหมด 30 ข้อ
เมือ่ นักเรยี นอา่ นขอ้ ความแต่ละขอ้ แล้ว นักเรยี นมคี วามคดิ เห็น หรือความรู้สกึ ย่างไรให้ตอบในชอ่ ง
ทต่ี รงกับความคิดเหน็ หรือความร้สู ึกของนกั เรียนมากทสี่ ุด คอื
นอ้ ยทีส่ ดุ ใหใ้ สเ่ คร่อื งหมาย 3 ท่ีช่องหมายเลข 1
นอ้ ย ให้ใสเ่ คร่อื งหมาย 3 ท่ีชอ่ งหมายเลข 2
ปานกลาง ให้ใสเ่ คร่ืองหมาย 3 ท่ชี อ่ งหมายเลข 3
มาก ให้ใสเ่ ครื่องหมาย 3 ทีช่ ่องหมายเลข 4
มากทีส่ ดุ ใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย 3 ทช่ี ่องหมายเลข 5
2. ขอให้นักเรียนตอบแบบสอบถามใหค้ รบทุกรายการประเมิน
3. ผลการตอบแบบสอบถามคร้ังนจี้ ะไมม่ ีผลเสียต่อนักเรียนและสถานศกึ ษาแต่อยา่ งใด
ข้อมลู ทัว่ ไปของนกั เรยี น
ช่ือ............................................................ นามสกลุ .............................................................
ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที.่ ......................................
โรงเรยี น..................................................................
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา..........................................เขต…................
เพศ p ชาย p หญิง
คู่มอื20 ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ฉบบั ที่ 2/2
แบบประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสำหรับนักเรียนประเมินตนเอง
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6
ตอนท่ี 1 การปฏบิ ตั ิของนักเรียน
ระดบั การปฏิบัต
ิ
ขอ้ ที่
รายการประเมนิ
ไม่ บาง บอ่ ย
เคย
ครงั้
ครั้ง
(0)
(1)
(2)
สมรรถนะท่ี 1 ความสามารถในการสอื่ สาร
1.
ข้าพเจา้ เล่าข่าวหรอื เรอ่ื งราวใหเ้ พื่อนฟงั ไดข้ ้าใจ โดยไม่ตอ้ งเล่าซำ้
2.
ยขอ้าพมเรจับา้ แเขลยี ะนคแลส้อดยงตคาวมาไมดค้
ดิ เห็นทม่ี ตี ่อการอ่าน ฟงั หรือ ดูจากสอ่ื ให้ผู้อื่น
3.
ข้าพเจ้าพูดตอ่ รองครูเพื่อขอแก้ไขชน้ิ งานใหด้ ขี ้ึนไดส้ ำเรจ็
4.
ขา้ พเจ้าพูดชกั ชวนเพ่ือนเพือ่ ไปศกึ ษาแหล่งเรยี นรู้นอกสถานท่ี ไดส้ ำเรจ็
5.
ขา้ พเจา้ สืบคน้ ความรทู้ ่คี รมู อบหมายจากอนิ เทอรเ์ นต็
6.
ขา้ พเจา้ สบื คน้ ข้อมูลเก่ยี วกับทอ้ งถ่นิ ตนเองโดยขอความช่วยเหลือจากผู้นำชมุ ชน
7.
ข้าพเจ้าจดั ทำป้ายนิเทศในวนั สำคัญหรอื โอกาสต่าง ๆ
8.
ข้าพเจา้ ยืนตรงแสดงความเคารพ เม่อื ครเู ดินผ่าน
สมรรถนะท่ี 2 ความสามารถในการคิด
9.
ขส้า่ิงทพ่โีเจจท้าวยเิ ์ถคารมาะ
ห์โจทยป์ ัญหา โดยจำแนกไดถ้ ึงสงิ่ ทโ่ี จทย์กำหนดใหแ้ ละ
10.
ขแผ้าพนเทจี่ว้าาพงิจไวา้ร
ณาความสำคญั ของการใช้เงนิ วา่ มคี วามคมุ้ คา่ และเปน็ ไปตาม
11.
ขา้ พเจ้าสามารถระบุแนวคิดในนิทาน หนงั สอื การ์ตนู ทขี่ า้ พเจา้ อา่ นได
้
12.
ขา้ พเจา้ สามารถบอกประโยชน์และโทษของเกมทเี่ ล่นได้
13.
อขา้ยพา่ งเจค้ารจอัดบเคกล็บมุ รว
บรวมข้อมลู ตามลำดบั ความสำคัญของเรือ่ งทศี่ กึ ษาได
้
14.
ขเพา้ อ่ืพนเจไ้าดส้
ามารถเลา่ เรอื่ งจากหวั ขอ้ ทค่ี รูกำหนดได้โดยมีความแตกตา่ งจาก
15.
เเชมอ่ื่อื มขโ้ายพงเอจยา้ อา่ ง่ามนีเบหทตคุผวลา
มเรือ่ งราว ขา้ พเจา้ สามารถสร้างเปน็ ผงั ความคดิ
16.
เมอ่ื มปี ญั หากับเพือ่ น ข้าพเจ้าจะหาวธิ ีการท่หี ลากหลาย กอ่ นที่จะดำเนนิ
การแกไ้ ขปัญหา
คู่มือป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร 21
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ระดับการปฏบิ ตั
ิ
ข้อท่ี
รายการประเมนิ
ไม่ บาง บ่อย
เคย
ครง้ั
ครง้ั
(0)
(1)
(2)
สมรรถนะท่ี 3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา
17.
ข้าพเจา้ ระบุขอ้ ดีและข้อจำกดั ของวิธีการแกป้ ญั หาได้
18.
ข้าพเจ้าตดั สินใจเลอื กวธิ กี ารแก้ปัญหาใหม้ ผี ลในทางลบแก่ตนเองและผอู้ ่ืนนอ้ ยทส่ี ดุ
19.
ขา้ พเจ้ามกี ารวางแผนการแก้ปัญหา
20.
ขา้ พเจา้ ตรวจสอบ ทบทวนแผนการแกป้ ญั หาทก่ี ำหนดไว้
21.
ขา้ พเจา้ สรปุ ผลการแกป้ ญั หาได้ชัดเจน มหี ลักฐานอา้ งองิ
22.
ข้าพเจ้ามผี ลการแก้ปัญหา หรือช้ินงานทีเ่ กิดจากการแก้ปัญหา สามารถ
เป็นตัวอยา่ งแก่ผู้อน่ื ได้
สมรรถนะท่ี 4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
23.
ขา้ พเจ้านำวสั ดุเหลอื ใช้มาประดษิ ฐเ์ ป็นของเล่น
24.
ข้าพเจ้านำผลงานประดิษฐเ์ ผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ให้ผ้อู นื่ รบั รู้
25.
ขา้ พเจา้ เสาะแสวงหาความรเู้ พอื่ ใช้ในการเรียน
26.
ข้าพเจ้ายอมรับความคิดเหน็ ของผอู้ ืน่ ทม่ี ีเหตผุ ล
27.
ขา้ พเจ้าม่นั ใจในการเรียน/การทำงาน
28.
ข้าพเจ้าตดั สนิ ใจในสถานการณเ์ ฉพาะหนา้ ได้อย่างเหมาะสม
29.
ข้าพเจา้ รวบรวมวิธีการแกไ้ ขปญั หาหลายๆ วธิ ี และเลอื กวธิ กี ารแก้ปญั หาที่
เหมาะสม
30.
ข้าพเจา้ ใหก้ ำลังใจเพอ่ื นเมือ่ มคี วามผิดพลาดหรือท้อแท้
31.
ขา้ พเจา้ ปฏิบัตติ ามกฎ กติกาของสงั คมอย่างเตม็ ใจ
32.
ขา้ พเจา้ ติดตามขา่ ว เหตุการณ์ หรอื ความเคลอ่ื นไหวทางสงั คมภายในชมุ ชน
33.
ขา้ พเจ้าคาดคะเนส่ิงทีอ่ าจกอ่ ใหเ้ กิดปญั หาดา้ นสขุ ภาพกับตนเอง ในอนาคต
และกำหนดวธิ กี ารปอ้ งกัน
34.
ข้าพเจ้ามีวิธีการผ่อนคลายอารมณ์ท่เี หมาะสมเมอื่ เกิดความเครียด
สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลย
ี
35.
ข้าพเจา้ ใช้เทคโนโลยใี นการสร้างผลงานเพอ่ื นำเสนอภาระงาน / ชิ้นงาน
ในชัน้ เรียน
36.
ข้าพเจา้ ใช้เทคโนโลยีในการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ เช่น การจดั นิทรรศการ
การทำแผน่ พับ / เอกสาร /วารสาร เผยแพร่ประชาสมั พนั ธง์ านต่างๆ
คู่มือ22 ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ระดับการปฏิบตั
ิ
ข้อที่
รายการประเมิน
ไม่ บาง บ่อย
เคย
คร้ัง
คร้ัง
(0)
(1)
(2)
37.
ขา้ พเจา้ สร้างสรรค์ผลงานที่มคี ณุ คา่ ตอ่ ตนเองและผู้อื่นดว้ ยกระบวนการเทคโนโลยี
38.
ข้าพเจา้ ใช้เทคโนโลยีเพ่อื ลดข้ันตอนในการทำงานทำให้งานเสรจ็ เร็วขน้ึ
39.
ข้าพเจ้าใช้เทคโนโลยีอย่างคมุ้ ค่าและไมม่ ีผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ ม
40.
ข้าพเจ้าใช้เทคโนโลยีไดถ้ กู ต้อง ทำให้งานประสบผลสำเร็จ
ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นและ ความรสู้ กึ ของนกั เรยี น
ระดับความคดิ เห็น
ขอ้ ท
่ี รายการประเมิน
น้อย น้อย
ปาน มาก
มาก
ท่สี ุด
กลาง
ท่สี ดุ
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการส่ือสาร
41.
การสื่อสารกับผู้อ่นื ด้วยการเขียนเป็นเรอ่ื งยากสำหรบั ขา้ พเจา้
42.
การใชก้ ำลงั แก้ปญั หาความขัดแย้งได้ผลดกี ว่าการเจรจาตอ่ รอง
43.
ปัญหาความขัดแยง้ เป็นเรอื่ งเลก็ น้อยของสงั คม
44.
ห้องสมุดคือแหลง่ เรยี นรู้ที่เหมาะกับคนทกุ วัย
45.
การสอื่ สารด้วยการเขยี นใชใ้ นงานวิชาการเทา่ น้นั
46.
การแสดงความคดิ เหน็ ทางอนิ เทอร์เนต็ จำเปน็ ตอ้ ง
ระมดั ระวงั ในการใชภ้ าษา
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถในการคดิ
47.
ข้าพเจา้ ชอบคิดวธิ แี ก้ปัญหาโจทย์ ที่ไม่เหมือนใคร
48.
ขา้ พเจ้าชอบทดลองวิทยาศาสตรแ์ ละสนใจทจี่ ะนำวธิ ีการ
ทางวิทยาศาสตร์ ไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวัน
49.
ขา้ พเจา้ ชอบมีสว่ นร่วมในการวางแผนทำโครงงาน
50.
ข้าพเจา้ มัน่ ใจอย่างมากว่าจะสามารถใช้เหตผุ ลในการ
ตัดสนิ ใจเพื่อแก้ปญั หา และไปให้ถงึ เป้าหมาย
51.
ข้าพเจา้ เชอ่ื ว่าการตัดสินใจโดยใชข้ อ้ สรปุ ท่มี าจากฐานข้อมลู
เป็นการตัดสนิ ใจท่ีเชื่อถอื ได้
52.
ขสา้มพเหเจตา้ สุ ตมรผะลห
นกั รูว้ ่าตอ้ งใชส้ ง่ิ ใดในการสร้างขอ้ โตแ้ ยง้ ทีด่
ี
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร 23
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ระดับความคดิ เห็น
ขอ้ ท่
ี รายการประเมนิ
น้อย น้อย
ปาน มาก
มาก
ทส่ี ดุ
กลาง
ทสี่ ดุ
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)
สมรรถนะท่ี 3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา
53.
ขา้ พเจ้าสนใจการคน้ หาสาเหตุเพ่ือหาแนวทางในการแกป้ ัญหา
54.
ปขา้ัญพหเจาแ้าสลนะผใจลททีจ่ จี่ ะะเเชกื่อิดมขโน้ึยองคยว่าางมเปสน็ ัมรพะันบธบ์ร
ะหว่างสาเหตุของ
55.
ใขจา้ แพกเจ้ป้าัญสหนาใจ
ที่จะหาทางเลอื กที่หลากหลาย เพือ่ การตัดสนิ
56.
ข้าพเจ้ากงั วลใจท่จี ะปฏบิ ตั ติ ามแผนการแกป้ ญั หาท่ีวางไว้
57.
ขอ้ายพา่ งเจส้ามพเหึงพตุสอมใจผทล่ีได
ส้ รุปและรายงานผลการแกป้ ญั หาได้
58.
ขสา้มพผเลจแา้ ลระสู้ สึกอภดาคคลภ้อมู งิใกจเับมคอ่ื ณุ แกธร้ปรัญมห
าไดส้ ำเร็จอยา่ งสมเหต
ุ
สมรรถนะท่ี 4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
59.
ขา้ พเจา้ มคี วามประหยดั ในการใช้วสั ดุคมุ้ คา่
60.
ข้าพเจ้ามีความมงุ่ มัน่ ศึกษาในสิ่งทส่ี นใจ
61.
ขา้ พเจา้ มีความสขุ ท่ไี ดอ้ ย่กู บั ครอบครัว
62.
ข้าพเจ้าชอบใช้วิธกี ารท่ีนุ่มนวลในการแก้ปญั หา
63.
ขา้ พเจ้ามคี วามสขุ ท่ีมเี พ่ือนบา้ นใหมๆ่ เพมิ่ ขน้ึ
64
ขา้ พเจา้ ชนื่ ชมเพอ่ื นทไ่ี ม่เกีย่ วขอ้ งกับสารเสพติด
สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
65.
ข้าพเจา้ ชอบทคี่ รใู ช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน
66.
จขัด้าพกเาจรา้เรเขยี า้นใกจบารทสเอรียนน
ไดด้ ขี น้ึ เม่ือครใู ช้เทคโนโลยใี นการ
67.
ขา้ พเจา้ คดิ วา่ เทคโนโลยีมีประโยชนใ์ นการติดต่อสื่อสาร
68.
คอมพวิ เตอร์ / อนิ เทอรเ์ น็ตมปี ระโยชน์ต่อการสืบคน้ รวบรวมความร
ู้
69.
หตคดักัากลเตพออื กบนผเแหลลงน็ าะผนแูอ้ ผน่นื ู้อะใืน่นชจ้เำทาใหกคอเ้โขนนิ าโเทลทยำอใใีรนน์เนสท็ติง่าทมงท่ถีาเกูไ่ี ปมต็นเ่ อ้ หขงมอไดางตะ
้ สนมเองเชข่น้าพ
เจา้
70.
ขก้ารพะบเจวา้ นรกสู้ าึกรชเท่ืนชคมโนผโู้อลืน่ ยที
่ีสรา้ งสรรคช์ นิ้ งานท่ีมคี ณุ ค่าด้วย
คู่มือ24 ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ฉบบั ที่ 2/3
แบบประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน สำหรับนักเรียนประเมนิ ตนเอง
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6)
คำช้แี จง
1. แบบประเมนิ แบง่ ออกเป็น 2 ตอน ประกอบด้วย
ตอนท่ี 1 แบบประเมินการปฏิบัติตนของนักเรยี น มีข้อความทัง้ หมด 40 ข้อ เมื่อนักเรยี น
อา่ นข้อความแต่ละข้อแล้ว นกั เรียนได้ปฏิบัติอย่างไรให้ตอบในชอ่ งท่ีตรงกับการปฏิบตั ิของนักเรยี น
มากทสี่ ดุ คือ
ไมเ่ คยปฏบิ ตั ิเลย ให้ใส่เครอื่ งหมาย 3 ท่ีช่องหมายเลข 0
ปฏิบตั ิเปน็ บางครั้ง ให้ใส่เคร่ืองหมาย 3 ท่ีช่องหมายเลข 1
ปฏบิ ัตบิ อ่ ยครงั้ ใหใ้ สเ่ ครื่องหมาย 3 ทช่ี ่องหมายเลข 2
ตอนท่ี 2 แบบประเมินความคิดเห็น ความรู้สึกของนักเรียน มีข้อความท้ังหมด 30 ข้อ
เมือ่ นักเรยี นอ่านข้อความแตล่ ะข้อแล้ว นักเรียนมคี วามคิดเห็น หรือความรู้สกึ ยา่ งไรให้ตอบในช่อง
ทีต่ รงกับความคิดเห็นหรือความรสู้ กึ ของนกั เรยี นมากทส่ี ุด คอื
นอ้ ยทีส่ ุด ใหใ้ ส่เครื่องหมาย 3 ท่ชี ่องหมายเลข 1
นอ้ ย ใหใ้ ส่เคร่ืองหมาย 3 ท่ชี อ่ งหมายเลข 2
ปานกลาง ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย 3 ทชี่ อ่ งหมายเลข 3
มาก ให้ใสเ่ ครอื่ งหมาย 3 ทชี่ อ่ งหมายเลข 4
มากทีส่ ุด ให้ใส่เคร่ืองหมาย 3 ท่ชี ่องหมายเลข 5
2. ขอใหน้ กั เรยี นตอบแบบสอบถามให้ครบทุกรายการประเมนิ
3. ผลการตอบแบบสอบถามคร้งั นจี้ ะไม่มผี ลเสียต่อนกั เรยี นและสถานศกึ ษาแตอ่ ย่างใด
ขอ้ มูลทว่ั ไปของนกั เรียน
ชื่อ............................................................ นามสกุล.............................................................
ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี.......................................
โรงเรียน..................................................................
สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา..........................................เขต…................
เพศ p ชาย p หญิง
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร 25
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ฉบบั ท่ี 2/3
แบบประเมินสมรรถนะสำหรับนักเรียนประเมินตนเอง ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6
ตอนที่ 1 การปฏิบัตขิ องนักเรียน
ระดบั การปฏบิ ัต
ิ
ขอ้ ท
ี่ รายการประเมิน
ไม่ บาง บ่อย
เคย
ครง้ั
ครัง้
(0)
(1)
(2)
สมรรถนะท่ี 1 ความสามารถในการสื่อสาร
1.
ขให้าเ้พพเ่ือจา้นพยดูอแมสรดับง
ความคิดเหน็ ทม่ี ตี ่อเร่ืองราวทีอ่ า่ น ฟัง หรอื ดู จากสื่อ
2.
ข้าพเจ้าเขยี นแสดงความรูส้ ึกตอ่ ผ้อู ่ืน ตามโอกาสตา่ ง ๆได
้
3.
ข้าพเจา้ ชกั ชวนเพอ่ื นช่วยทำความสะอาดเขตรบั ผิดชอบ ในโรงเรียนได้สำเรจ็
4.
ขา้ พเจ้าพูดตอ่ รองแม่ค้าเพือ่ ลดราคาสินคา้
5.
ขา้ พเจ้าเลอื กอ่านขา่ วจากหนงั สอื พิมพด์ ้วยตนเอง
6.
ขา้ พเจ้าดูรายการโทรทัศน์ เกี่ยวกบั ขา่ วสารความร้
ู
7.
ขา้ พเจา้ พูดอธบิ ายการบ้านใหเ้ พื่อนทม่ี ปี ัญหาด้านการอ่าน ใหเ้ ข้าใจ
8.
ขา้ พเจ้าเขียนบตั รอวยพรในวันสำคญั หรือโอกาสตา่ งๆ ใหผ้ อู้ ่ืน
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถในการคิด
9.
ขคว้าาพมเจถ้านจัดะแระลบะคุหวนาา้มทร่ใีู้ขหอแ้งแตตล่ ่ละะคคนนในทก่รี ลบั ่มุ ผรดิ ับชผอิดบชแอตบกตโดา่ ยงกคนัำในนงึ กถางึ รคทวำางมาชนอกบลมุ่
10.
ขา้ พเจา้ สามารถเชอ่ื มโยงเหตุการณเ์ ปน็ เรอ่ื งราวทีส่ มเหตุสมผล
11.
ขา้ พเจา้ สามารถระบุประเด็นทีส่ อดคล้องกับแนวคดิ ในนิทานหรือข่าวทีอ่ า่ นได้
12.
กขา้าพรดเจำา้เนสินามชาีวรติ ถจอาธกิบบาทยลแะนควรคภิดาขพอ้ ยเนตือตนรท์สดี่ตไูิ ดส
้อนใจและใชเ้ ป็นประโยชนต์ อ่
13.
ขสา้อพดเคจลา้ ้อสงาแมลาะรเถหพมจิ าาะรสณมาแจลดั ะนคิทรรอรบศคกลาุมรปเกรยี่ะวเดก็นับสวำนั คสญั ำค
ญั ตา่ งๆได้
14.
ขา้ พเจ้ามักจะแสดงความคิดเหน็ ทแ่ี ตกตา่ งจากเพื่อนโดย มี เหตุผลประกอบ
15.
เมมาอื่ สขน้าับพสเจน้าุนเไลดือ้อกยดา่ ำงเเนหินมกาาะรสตมา
มวธิ กี ารใดๆ ขา้ พเจา้ สามารถอธบิ ายแนวคิด
16.
ไขด้าอ้พยเจ่าา้งสสมามเหาตรถสุ เมขผียลนห
ลกั การและเหตผุ ลเพื่อประกอบการเขยี นโครงงาน
คู่มือ26 ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ระดับการปฏบิ ัติ
ขอ้ ท่
ี รายการประเมนิ
ไม่ บาง บอ่ ย
เคย
คร้ัง
ครงั้
(0)
(1)
(2)
สมรรถนะที่ 3 ความสามารถในการแก้ปญั หา
17.
ขา้ พเจา้ ระบสุ าเหตปุ ญั หาทเ่ี กดิ ข้นึ กบั ตนเองและบคุ คลใกล้ตัว
18.
ขา้ พเจา้ หาความสัมพนั ธ์ของสาเหตกุ ับปัญหา และผลท่จี ะเกดิ ข้นึ
19.
ข้าพเจา้ คดิ วิธีการแกป้ ัญหาโดยกำหนดทางเลอื กอยา่ งหลากหลาย
20.
ขา้ พเจา้ บนั ทกึ ผลการปฏบิ ัติการแกป้ ญั หา
21.
ขา้ พเจ้าสรปุ ผลการแก้ปญั หาอยา่ งครบถ้วน สมเหตสุ มผล
22.
ขทา้ส่ี พมเเจหา้ ตมุสผี มลผกลาแรลแะกม้ปีคัญณุ หธารหรมรอื
ชน้ิ งานท่ีเกิดจากการแก้ปญั หา
สมรรถนะท่ี 4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
23.
ขา้ พเจา้ ไดจ้ ัดทำโครงงานทีเ่ ป็นประโยชนต์ อ่ ตนเอง
24.
ขา้ พเจา้ ถ่ายทอดความคิดและวิธีการทำงานของข้าพเจา้ ใหก้ บั ผูอ้ น่ื
25.
ข้าพเจ้าได้อภิปราย แลกเปลย่ี นความรู้ ความคิดเหน็ กับเพื่อนๆ
26.
ขา้ พเจา้ เสนอความคดิ เห็นในการทำงานรว่ มกันด้วยเหตุผลทด่ี ี
27.
ข้าพเจา้ อาสาเขา้ ร่วมกจิ กรรมสาธารณประโยชนข์ องโรงเรยี น
28.
ขา้ พเจา้ ยตุ ิข้อขัดแย้งในกลุ่มเพอ่ื นด้วยสนั ติวิธี
29.
ข้าพเจ้าแกป้ ัญหาทเ่ี ผชิญในชีวิตประจำวันได้สำเรจ็
30.
ข้าพเจา้ ให้อภยั เพอ่ื นเมื่อเขาทำงานกลุม่ ผดิ พลาด
31.
ขล้าอ้ พเลเจียา้นไเมพ่ลอื่ ะนเมฯดิ ลสฯิทธ
ิของผอู้ น่ื เชน่ ไม่หยบิ ฉวยของใชข้ องผู้อนื่ ไมด่ ูหม่นิ
32.
รขาา้ ยพกเจาา้รตโทิดรตทาศัมนข์่าแวลกว้านรแำขม่งาขบันอคกวเลาม่ากสบัามเพาอ่ืรถนขๆอ
งเดก็ และเยาวชนจาก
33.
คขา้วพามเจไมา้ หป่ ลลกีอเดลภย่ี ัยงก
ารถูกชักชวนไปในสถานท่ีเสย่ี งต่อปญั หาสุขภาพ/
34.
/ขปา้ พลกูเจตา้ น้ สไรมา้ /้ งคฟวงั าเพมสลุขง/ใหเลก้ ่นับดตนนตเอรงี/ เเชล่น่นกกีฬาราทฯำลในฯ
ส่งิ ทีช่ อบ / รัก /เลี้ยงสตั ว์
สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
35.
ขา้ พเจา้ ใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตในการสบื ค้น/ ค้นควา้ / รวบรวมความร
ู้
36.
ข้าพเจ้าใชเ้ ทคโนโลยีในการส่อื สารกบั ผู้อน่ื
คู่มือป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร 27
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ระดบั การปฏิบตั
ิ
ข้อท่ี
รายการประเมิน
ไม่ บาง บอ่ ย
เคย
คร้งั
คร้ัง
(0)
(1)
(2)
37.
ขา้ พเจา้ สรา้ งสรรค์ผลิตภัณฑ์/สง่ิ ของ/เครือ่ งใช้ ด้วยกระบวนการเทคโนโลยี
38.
ข้าพเจ้าพฒั นางานและสรา้ งสรรค์ผลงานดว้ ยกระบวนการทางเทคโนโลยี
39.
ขา้ พเจ้าใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งคุ้มคา่ และไม่มผี ลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ ม
40.
ขา้ พเจา้ ใชเ้ ทคโนโลยีไดถ้ กู ต้องทำใหง้ านประสบผลสำเร็จ
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นและความร้สู กึ ของนกั เรียน
ระดบั ความคดิ เห็น
ข้อท
ี่ รายการประเมนิ
ทน(1ีส่อ้ )ดุย
น(2้อ
)ย
กป(ล3าาน)ง
ม(4า
ก)
ทม(5่ีสาก)ุด
สมรรถนะท่ี 1 ความสามารถในการส่อื สาร
41.
การพดู ชกั ชวนให้เพื่อนร่วมกิจกรรมเป็นเร่ืองง่ายสำหรับขา้ พเจา้
42.
งานเขียนของขา้ พเจา้ เปน็ งานชนิ้ ดเี ยี่ยม
43.
ความขัดแยง้ ของคนรอบข้าง ขา้ พเจา้ จะไมเ่ ขา้ ไปเกย่ี วขอ้ ง
44.
ขา้ พเจ้าใช้คำพดู ให้กำลังใจคนรอบข้างได้เปน็ อย่างดี
45.
ข้าพเจา้ หลกี เลีย่ งการดลู ะครทม่ี เี นอ้ื หาไม่เหมาะสมกับวยั
46.
การแสดงความคิดเหน็ ทางอินเทอรเ์ น็ตจำเป็นต้องระมัดระวงั
ในการใชภ้ าษา
สมรรถนะท่ี 2 ความสามารถในการคดิ
47.
ข้าพเจา้ คิดวา่ การแกโ้ จทยป์ ัญหาทห่ี ลากหลายรปู แบบเปน็
เรอ่ื งทีท่ ้าทาย
48.
ข้าพเจา้ ชอบเป็นตวั แทนออกไปพูดแสดงความคดิ เหน็ หรือ
อภปิ ราย หนา้ ชั้นเรียน
49.
ขา้ พเจา้ ชอบใหเ้ พือ่ นร่วมอภปิ รายเสนอแนวคดิ ในการ
ไปเก็บข้อมูลโครงงาน
50.
ขา้ พเจ้าเชอ่ื วา่ มีวิธีการท่ีหลากหลายท่ีจะนำไปสู่การแก้ปญั หา
หรอื การไปให้ถงึ เป้าหมาย
51.
ข้าพเจ้าสามารถแยกแยะระหว่างขอ้ โต้แยง้ ท่สี มเหตสุ มผลและ
ข้อโต้แยง้ ทไี่ มเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั ประเด็น หรือคำตอบ ท่ีต้องการได
้
คู่มอื28 ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ระดบั ความคิดเหน็
ขอ้ ที
่ รายการประเมนิ
ทน(1ี่ส้อ)ุดย
น(2้อ
)ย
กป(ล3าาน)ง
ม(4า
ก)
ทม(5่สีาก)ุด
52.
ขกา้าพรปเจร้าับสเาปมลาีย่ รนถกเขรา้ะใบจวถนึงกกาารรกคำิดกขบัองตติดนตเอามง
การประเมินและ
สมรรถนะท่ี 3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
53.
ข้าพเจา้ ตงั้ สตไิ ด้กบั ปัญหาที่เกดิ ขน้ึ
54.
ข้าพเจ้าร้สู ึกวา่ การวางแผนในการแก้ปัญหาเปน็ สง่ิ ดี
55.
ขา้ พเจ้าเต็มใจแกป้ ญั หาท่ีเกดิ ขนึ้ ทกุ ปญั หา
56.
ไขดา้ อ้พยเจา่ ้างพสมงึ พเหอตใจสุ ทมผีไ่ ดลส้
รุปและรายงานผลการแก้ปัญหา
57.
ข้าพเจา้ พงึ พอใจตอ่ ผลของการแกป้ ัญหาทกุ คร้ัง
58.
ข้าพเจ้ามีความสขุ เมื่อสามารถแก้ปัญหาตา่ ง ๆ ได
้
สมรรถนะที่ 4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
59.
ขา้ พเจา้ ชอบรปู แบบการทำงานท่หี ลากหลาย
60.
ข้าพเจา้ ชนื่ ชอบคนท่ีขยันอ่านหนงั สอื
61.
ข้าพเจา้ รู้สกึ กงั วลใจที่ต้องทำงานหรืออย่รู ว่ มกบั เพ่ือนที่ไมส่ นิทกัน
62.
ขา้ พเจ้ามคี วามสขุ เมื่อเห็นเพื่อนคืนดีกนั
63.
ข้าพเจา้ พอใจทไ่ี ด้อยู่ในสง่ิ แวดล้อมที่แปลกใหม่
64
ข้าพเจ้าสนใจท่ีจะเสริมสร้างความปลอดภยั ให้ตนเอง
สมรรถนะท่ี 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
65.
ข้าพเจ้าชอบท่ีครใู ช้เทคโนโลยีในการจัดการเรยี นการสอน
66.
กข้าาพรเเรจีย้านเขก้าาใจรสบอทนเรีย
นได้ดีขึ้นเมอ่ื ครูใช้เทคโนโลยใี นการจัด
67.
เทคโนโลยีมปี ระโยชน์ในการตดิ ต่อสื่อสาร
68.
คอมพิวเตอร์ / อนิ เทอรเ์ นต็ มปี ระโยชน์ตอ่ การสบื คน้ รวบรวมความรู
้
69.
ตคหัดักากลเตพออื กบนผเแหลล็นงาะผนแ้อู ผนื่น้อูะในื่นชจ้เำทาใหคก้เโอขนินาโเทลทยำอใใี รนนเ์ สนทิง่ต็าทงมทีถ่ ากูไี่เปมตเ่น็้อหขงมไอดางะ
้ตสนมเอเงช่นขา้
พเจ้า
70.
ขกา้รพะบเจว้านรก้สู ากึ รชเทน่ื ชคมโนผโ้อู ลื่นยที
สี่ รา้ งสรรคช์ น้ิ งานทีม่ คี ณุ ค่าดว้ ย
คู่มือป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร 29
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
30
ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
คู่มอื แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
เกณฑ์การประเมินคุณภาพ (Rubric) สำหรับครูผ้สู อนประเมนิ นักเรยี น
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
ในการประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551
ประกอบด้วย
สมรรถนะท่ี 1 ความสามารถในการส่อื สาร
สมรรถนะที่ 2 ความสามารถในการคิด
สมรรถนะที่ 3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา
สมรรถนะท่ี 4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
สมรรถนะท่ี 1 ความสามารถในการส่ือสาร
ตวั ชีว้ ดั ท่ี 1 ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิด ความรู้สึก และทัศนะของตนเองดว้ ยการพดู และการเขียน
พฤตกิ รรมบ่งช
้ี ดเี ยีย่ ม (3)
ระดับคณุ ภาพ
ปรับปรุง (0)
ดี (2)
พอใช/้ ผา่ นเกณฑข์ ้ันต่ำ (1)
1. พูดถา่ ยทอดความรู้ พูดถ่ายทอดความรู้
พดู ถา่ ยทอดความรู้
พูดถา่ ยทอดความรู้
พูดถ่ายทอดความรู้
ความเขา้ ใจจากสารท่ี ความเขา้ ใจจากสารที่อ่าน
ความเข้าใจจากสาร ท่ีอ่าน
ความเขา้ ใจจากสารทีอ่ ่าน
ความเขา้ ใจจากสารทอ่ี า่ น
อา่ น ฟงั หรือดูตามที่ ฟงั หรือดู ตามที่กำหนดได้ ฟงั หรอื ดู ตามทีก่ ำหนดได้
ฟัง หรอื ดู ตามทกี่ ำหนดได้
ฟัง หรือดู ตามทก่ี ำหนดไม่ได้
กำหนดได้
อย่างถูกต้อง ครบถว้ น อย่างถูกต้อง ครบถว้ น ชัดเจน
ไมช่ ดั เจน
ชดั เจน และมน่ั ใจ
2. พดู ถ่ายทอดความคดิ พูดถ่ายทอดความคดิ
พดู ถ่ายทอดความคิด
พดู ถา่ ยทอดความคิด
พดู ถ่ายทอดความคดิ
ความรสู้ ึกและทศั นะของ ความรสู้ กึ และทศั นะ จาก ความรสู้ กึ และทัศนะ
ความร้สู ึก และทัศนะ
ความรสู้ กึ และทัศนะจากสาร
ตนเองจากสาร ท่ีอ่าน สารท่อี า่ น ฟัง หรอื ดู ตามที่ จากสารทอ่ี ่าน ฟงั หรือดู
จากสารที่อ่าน ฟงั หรอื ดู
ท่อี ่าน ฟัง หรอื ดู ตามที่
ฟงั หรือดู ตาม ที่กำหนด กำหนดได้อย่างสมเหตุสม ตามทก่ี ำหนด ไดอ้ ย่างมเี หตุผล
ตามท่กี ำหนด โดยมเี หตุผล
กำหนดใหไ้ มไ่ ด
้
ได้
ผล ชัดเจน และมน่ั ใจ
ไมเ่ พยี งพอ
3. เขียนถ่ายทอดความรู้ เขยี นถ่ายทอดความรู้ เขียนถา่ ยทอดความรู้
เขยี นถา่ ยทอดความรู้
เขียนถ่ายทอดความรู้
ความเข้าใจจากสารที่ ความเขา้ ใจ จากสารทอี่ า่ น ความเขา้ ใจจากสารทีอ่ ่าน
ความเข้าใจจากสารทีอ่ ่าน
ความเข้าใจจากสารท่อี ่าน
อ่าน ฟงั หรอื ดูตามที่ ฟังหรือดู ตามทีก่ ำหนดได้ ฟงั หรอื ดูตามทกี่ ำหนดไดอ้ ย่าง ฟังหรอื ดู ตามท่ีกำหนดได้ และ ฟังหรือดู ตามทก่ี ำหนดไมไ่ ด้
กำหนดได้
อย่างถูกต้อง ครบถว้ น มี ถกู ต้องครบถ้วน มีข้อบกพร่อง มขี อ้ บกพรอ่ งในการใช้ภาษา
ข้อบกพรอ่ งในการใชภ้ าษา ในการใช้ภาษา วรรคตอน วรรคตอน และการเขียนคำ
วรรคตอนและการเขียนคำ และการเขยี นคำต้งั แต่ 3 แห่ง ต้ังแต่ 6 แหง่ ข้นึ ไป
31 ไม่เกิน 2 แหง่
แตไ่ มเ่ กิน 5 แหง่
32 สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการส่อื สาร (ตอ่ )
ตัวชว้ี ัดท่ี 1 ใช้ภาษาถา่ ยทอดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด ความร้สู กึ และทัศนะของตนเองด้วยการพดู และการเขยี น (ต่อ)
ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
พฤตกิ รรมบง่ ช
ี้ ดเี ยยี่ ม (3)
ระดับคุณภาพ
ปรบั ปรงุ (0)
ดี (2)
พอใช/้ ผ่านเกณฑข์ ้ันตำ่ (1)
คู่มอื แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
4. เขยี นถา่ ยทอดความคดิ เขียนถ่ายทอดความคดิ เขยี นถ่ายทอดความคดิ
เขียนถ่ายทอดความคดิ
เขยี นถ่ายทอดความคดิ
ความร้สู ึกและทัศนะของ ความรูส้ กึ และทศั นะของ ความรสู้ ึก และทัศนะของตนเอง ความรูส้ กึ และทศั นะของตนเอง ความร้สู กึ และทศั นะของ
ตนเองจากสารทีอ่ ่าน
ตนเองจากสารท่ีอา่ น
จากสารท่อี ่าน ฟังหรอื ดูได้ จากสารที่อ่าน ฟงั หรอื ดู ท่ีกำหนด ตนเองจากสารที่อา่ น
ฟงั หรือดูจาก ทกี่ ำหนดได
้ ฟงั หรือดูไดอ้ ย่างสมเหต
ุ อยา่ งมีเหตุผล มีข้อบกพรอ่ ง ให้ โดยมีเหตผุ ลไม่เพียงพอ ฟงั หรือดูที่กำหนดใหไ้ มไ่ ด
้
สมผล มขี ้อบกพร่องในการใช้ ในการใช้ภาษา วรรคตอนและ และ มขี อ้ บกพร่องในการใช้
ภาษา วรรคตอนและการ การเขียนคำตงั้ แต่ 3 แห่ง
ภาษา วรรคตอน และการ
เขยี นคำไมเ่ กิน 2 แหง่
แตไ่ มเ่ กิน 5 แห่ง
เขียนคำตงั้ แต่ 6 แหง่ ข้นึ ไป
ตวั ชี้วัดที่ 2 พูดเจรจาตอ่ รอง
พฤติกรรมบง่ ช้
ี ดีเยยี่ ม (3)
ระดบั คุณภาพ
ปรับปรุง (0)
ดี (2)
พอใช้/ผา่ นเกณฑ์ขั้นตำ่ (1)
1. พูดเจรจา โนม้ น้าวได้ พดู โน้มน้าวให้ผู้อน่ื คลอ้ ยตาม พูดโน้มน้าวให้ผ้อู ่ืนคล้อยตาม พดู โนม้ น้าวได้สำเรจ็ บางสถานการณ์
พดู โน้มน้าวให้ผู้อื่นคล้อยตาม
อยา่ งเหมาะสมตาม ได้สำเรจ็ โดยไม่เกดิ ผล ได้สำเรจ็ ในทุกสถานการณ์ ไม่ได้
สถานการณเ์ พ่อื ขจัดและ กระทบตอ่ ผ้อู ่ืนทกุ แต่เกิดผลกระทบตอ่ ผู้อื่นบาง
ลดปัญหาความขดั แยง้ สถานการณ
์ สถานการณ์
ต่างๆ
2. พูดเจรจาตอ่ รองไดอ้ ย่าง พูดเจรจาตอ่ รองเพ่อื ยตุ ิ พดู เจรจาต่อรองเพ่ือลด พดู เจรจาตอ่ รองยตุ ิหรือลด พดู เจรจาต่อรองไม่ได้
เหมาะสมตามสถานการณ์ ปัญหาได้ตามความต้องการ ปญั หาได้ตามความตอ้ งการ ปัญหาได้ในบางสถานการณ
์
เพือ่ ขจัดและลดปญั หา ทุกสถานการณ์
ทุกสถานการณ์
ความขัดแย้งตา่ งๆ
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสือ่ สาร (ตอ่ )
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตัวชวี้ ัดที่ 3 เลอื กรบั หรอื ไม่รบั ข้อมูลข่าวสาร
พฤติกรรมบง่ ชี้
ดีเย่ยี ม (3)
ระดับคุณภาพ
ปรบั ปรุง (0)
ดี (2)
พอใช/้ ผ่านเกณฑข์ ัน้ ตำ่ (1)
ไม่รบั รู้ข้อมูลขา่ วสารที่เปน็
ประโยชนจ์ ากแหลง่ ต่างๆ
1. รบั ร้ขู อ้ มูลข่าวสารท่ีเปน็ รบั รู้ขอ้ มูลขา่ วสารทเ่ี ป็น รับรู้ขอ้ มูลขา่ วสารทเี่ ป็น รบั รู้ขอ้ มลู ข่าวสารทเี่ ปน็
ประโยชน์
ประโยชน์จากแหลง่ ต่างๆ ประโยชน์จากแหล่งต่างๆ
ประโยชน์จากแหล่งต่างๆ
ตัดสนิ ใจเลือกรับ หรือไมร่ ับ
ไดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสม ได้ถกู ต้องและเหมาะสม
ตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
ขอ้ มูลข่าวสาร จากแหลง่ ต่างๆ
ดว้ ยตนเองทกุ ครงั้
ดว้ ยตนเองเป็นบางครงั้
โดยไมค่ ำนงึ ถึงเหตุผล
2. ตดั สนิ ใจเลอื กรบั หรอื ไม่ ตัดสนิ ใจเลอื กรบั หรอื ไม่รบั ตดั สนิ ใจเลอื กรบั หรือไมร่ บั ตัดสนิ ใจเลอื กรับ หรอื ไมร่ บั
รับขอ้ มูลข่าวสารได้ ข้อมลู ข่าวสาร จากแหลง่ ต่างๆ ขอ้ มูลข่าวสาร จากแหล่งต่างๆ ขอ้ มลู ขา่ วสาร จากแหลง่ ต่างๆ
อยา่ งมีเหตผุ ล
โดยระบุ เหตผุ ลได้อย่าง
โดยระบุ เหตุผลได้อยา่ งสม โดยระบุ เหตุผลได้อยา่ งสมเหตุ
สมเหตสุ มผลทกุ คร้ัง
เหตสุ มผลเกือบทกุ คร้งั
สมผลบางคร้ัง
ตวั ชว้ี ดั ท่ี 4 เลอื กใช้วิธกี ารสือ่ สาร
พฤตกิ รรมบง่ ช้ี
ระดับคุณภาพ
1. เลอื กใชว้ ธิ กี ารสือ่ สารที่
ดเี ยี่ยม (3)
ดี (2)
พอใช/้ ผา่ นเกณฑข์ ั้นตำ่ (1)
ปรบั ปรงุ (0)
มปี ระสทิ ธิภาพ โดย ไมส่ ามารถเลือกใชว้ ิธกี าร
คำนงึ ถึงผลกระทบทม่ี ี เลอื กใชว้ ิธีการสอื่ สาร
เลือกใชว้ ิธกี ารสอ่ื สาร
เลอื กใช้วิธีการสือ่ สารได้โดย
สือ่ สารได
้
ต่อตนเองและสังคม
ท่ีทำให้เกิดความเหมาะสม ท่ที ำใหเ้ กิดความเหมาะสม ไมเ่ กดิ ผลกระทบตอ่ ตนเองหรือ
และคุ้มค่าโดยไม่เกิดผล โดยไมเ่ กิดผลกระทบต่อ สงั คม
กระทบต่อตนเองและสังคม
ตนเองและสังคม
33
34 สมรรถนะที่ 2 ความสามารถในการคิด
ตวั ชว้ี ดั ท่ี 1 คดิ พื้นฐาน (การคดิ วิเคราะห)์
ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
พฤติกรรมบง่ ช
ี้ ดีเย่ยี ม (3)
ระดับคุณภาพ
ปรบั ปรงุ (0)
ดี (2)
พอใช้/ผ่านเกณฑข์ ัน้ ต่ำ (1)
คู่มอื แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
1. จำแนกข้อมูล
มีพฤตกิ รรมบ่งชี้ ดังน้ี
มีพฤตกิ รรมบ่งชี้
มพี ฤตกิ รรมบ่งชี้
มพี ฤตกิ รรมบง่ ช้ี
จัดหมวดหมู่ จัดลำดบั 1. จำแนกขอ้ มูลได้
3 พฤตกิ รรม
2 พฤตกิ รรม
1 พฤติกรรม หรอื ไม่มีเลย
ความสำคัญของขอ้ มูล 2. จัดหมวดหม่ขู ้อมูลได้
และเปรยี บเทยี บขอ้ มลู 3. จัดลำดบั ความสำคัญของ
ในบริบทที่เป็นสิ่งใกล้ตัว
ข้อมูลได้
4. เปรียบเทยี บข้อมลู ได้
2. เชอ่ื มโยงความสมั พนั ธ์ เชอื่ มโยงความสมั พนั ธ์ของ เชือ่ มโยงความสมั พันธ์ของ เชือ่ มโยงความสมั พันธ์ของ เชือ่ มโยงความสมั พันธข์ อง
ของขอ้ มูลที่พบเห็นใน ข้อมลู ตา่ ง ๆ กบั เหตกุ ารณ
์ ขอ้ มลู ต่าง ๆ กบั เหตกุ ารณ์ ข้อมูลต่าง ๆ กับเหตกุ ารณ์
ข้อมลู ตา่ ง ๆ กบั เหตกุ ารณ์
บริบทท่ีเปน็ ส่งิ ใกลต้ ัว
ทพี่ บเหน็ ในชวี ติ ประจำวนั ได้ ทพี่ บเห็นในชีวติ ประจำวัน ที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน
ท่พี บเห็นในชีวิตประจำวนั
อยา่ งถกู ตอ้ ง รอ้ ยละ 80 ข้ึน ไดร้ อ้ ยละ 60-79 ของ ได้รอ้ ยละ 40-59 ของจำนวน ต่ำกวา่ รอ้ ยละ 40 ของจำนวน
ไปของจำนวนคร้ังท่ปี ฏบิ ัติ
จำนวนครัง้ ทป่ี ฏบิ ัติ
คร้งั ท่ีปฏบิ ตั ิ
ครง้ั ที่ปฏบิ ตั ิ
3. ระบรุ ายละเอียด ระบุรายละเอียด คณุ ลกั ษณะ ระบุรายละเอยี ด คุณลกั ษณะ ระบรุ ายละเอียด คณุ ลักษณะ ระบรุ ายละเอียด คณุ ลักษณะ
คุณลกั ษณะ และความ และความคิดรวบยอดของ และความคิดรวบยอดของ และความคดิ รวบยอดของ และความคดิ รวบยอดของ
คดิ รวบยอดของขอ้ มูล ขอ้ มลู ต่างๆ ท่พี บเห็นในชวี ิต ขอ้ มลู ตา่ งๆ ทพ่ี บเหน็ ใน ขอ้ มลู ต่างๆ ที่พบเห็นในชีวติ ขอ้ มลู ตา่ งๆ ท่ีพบเห็นในชีวติ
ต่าง ๆ ท่พี บเหน็
ประจำวนั ไดถ้ กู ตอ้ งและ
ชีวติ ประจำวนั ได้ถูกตอ้ ง
ประจำวนั ได้ถูกต้องเป็น
ประจำวนั ไม่ได
้
ในบรบิ ทที่เป็นสง่ิ ใกลต้ วั
ครบถว้ น
แตไ่ มค่ รบถว้ น
บางส่วนและไม่ครบถว้ น
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร สมรรถนะท่ี 2 ความสามารถในการคดิ (ตอ่ )
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตวั ชว้ี ัดท่ี 2 คิดข้นั สงู (การคดิ สังเคราะห์ คิดสรา้ งสรรค์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ)
พฤติกรรมบง่ ช้
ี ดีเย่ียม (3)
ระดบั คณุ ภาพ
ปรับปรงุ (0)
ดี (2)
พอใช/้ ผ่านเกณฑข์ ้นั ตำ่ (1)
1. คิดสงั เคราะห์ เพื่อนำไป รวบรวมข้อมูล จดั กระทำ รวบรวมขอ้ มลู จัดกระทำ รวบรวมขอ้ มูล จดั กระทำ รวบรวมข้อมลู จดั กระทำ
สู่ การสร้างองคค์ วามรู้ ขอ้ มูล และนำขอ้ มลู ที่ ข้อมูล และนำขอ้ มูลที่ ข้อมลู และนำข้อมูลท่เี กี่ยวข้อง ข้อมูล และนำขอ้ มูลที่
หรือสารสนเทศ เกี่ยวขอ้ งมาหลอมรวม สรปุ เก่ียวข้องมาหลอมรวม สรปุ มาหลอมรวมกนั ได้
เกยี่ วข้อง มาหลอมรวมกนั
ประกอบการตดั สนิ ใจ เป็นองคค์ วามรู้ หรอื สาร เป็นองค์ความรู้ หรอื สาร ไม่ได้
เกี่ยวกบั ตนเอง และ สนเทศ เพอ่ื วางแผน สนเทศ เพอ่ื วางแผนประกอบ
สังคมได้ อยา่ งเหมาะสม
ประกอบการตัดสินใจ ที่ การตดั สนิ ใจท่เี กยี่ วกบั ตนเอง
เกยี่ วกบั ตนเองและสงั คมได้
หรือสังคมได้
2. คิดอยา่ งสร้างสรรค์ เพอ่ื คิดรเิ ร่ิม สรา้ งสรรคส์ ิง่ แปลก คิดรเิ ริม่ สร้างสรรคส์ ่ิงแปลก คิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ส่ิงแปลก คดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรคส์ ง่ิ แปลก
นำไปสกู่ ารสร้างองค์ความรู้ ใหม่ในทางบวก ที่ใชห้ รือนำ ใหม่ในทางบวก ท่ใี ชห้ รือนำไป ใหม่ได
้ ใหมใ่ นทางบวกไมไ่ ด้ หรือ
ใหม่ หรือสารสนเทศ ไปประยุกต์ใช้ เพอื่ ประยกุ ตใ์ ช้ เพอื่ ประโยชนต์ ่อ ประยกุ ตน์ ำไปใช้ไมไ่ ด้
ประกอบการตดั สินใจ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและ ตนเองหรอื สงั คมได
้
เก่ียวกับตนเองและ สังคมได้
สงั คมได้อย่างเหมาะสม
3. คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ คดิ แบบองคร์ วมโดยใช้ คดิ แบบองคร์ วมโดยใชเ้ หตุผล คดิ แบบองค์รวมโดยใช้เหตุผล คิดแบบองค์รวมโดยใช้
เพอ่ื นำไปสกู่ ารสร้างองค์ เหตุผล หลกั ฐานเชงิ ตรรกะ หลกั ฐานเชงิ ตรรกะ มา หลกั ฐานเชิงตรรกะ มา เหตผุ ล หลักฐานเชงิ ตรรกะ
ความรหู้ รือสารสนเทศ มาวเิ คราะห์สิง่ ต่าง ๆ ให้ วเิ คราะห์สิ่งตา่ ง ๆ อยา่ งสม วเิ คราะหส์ ิ่งตา่ ง ๆ แต่ไม่สม มาวเิ คราะห์ส่งิ ต่าง ๆ อยา่ ง
ประกอบการตดั สินใจ แนช่ ัด อย่างสมเหตุสมผล เหตสุ มผล แต่ไม่ครอบคลุมทุก เหตุสมผล
สมเหตุสมผลไมไ่ ด้
เก่ยี วกบั ตนเองและ และสรุป/ตัดสินใจเลอื กทาง ด้าน
สงั คมได้อยา่ งเหมาะสม
เลือกทีเ่ หมาะสมตอ่ ตนเอง
35 และสงั คมได
้
36 สมรรถนะที่ 3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา
ตัวชวี้ ดั ท่ี 1 ใช้กระบวนการแกป้ ัญหาโดยวเิ คราะหป์ ัญหา วางแผนในการแก้ปญั หา ดำเนนิ การแก้ปัญหา ตรวจสอบและสรปุ ผล
ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
พฤติกรรมบง่ ช้
ี ดีเยี่ยม (3)
ระดับคณุ ภาพ
ปรับปรงุ (0)
ดี (2)
พอใช/้ ผา่ นเกณฑข์ ั้นตำ่ (1)
คู่มอื แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
1. วิเคราะห์ปญั หา
1.1 ระบุปญั หาท่ีเกิดขนึ้ ระบปุ ญั หาต่าง ๆ ทีเ่ กดิ ขน้ึ กบั ระบุปัญหาตา่ ง ๆ ท่เี กดิ ขนึ้ ระบุปญั หาตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ระบุปญั หาทีเ่ กดิ ข้ึนกับ
กบั ตนเอง
ตนเองทตี่ รงกบั สภาพปญั หา กับตนเองท่ีตรงกับสภาพ กบั ตนเอง ทตี่ รงตามสภาพ ตนเองไม่ไดห้ รือระบุปญั หา
มากกวา่ 2 ปัญหา
ปัญหา 2 ปญั หา
ปญั หา 1 ปญั หา
ไดแ้ ต่ไม่ตรงสภาพปัญหา
1.2 ระบุปญั หาทเ่ี กิดขึน้ ระบุปญั หาต่าง ๆ ที่เกดิ ขน้ึ กบั ระบุปญั หาตา่ ง ๆ ทเ่ี กิดขึ้น ระบปุ ญั หาต่าง ๆ ที่เกดิ ขึ้น ระบุปญั หาท่ีเกดิ ขึ้นกบั บุคคล
กับบุคคลใกล้ตวั
บุคคลใกล้ตัวท่ตี รงกบั สภาพ กับบคุ คลใกล้ตวั ท่ีตรงกบั กบั บุคคลใกล้ตัวท่ีตรงกับ ใกลต้ ัวไมไ่ ด้หรือระบปุ ญั หา
ปญั หามากกว่า 2 ปญั หา
สภาพปญั หาได้ 2 ปัญหา
สภาพปญั หาได้ 1 ปญั หา
ไดแ้ ต่ไมต่ รงสภาพปัญหา
1.3 ระบสุ าเหตขุ อง ระบสุ าเหตุของปัญหาต่าง ๆ ระบสุ าเหตขุ องปัญหาตา่ ง ๆ ระบุสาเหตุของปัญหาตา่ ง ๆ ระบุสาเหตขุ องปัญหาต่าง ๆ
ปัญหา
ที่เกิดข้ึนไดส้ อดคลอ้ งกบั ท่ีเกิดขึน้ ไดส้ อดคล้องกับ ท่ีเกดิ ขน้ึ ได้สอดคล้องกับ ทีเ่ กิดขึ้นไม่ได้หรอื ระบุสาเหตุ
ปญั หามากกวา่ 2 สาเหตุ
ปัญหา 2 สาเหต
ุ ปัญหา 1 สาเหต
ุ ได้ แตไ่ ม่สอดคลอ้ งกบั ปญั หา
1.4 จดั ระบบข้อมูล
1.4.1. การจำแนก
จำแนกและจัดหมวดหมู่ จำแนกและจดั หมวดหมู่ จำแนกและจดั หมวดหมู่ จำแนกและจดั หมวดหมู่
สาเหตขุ องปญั หาได้ถกู ตอ้ ง สาเหตุของปญั หาได้ถกู ตอ้ ง
สาเหตขุ องปัญหาไม่ได้หรอื
สาเหตุของปัญหาได้ถูกต้อง 2 ใน 3 สาเหตุ
1 ใน 3 สาเหตุ
ไมม่ กี ารจดั หมวดหมู่
ทุกสาเหต
ุ
1.4.2. การจดั ลำดับ
มกี ารจดั ลำดับความสำคัญ มกี ารจัดลำดบั ความสำคัญ มกี ารจัดลำดบั ความสำคญั ไม่มกี ารจัดลำดบั ความสำคญั
สาเหตุของปัญหาได้อยา่ งสม สาเหตุของปญั หาได้อยา่ ง สาเหตุของปญั หาไดอ้ ย่างสม สาเหตุของปญั หาหรือจัดได้
เหตสุ มผลทุกสาเหต
ุ สมเหตสุ มผล 2 ใน 3 สาเหต
ุ เหตสุ มผล 1 ใน 3 สาเหต
ุ ไมส่ มเหตุสมผล
1.4.3. เช่ือมโยง
แสดงการเชอื่ มโยงความ แสดงการเช่ือมโยงความ แสดงการเชอื่ มโยงความ ไม่มีการแสดงการเชือ่ มโยง
สมั พนั ธ์ระหวา่ งสาเหตุของ สัมพนั ธ์ระหว่างสาเหตุของ สัมพันธ์ระหว่างสาเหตุของ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสาเหตุ
ปญั หาและผล ทจี่ ะเกดิ ขึน้ ได้ ปญั หาและผลท่ีจะเกิดขนึ้ ได้ ปัญหาและผล ที่จะเกดิ ข้ึนได้ ของปัญหาและผลทจ่ี ะเกดิ ขึน้
โดยมขี ้อมลู สนับสนุนอยา่ งสม โดยมีข้อมลู สนบั สนุนอย่าง โดยมขี ้อมูลสนบั สนุนอยา่ งสม
เหตสุ มผลทุกสาเหตุ
สมเหตสุ มผล 2 ใน 3 สาเหตุ
เหตสุ มผล 1 ใน 3 สาเหต
ุ
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร สมรรถนะท่ี 3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา (ต่อ)
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตัวชีว้ ัดท่ี 1 ใชก้ ระบวนการแก้ปญั หาโดยวิเคราะห์ปญั หา วางแผนในการแกป้ ัญหา ดำเนนิ การแกป้ ญั หา ตรวจสอบและสรุปผล (ตอ่ )
พฤตกิ รรมบ่งชี
้ ดเี ยย่ี ม (3)
ระดบั คณุ ภาพ
ปรบั ปรงุ (0)
ดี (2)
พอใช/้ ผ่านเกณฑข์ นั้ ต่ำ (1)
1.5 กำหนดทางเลอื ก
กำหนดทางเลือกในการ
กำหนดทางเลือกในการ
กำหนดทางเลือกในการ
กำหนดทางเลือกในการ
แก้ปัญหาทม่ี ีความเปน็ ไปได
้ แก้ปัญหาท่มี คี วามเป็นไปได้
แกป้ ัญหาทมี่ คี วามเปน็ ไปได้
แกป้ ญั หาไม่ไดห้ รือไมม่
ี
มากกว่า 2 วธิ
ี 2 วธิ ี
1 วิธ
ี ความเปน็ ไปได
้
1.6 การตัดสนิ ใจเลอื ก
ตัดสินใจเลือกวธิ ีการแกป้ ัญหา ตัดสินใจเลอื กวิธีการแก้ ตดั สินใจเลอื กวธิ ีการแก้ ตัดสนิ ใจเลือกวิธีการแก้
วิธีการ
โดยพจิ ารณาขอ้ ดแี ละขอ้ ปัญหาโดยพจิ ารณาข้อดี ปัญหาโดยพิจารณาข้อดีและ ปญั หาโดยไม่พิจารณาขอ้ ดี
จำกัดซึ่งไม่เกดิ ผลกระทบ
และขอ้ จำกัดและมีผล ข้อจำกัดและมีผลกระทบ
และข้อจำกัดทำให้เกิดผล
ในทางลบแก่ตนเองและผู้อื่น
กระทบในทางลบแกต่ นเอง ในทางลบแก่ตนเองและผูอ้ นื่ กระทบในทางลบแก่ตนเอง
และผู้อนื่ ไม่เกิน 1 ประเด็น
2 ประเด็น
และผ้อู ่นื มากกวา่ 2 ประเดน็
2. การวางแผนในการแก้
มกี ารวางแผนในการแก้ปญั หา มีการวางแผนในการแก้ มีการวางแผนในการแก้ปัญหา ไม่มีการวางแผนในการ
ปัญหา
โดยใช้ข้อมลู และรายละเอยี ด ปัญหาโดยใช้ขอ้ มูลและ
โดยใช้ขอ้ มลู และรายละเอยี ด แก้ปัญหา
ประกอบการวางแผนมี
รายละเอียดประกอบการ ประกอบการวางแผน
ขน้ั ตอนของแผนงานอยา่ ง วางแผน และมีขั้นตอน
ชดั เจน และมีขอ้ มลู เพียงพอ
ของแผนงาน
3. การดำเนนิ การในแกป้ ัญหา
3.1 การปฏบิ ัติตามแผน
ปฏบิ ตั ติ ามแผนการแก้ปัญหา ปฏิบัตติ ามแผนการแก้ ปฏิบัตติ ามแผนการแกป้ ัญหา ไมม่ ีการปฏิบัตติ ามแผนการ
ทก่ี ำหนดไวท้ ุกขั้นตอนมขี อ้ มลู ปัญหาที่กำหนดไว้ 2 ใน 3 ท่กี ำหนดไว้ 1 ใน 3 ของ
แกป้ ัญหาทวี่ างไว
้
สนบั สนุนครบถว้ นสมบรู ณ์
ของข้นั ตอนและมีขอ้ มูล ข้ันตอนและมีขอ้ มลู สนบั สนนุ
สนับสนนุ สมบรู ณ
์ สมบรู ณ์
37 3.2 การตรวจสอบ
มีการตรวจสอบทบทวนแผน มกี ารตรวจสอบทบทวน มกี ารตรวจสอบทบทวนแผน
ไมม่ กี ารตรวจสอบทบทวน
ทบทวนแผน
และมกี ารปรบั ปรุงแกไ้ ข
แผน และมีการแก้ไข
ข้อบกพรอ่ งครบถ้วน สมบูรณ
์ ขอ้ บกพร่องแต่ไมส่ มบูรณ
์
38 สมรรถนะท่ี 3 ความสามารถในการแก้ปัญหา (ตอ่ )
ตัวช้ีวัดท่ี 1 ใช้กระบวนการแก้ปญั หาโดยวิเคราะห์ปัญหา วางแผนในการแกป้ ญั หา ดำเนนิ การแก้ปญั หา ตรวจสอบและสรุปผล (ต่อ)
พฤตกิ รรมบง่ ชี้
ระดับคุณภาพ
ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
3.3 การบนั ทกึ ผลการ
ดีเยยี่ ม (3)
ดี (2)
พอใช/้ ผา่ นเกณฑ์ขั้นตำ่ (1)
ปรบั ปรุง (0)
ปฏบิ ัต
ิ
คู่มอื แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
4. สรุปผลและรายงาน
บันทึกผลการปฏบิ ตั ิงานทุก บนั ทึกผลการปฏบิ ตั ิงานทกุ มีการบนั ทึกผลการปฏิบัตงิ าน ไมม่ ีการบันทึกผลการ
ขัน้ ตอนและ มีความชดั เจน
ขัน้ ตอน แตไ่ มค่ ่อยชัดเจน
ไมค่ รบทกุ ขน้ั ตอน
ปฏิบัตงิ าน
มีการสรุปผลและจดั ทำ มกี ารสรุปผลและจัดทำ มกี ารสรปุ ผลการดำเนินงาน ไม่มีการสรุปและรายงานผล
รายงานอยา่ งถูกต้อง สมบูรณ์ รายงาน
แตไ่ ม่ไดจ้ ดั ทำรายงาน
ชดั เจน
สมรรถนะที่ 3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา
ตวั ชี้วดั ที่ 2 ผลลัพธ์ของการแก้ปัญหา
พฤตกิ รรมบง่ ช้
ี ระดบั คณุ ภาพ
1. ผลลัพธ์ของการแก้
ดเี ยีย่ ม (3)
ดี (2)
พอใช้/ผา่ นเกณฑข์ ้นั ต่ำ (1)
ปรับปรงุ (0)
ปญั หา
ผลงาน/ช้นิ งานทเี่ กิดจาก ผลงาน/ชนิ้ งานทเ่ี กดิ จากการ ผลงาน/ชนิ้ งานที่เกดิ จากการ ผลงาน/ช้ินงานท่ีเกิดจาก
การแกป้ ญั หามคี วามถูกต้อง แก้ปัญหามคี วามถูกต้องเหมาะ แก้ปัญหามคี วามถูกต้อง การแกป้ ญั หามีความถูก
เหมาะสมบนพื้นฐานของ สมบนพื้นฐานของหลักเหตผุ ล เหมาะสมบนพื้นฐานของหลกั ตอ้ งเหมาะสมบนพื้นฐาน
หลกั เหตผุ ลและคณุ ธรรม และคณุ ธรรมอย่างนอ้ ยร้อยละ เหตผุ ลและคณุ ธรรมร้อยละ ของหลกั เหตผุ ลและคุณ
อยา่ งนอ้ ยร้อยละ 80 ขน้ึ ไป 70-79 ของปัญหาทแ่ี กไ้ ข
50-69 ของปญั หาทแี่ กไ้ ข
ธรรมต่ำกว่าร้อยละ 50
ของปญั หาท่ีแกไ้ ข
ลงมาของปัญหาที่แก้ไข
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร สมรรถนะที่ 4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตวั ช้วี ดั ที่ 1 นำกระบวนการเรยี นรู้ท่หี ลากหลายไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน
พฤตกิ รรมบง่ ช
้ี ดีเยีย่ ม (3)
ระดับคณุ ภาพ
ปรบั ปรงุ (0)
ดี (2)
พอใช้/ผา่ นเกณฑ์ข้นั ตำ่ (1)
1. มกเมอดนครยำาาำรเะสแา่คนือ่ บงกรวงนิเ้า้ปวาหใงชชนมญัมชีว้กราแ้นิหติ ู้าะลทงาปรสาะกัทรในมสะษนหี่
/าจะกสลมำาาง่ิ แาวรขกรันลอหถะงไนลด/าำ้ย กสทเชสหะิ้นาาักมทมรงษดาาอ้าะะนนรำกสเถ/ถรนสมนึงะนิงิ่กำบขแาชมวรอลีวานนงะิตใก/ำชมปเหาคแ้คีรรลรกุณะทัก่ือ้ปจกห่ี ภงญัำาลใาวรชาหพนั้กคทา
ไหวใสี่ดานลร้มาา้ รยงู้ คสชแหปิ้นกะวลราทะ้ปงามาจกอ้ัญนรำหนห/ู้วลถทสันาางึิ่งักใไยกขนดษอากเ้สะรหงากาน/มรมเรำคดาะาหระำรบ่ือลเสถนวงกัมนนินใก
ชำกชา้มาทวีราริตสี่ ใทชรี่า้้ ง คสสดชะิน้รำว้าเทางนงมาอ้ นินรนนชู้/ำทสวีถม่หีติงิ่ึงาขกลปใอาชารรกง้แะน/หกจเำคำ้ปลกวราัญรัน่ือยะหไงมบดใาาชวใ้แใน้นชตทก้
ก่ไ่ี มาารร่ วนชกใชัน้นิาำ้ รมไงทดดาา่ีส้
นำใรชเ/นา้ ้แสงินกิง่ ไชขป้ มอวีญั ่สติงหา/ปเมาคราะรใรนจอื่ ถำง
สมรรถนะท่ี 4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ
ตวั ช้ีวดั ที่ 2 เรยี นรดู้ ้วยตนเองและเรียนรู้อยา่ งต่อเน่อื ง (ต่อ)
พฤตกิ รรมบง่ ชี้
ระดับคณุ ภาพ
1. คมวีทาักมษระู้ ขในอ้ กมาลู รขแา่สววสงาหรา
ดีเยย่ี ม (3)
ดี (2)
พอใช้/ผ่านเกณฑข์ ัน้ ตำ่ (1)
ปรับปรงุ (0)
2. เช่ือมโยงความรู้
เรขสจวู้มาอ้บื ลกามคากแลูน้ทกหอค่ีกวล้าวำา่ ง่งหาอเม3รนิงยีรดจรู้นา
าขรยกอ้ ตู้ กแม่าาหลู งรลขๆ่งภ่าเารแวยียลสในะานรได้ รเสขจว้มูาอ้ืบลกามคากแลู้นทกหอค่กี วล้าวำ่างง่หาอเม2รนงิ ยีรดรู้นจา
ขารย้อก้ตู กมแา่าูลงหรลขๆภ่ง่าาเแวรยลสยี ใะานนรได้ มเสจขวา้อบืาลกกมคาแกูล้นทหวอคีก่ ่าล้าวำงง่หา1อเมรนิงรียรดจาู้นย
าขรกก้อตู้ แาม่ารหลู งลๆภขง่ า่าอแยวลา้ ใสงะนอาไรดงิ ้ คสจหาบืัดรกอืลคแไอ้นมหกขม่ลผอ้ ขี่งลมเอ้ งรูลมาียนูลขนจขา่รวาอู้
กสงผาารรอู้ นื่
39 หขจสนมกำ่าาบักีา่รแวรเือาปชะสนรนรื่อสาจกำะถรำัดเเเอืปคสดกททนญัน็็นลไี่ กุอปทดุ่มไดปปจ้รค่ีเปอ้ะรราวน็ะยกะเาดเเ่ามกคดด็นงารวน็็นสครู้าขอ
ทสวม้อดาบื่เีรปมมคู้ใคห็นรลูล้นเู้มอ้ด่งิม ปนมสเสถปอืาำีกำร็นรคเะใาสนปัญรเทดนจบรไ่ีไ็นอดัะดาดทปเงกอ้จ้ดปเ่ีรลยาน็ปะรมุ่กา่ ค็นะเงคกดวเคสวาดน็าวอราน็มทาดมส
รมเี่ืบครปเู้ รู้ดลคน็ขใู้ มิ้อน้หอ้สงมมากนจร่ลูบัำ่าหะแเรขชนือา่ือ่ กว ขเมกจขหปำา่้อับกีร็นแวือมาปสสนรมลูราจากกีขะรรดัปเาา่ ะดกรวทรสน็นลสะีไ่ ำทดุ่มาเำคดรเจ้ค่ีเสัญ็นปาวแนคน็กขาตอวมกอคไ่ ปาารงวมมครรู้าม่ ขสระมวกีอ้เู้เืบารดดามมใู้ครมิน็หลูร้นทมู้ ่ี่
จขคาา่ดั กวลสตอาน้กรฉคบทวาบัไี่ มม
แ่รู้ตขก้อตมา่ ลู ง
40 สมรรถนะท่ี 4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
ตัวช้วี ัดท่ี 2 เรียนรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง (ต่อ)
ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
พฤตกิ รรมบง่ ช
ี้ ดเี ยยี่ ม (3)
ระดบั คุณภาพ
ปรบั ปรงุ (0)
ดี (2)
พอใช้/ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตำ่ (1)
คู่มอื แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
3. มีวธิ ีการในการศกึ ษา สบื คน้ ความรู้ ขอ้ มลู ข่าวสาร สืบคน้ ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร สบื ค้นความรู้ ข้อมลู ขา่ วสาร ไม่ปรากฏพฤตกิ รรมที่
ความรูเ้ พ่ิมเติมเพอื่ เพิม่ เตมิ จากการเรียนร้ใู นบท เพมิ่ เตมิ จากการเรยี นรู้ในบท เพิม่ เติมจากการเรียนร้ใู นบท แสดงถงึ ความต้องการ
ขยายประสบการณไ์ ปสู่ เรยี น ในประเด็นทสี่ นใจดว้ ยวธิ ี เรียน ในประเด็นทส่ี นใจ ด้วยวธิ ี เรียนโดยการสอบถามครหู รอื ในการเรียนรู้เพม่ิ เติม
การเรยี นรู้สิ่งใหมต่ าม การท่หี ลากหลาย และนำเสนอ การท่ีหลากหลาย แต่ไมม่ ี ผรู้ ู้เพือ่ ให้ไดค้ ำตอบโดยเร็ว
ความสนใจ
ผลการสบื ค้นเป็นองคค์ วามรู้ การนำเสนอผลการสืบคน้ เป็น
เพิม่ เตมิ จากบทเรยี น
องคค์ วามรเู้ พมิ่ เตมิ จากบทเรยี น
สมรรถนะท่ี 4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
ตัวชวี้ ัดที่ 3 ทำงานและอยู่รว่ มกนั ในสังคมอยา่ งมีความสขุ
พฤตกิ รรมบ่งช้
ี ระดบั คุณภาพ
ดีเยยี่ ม (3)
ดี (2)
พอใช/้ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ (1)
ปรับปรุง (0)
1. ทำงานด้วยตนเอง ได้ ปฏบิ ตั งิ านของตนโดยตนเองได้ ปฏิบตั ิงานของตนเองได้ ปฏิบตั งิ านของตนเองโดยมผี ู้ ปฏิบตั งิ านของตนเองไม่
สำเรจ็
สำเรจ็
สำเร็จโดยมผี ้แู นะนำ
อืน่ ชว่ ยเหลอื จนสำเรจ็
สำเรจ็
2. ทำงานรว่ มกับผอู้ ื่น แสดงความคิดเห็นของตนเอง
แสดงความคิดเห็นของ รับฟงั ความคดิ เห็นของผ้อู ่ืน มีพฤติกรรมทไี่ ม่สนใจ
สามารถแสดง
รับฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ ่ืน สนับสนุน ตนเอง รบั ฟงั ความคดิ เห็น เมือ่ ทำงานร่วมกบั ผู้อน่ื
รบั ฟงั ความคดิ เห็นของผูอ้ ื่น
ความคดิ เหน็ และยอมรับ หรือคดั ค้านความคดิ เห็นของผูอ้ น่ื ของผู้อ่นื เมอื่ ทำงานรว่ ม
เมือ่ ทำงานร่วมกับผ้อู ่นื
ความคิดเห็นผอู้ ่นื
ดว้ ยกิรยิ าวาจาท่สี ุภาพ และให้ กบั ผ้อู ื่น
เกยี รติเม่อื ทำงานรว่ มกับผอู้ นื่
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร สมรรถนะท่ี 4 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต (ตอ่ )
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตวั ช้ีวัดที่ 3 ทำงานและอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งมีความสุข
พฤติกรรมบ่งช
้ี ดีเยยี่ ม (3)
ระดบั คุณภาพ
ปรับปรงุ (0)
ดี (2)
พอใช/้ ผ่านเกณฑ์ขั้นตำ่ (1)
3 เห็นคุณคา่ ของการมชี ีวิต มผี ลงานหรือการแสดงออก ที่สะทอ้ น มผี ลงานหรือการแสดงออก มผี ลงานหรอื การแสดงออก ผลงานหรือการ
และครอบครัวที่อบอนุ่ ถงึ ความภาคภูมใิ จของตนเอง
ทีส่ ะท้อนถงึ ความภาคภูมใิ จ ท่สี ะท้อนถงึ ความภาคภมู ใิ จ แสดงออกไม่สะทอ้ นถงึ
เปน็ สุข
โดยระบุประเดน็ ท่ีประทับใจ ดงั น้ี
ในครอบครัวของตนเอง
ในครอบครัวของตนเอง
ความภาคภูมิใจใน
1. งานทช่ี ว่ ยแบ่งเบาภาระในครอบครวั
2 ประเดน็
1 ประเด็น
ครอบครวั ของตนเอง
2. ตง้ั ใจเรยี นหนังสือโดยปฏบิ ตั ิงาน
ทไี่ ด้รับมอบหมายได้อยา่ งสำเรจ็
3. แสดงออกถงึ ความรัก
ความกตัญญูตอ่ ผ้ปู กครองในโอกาส
ทเี่ หมาะสม
สมรรถนะที่ 4 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
ตัวช้วี ดั ที่ 4 จัดการกับปัญหาและความขดั แย้งในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
พฤติกรรมบง่ ช้ี
ดเี ยยี่ ม (3)
ระดบั คุณภาพ
ปรับปรงุ (0)
ดี (2)
พอใช้/ผ่านเกณฑ์ข้นั ต่ำ (1)
1. รบั ร้สู าเหตุและจัดการ
รับร้ปู ัญหา/ความขัดแย้งทกี่ ำลงั รบั รูป้ ัญหา/ความขัดแย้งท่ี รบั ร้ปู ญั หา/ความขดั แยง้
ไมย่ อมรับปญั หา
แกป้ ัญหา/ความขดั แย้งได้
ประสบ สามารถแกไ้ ขปญั หา กำลงั ประสบ สามารถแกไ้ ข ท่กี ำลงั ประสบ ลดปัญหา
ความขัดแย้งที่ประสบ
ประสบความสำเร็จ
ยตุ คิ วามขัดแย้งไดส้ ำเร็จด้วย ปญั หา ลดความขดั แย้งดว้ ย ลดความขัดแยง้ โดยการให้ผูอ้ นื่
ตนเองโดยใช้วธิ กี ารเชิงบวก
ตนเองโดยวิธกี ารเชิงบวก
ช่วยเหลือ
41
42 ตวั ชี้วัดที่ 5 ปรับตวั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงทางสงั คมและสภาพแวดล้อม
พฤติกรรมบ่งช
้ี ระดบั คณุ ภาพ
1. ติดตามข่าวสาร
ดีเยยี่ ม (3)
ดี (2)
พอใช้/ผา่ นเกณฑ์ข้ันต่ำ (1)
ปรบั ปรงุ (0)
เหตกุ ารณ์ปจั จุบันของ
ป ร ะ เ ม ิ น ส ม ร ร ถ น ะ ส ำ ค ั ญ ข อ ง ผ ู ้ เ ร ี ย น ร ะ ด ั บ ก า ร ศ ึ ก ษ า ข ั ้ น พื ้ น ฐ า น ต า ม ห ล ั ก ส ู ต ร
สังคม
ติดตามขา่ วสาร
ติดตามข่าวสาร
ตดิ ตามข่าวสาร และ ไม่สนใจในการตดิ ตาม
ขอ้ มลู ข่าวสารเหตุการณ์
คู่มอื แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
2. เข้าใจ ยอมรับ และ
ความเปลย่ี นแปลงทางสงั คมและ ความเปล่ียนแปลงทางสังคมและ เหตุการณ์ จากสื่อส่ิงพิมพ์ ปัจจุบันใดๆ
ปรับตัวต่อการ วทิ ยาการใหม่ๆ ทกุ ดา้ นจาก วทิ ยาการใหม่ๆทเ่ี ป็นประโยชน์ แล้วนำเสนอใหเ้ พ่อื นๆ รับรู้
เปลยี่ นแปลงทางสงั คม ส่อื ทีห่ ลากหลาย แลว้ นำมา ต่อการเรียนจากสือ่ แล้วนำมา ตามทค่ี รกู ำหนด
สภาพแวดลอ้ มอยา่ ง เสนอ สนทนา แลกเปลยี่ น เสนอให้เพ่ือนๆ รับรู้อย่าง
เหมาะสม
ความคิดกบั บคุ คลอื่นหรอื ผู้รู้ สมำ่ เสมอ
อย่างสมำ่ เสมอ
เขา้ ใจ ยอมรับ และปรบั ตวั ยอมรับความเปลย่ี นแปลงทาง รบั รคู้ วามเปลี่ยนแปลงทาง ไมร่ บั รู้ความเปลยี่ นแปลง
ต่อการเปลยี่ นแปลงทาง สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม ดำรงตนอยู่ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม ดำรงตน ของสงั คมสภาพแวดล้อม
สงั คม สงิ่ แวดล้อม ดำรงตน ร่วมกบั ผู้อื่นในสังคม ที่มีการ อยกู่ ับผูอ้ ่ืนในสงั คมได
้ หรือดำรงตนตามกระแส
อยรู่ ่วมกบั ผู้อน่ื ในสงั คม ทมี่ ี เปลย่ี นแปลงอย่างเหมาะสมกับ สงั คม ท่ีเปล่ียนแปลง
การเปล่ียนแปลงอยา่ ง
วฒั นธรรมไทย
เหมาะสมกบั วฒั นธรรมไทย
คู่มอื ประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร สมรรถนะท่ี 4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ (ต่อ)
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตัวช้วี ัดที่ 6 หลกี เลี่ยงพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน
พฤติกรรมบ่งช้
ี ดเี ยี่ยม (3)
ระดบั คุณภาพ
ดี (2)
พอใช้/ผา่ นเกณฑ์ขน้ั ตำ่ (1)
ปรับปรุง (0)
1. รูจ้ ักปอ้ งกัน หลกี เลี่ยง เปน็ ผ้มู พี ฤติกรรมต่อไปนี้
เป็นผ้มู ีพฤติกรรม ตามขอ้ 1-4 เปน็ ผมู้ พี ฤติกรรม ตามขอ้ 1-4
เป็นผมู้ พี ฤตกิ รรม
พฤตกิ รรมเส่ยี งต่อการ 1. ดแู ลสุขภาพรา่ งกายของตนตาม และ ขอ้ 5 หรือข้อ 6 หรอื
ไมค่ รบตามขอ้ 1-4
เกดิ ปญั หาสขุ ภาพ
หลกั ของสขุ บญั ญัต
ิ ขอ้ 7 ข้อใดข้อหน่งึ
การล่วงละเมดิ ทางเพศ 2. ไม่ใช้สารเสพติดใดๆทง้ั ส้นิ
อบุ ตั ิเหตุ สารเสพตดิ 3. ไม่ก่อเหตุทนี่ ำไปสกู่ ารทะเลาะ
และความรนุ แรง
ววิ าทและความรนุ แรง
4. ไมม่ พี ฤตกิ รรมทางเพศ
5. ประเมินสถานการณ์ คาดคะเน
ความเสี่ยงในสถานการณ์ต่างๆ อยเู่ สมอ
6. มีความยดื หยุ่นทางความคิด
7. มสี ขุ ภาพจิตที่ดี มมี มุ มองเชิงบวก
2. จดั การกบั อารมณ์และ ควบคมุ อารมณ์ โดยไมแ่ สดงความ ควบคมุ อารมณ์ โดยไมแ่ สดง ควบคุมอารมณ์ โดยไม่แสดง ควบคมุ อารมณ์ ความ
ความเครียดได้ด้วยวธิ ีการ ฉุนเฉยี วหรือไมพ่ อใจดว้ ยคำพดู ความฉนุ เฉยี วหรือไม่พอใจ ความฉุนเฉยี วหรอื ไมพ่ อใจ รสู้ กึ ของตนเองไม่ได้
ทเ่ี หมาะสม
กริ ิยาอาการตอ่ หน้าผูอ้ นื่ ใชเ้ วลาว่าง ดว้ ยคำพูด กิรยิ าอาการ
ด้วยคำพดู กริ ยิ าอาการ
แสดงอารมณ์ ความ
ในการปฏิบัตกิ ิจกรรมท่ีเปน็ ประโยชน์ ต่อหน้าผู้อ่นื ใชเ้ วลาวา่ งเพอื่ ตอ่ หนา้ ผ้อู น่ื เมือ่ มีผู้ชแ้ี นะ รู้สกึ ของตนเอง
เพ่ือผอ่ นคลายความเครียดได้
ผอ่ นคลายความเครียด
ท้วงตงิ
อยา่ ง ไม่เหมาะสม
43