The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rattanapinpe, 2022-08-01 03:11:05

สร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)

สร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)



คำนำ

แนวทางการดาเนินกิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen) เป็นกิจกรรมท่ีสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ร่วมมือกับสถาบันพระปกเกล้าดาเนินการจัดอบรมให้แก่ผู้บริหารและครู
เพ่ือให้เป็นแกนนาในโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษาและสานักงาน
เขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา (โครงการโรงเรียนสจุ ริต) ทีส่ ่งเสรมิ ให้นักเรยี นได้ศึกษา สารวจ สภาพปญั หาในโรงเรยี น
และชุมชน สารวจนโยบายสาธารณะอันเป็นสาเหตุของปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน มีการวิเคราะห์
สังเคราะห์ เพ่ือหาแนวทางและวิธีการแก้ปัญหา โดยผ่านข้ันตอนกระบวนการวิจัยอย่างมีเหตุผลมีหลักการ
เช่ือถือได้ ส่งผลให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในความเป็นพลเมืองและเกิดจิตสานึกในระบอบประชาธิปไตย
อนั มพี ระมหากษตั ริย์เปน็ ประมุข บนพืน้ ฐานของคณุ ลักษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรียนสุจริต คอื ทักษะ
กระบวนการคิด มีวินัย ซ่ือสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพียงและจิตสาธารณะ โดยให้นักเรียนปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
เพือ่ นาไปส่กู ารเป็นผู้ทีม่ คี วามรบั ผดิ ชอบในการทางานและสามารถอยู่รว่ มกันในสังคมอยา่ งมคี วามสุข

สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา หวังเป็นอย่างย่ิงวา่ เอกสารแนวทางการดาเนนิ กิจกรรม
สร้างสานกึ พลเมือง (Project Citizen) เลม่ นี้ คงจะเปน็ จะเปน็ ประโยชนต์ ่อโรงเรียนทเ่ี ข้ารว่ มโครงการโรงเรียน
สุจรติ และผ้เู กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ย

สานกั พฒั นานวตั กรรมการจัดการศึกษา
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

สำรบญั ข

คานา หน้า
สารบญั ก
กรอบแนวคิด ข
วตั ถปุ ระสงค์ ๑
แผนภมู ิแนวทางการดาเนนิ งานกจิ กรรมสรา้ งสานกึ พลเมอื ง (Project Citizen) ๑
แนวทางการดาเนนิ กิจกรรม ๒
การวัดและประเมนิ ผล ๓
การรายงานผลการดาเนนิ งานกิจกรรมสรา้ งสานึกพลเมอื ง (Project Citizen) ๔
การประกวดกิจกรรม/แลกเปลยี่ นเรียนรู้ ๕
กตกิ าการประกวดกจิ กรรมสรา้ งสานกึ พลเมอื ง (Project Citizen) ๖
คณะกรรมการประเมนิ ๖
บรรณานกุ รม ๗
ภาคผนวก ๑๔
๑๕
- แบบวดั และประเมนิ ผลกิจกรรมสรา้ งสานกึ พลเมือง (Project Citizen) ๑๖
- ตัวอยา่ งคูม่ ือการจดั โครงการสร้างสานึกพลเมอื ง (Project Citizen) ๑๘



๑. กรอบแนวคิด

ปัจจุบันสังคมไทยได้หันมาสนใจเร่ืองประชาธิปไตยกันอย่างกว้างขวางมากขึ้น ทั้งที่คาว่า
ประชาธิปไตยได้เกิดขึ้นมาอย่างยาวนานและในประวัติศาสตร์ชาติไทยเริ่มมีการเปล่ียนแปลงการปกครอง
ในรูปแบบประชาธิปไตยต้ังแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จนถึงวันนี้ ถ้าหากถามบุคคลทั่วไป
ว่า ประชาธิปไตย คือ อะไร... หลายคนคงตอบคาถามน้ีไม่ได้ ประกอบกับสภาพสังคมไทยในปัจจุบัน
ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่ายังมีคนจานวนหนึ่งท่ีอาศัยช่องว่างของประชาธิปไตย ช่องว่างของรัฐธรรมนูญอันเป็น
กฎหมายสูงสุดเพื่อหาผลประโยชน์ให้กับตนเองและพวกพ้องจนเกิดเป็นการทุจริตเชิงนโยบายและการขาด
ซึ่งคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในสังคม

โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษาและสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา (โครงการโรงเรียนสุจริต) จึงได้เกิดขึ้นเพ่ือสร้างเกราะป้องกันทางสังคม สร้างจิตสานึกในความเป็น
พลเมืองที่ดีในวิถีประชาธิปไตยขึ้นโดยปลูกฝังคุณลักษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรียนสุจริต คือ ทักษะ
กระบวนการคิด มีวินัย ซ่ือสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพียงและจิตสาธารณะ ให้กับเยาวชนซึ่งเป็นกาลังของชาติ
ในอนาคต จึงนากิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen) มาเป็นหน่ึงในกิจกรรมเพ่ือสร้างความเป็น
พลเมอื งดีของชาติ

การมีส่วนร่วมในการปกครองอันมีประชาชนเป็นผู้ขับเคลื่อนการปกครองรูปแบบน้ี จาเป็นต้องให้
ประชาชนทุกคนมีความเสมอภาค เสรีภาพและมีส่วนร่วมในการปกครอง ออกนโยบายสาธารณะ ตรวจสอบ
การทางานของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หน่วยงานของรัฐเห็นประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลัก ซึ่งจาเป็นต้อง
ได้รับการศึกษา ปลูกฝังความมีจิตสาธารณะ เรียนรู้เพ่ือให้เกิดความเข้าใจอย่างแท้จริง กระบวนการ
ประชาธิปไตยจึงจะดาเนินไปได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ การจัดกิจกรรมเพ่ือสร้างสานึกพลเมือง (Project
Citizen) เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการท่ีออกแบบให้นักเรียนในโรงเรียนได้มีส่วนร่วมใน
การแก้ปัญหาสาธารณะ โดยมุ่งเน้นท่ีผู้เรียนเป็นหลัก ในการเสนอแนวคิด นโยบายเพ่ือแก้ไขวิธีการเรียนรู้
อย่างมีส่วนร่วม การคิดเชิงวิพากย์และการแก้ปัญหาตัดสินใจ มีรูปแบบการประเมินท่ีเช่ือถือได้ ให้ความรู้โดย
มุ่งเน้นทกี่ ระบวนการของหน่วยงานของรัฐในระดับท้องถน่ิ และจังหวดั การเรียนรู้มุ่งเน้นในเรื่องเกย่ี วกับภาครัฐ
ในชุมชน สอนนักเรียนให้รู้วิธีตรวจสอบ ติดตาม ปรับปรุง แก้ไขและพัฒนานโยบายสาธารณะ ตามวิถี
ประชาธิปไตย เป็นการเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนการมากกว่าการท่องจา จัดเป็นการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) มุ่งให้เกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 ก่อให้เกิดลักษณะอุปนิสัยและทักษะความสามารถเชิงสมรรถนะ
ท่ีช่วยให้คุณสามารถทางานและส่ือสารกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Soft Skills) ท้ังยังสร้างนิสัยของผู้มี
ประสทิ ธภิ าพสงู (High Performance Habits) อีกดว้ ย

๒. วตั ถุประสงค์

๒.๑ เพอื่ ให้ครูและนักเรยี นมีความรู้ความเข้าใจการดาเนินงานกิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง (Project
Citizen)

๒.๒ เพอ่ื ให้นักเรยี นมีคณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรยี นสุจรติ
๒.๓ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นเป็นพลเมืองทม่ี ีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม



แผนภมู ิแนวทางการดาเนินงานกจิ กรรมสร้างสานึกพลเมอื ง (Project Citizen)
ใหน้ ักเรยี นเกดิ คณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรยี นสจุ ริต

กำรดำเนินกิจกรรม
สรำ้ งสำนึกพลเมือง (Project Citizen)

แตง่ ตัง้ บคุ ลำกรรบั ผิดชอบกำรดำเนนิ กจิ กรรม

จดั ทำแผนประชำสัมพันธ์
กำหนดปฏทิ นิ กำรจดั กจิ กรรม

สร้ำงควำมรู้ควำมเขำ้ ใจให้ครู นโยบายสาธารณะ public policy
แจง้ ผูป้ กครองใหท้ รำบ
ครูจัดกิจกรรม 6 ข้นั ตอน ขั้นตอนท่ี ๑ การระบปุ ญั หานโยบายสาธารณะ
นเิ ทศ กำกบั ติดตำม ในชมุ ชนของเรา
ขั้นตอนที่ ๒ การคัดเลือกหน่ึงปญั หา
ไมผ่ า่ น วดั และประเมิน ขั้นตอนท่ี ๓ การรวบรวมขอ้ มูลเกีย่ วกบั ปัญหาที่
นักเรียน จะศึกษา

๑. การรวบรวมข้อมลู
๒. ตรวจสอบนโยบายทางเลือก
๓. นาเสนอและพัฒนานโยบายสาธารณะของตน
๔. พัฒนาแผนปฏิบตั กิ าร
ขน้ั ตอนท่ี ๔ การพัฒนาแฟม้ ผลงานของชั้นเรยี น
ขน้ั ตอนท่ี ๕ การนาเสนอแบบปากเปล่าด้วย
แฟ้มผลงานและผงั นทิ รรศการ
ขน้ั ตอนท่ี ๖ สรุป ประเมินผลและสะทอ้ น
ประสบการณ์

ผา่ น

รำยงำนผลกำรดำเนนิ งำน



๓. แนวทางการดาเนนิ กิจกรรม

โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษาและ
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา (โครงการโรงเรียนสุจริต) กิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen)
ตอ้ งดาเนนิ การตามขนั้ ตอน ดงั นี้

๓.๑ แตง่ ต้งั บุคลากรรับผดิ ชอบการดาเนนิ กิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen) ไดแ้ ก่
๓.๑.๑ คณะกรรมการท่ีปรึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้ากิจกรรม

พัฒนาผู้เรียน
๓.๑.๒ คณะกรรมการดาเนินกจิ กรรม ประกอบดว้ ย
๑) ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการและคณะ จานวน ๓-๕ คน หรอื
๒) ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะกรรมการ ป.ป.ช.สพฐ.น้อย หรือ คณะกรรมการ

ป.ป.ช.สพฐ.ชุมชน
๓.๒ จัดทาแผนประชาสัมพันธ์และให้ความรู้แก่ครู บุคลากร นักเรียน คณะกรรมการ ป.ป.ช.

สพฐ.น้อย และคณะกรรมการ ป.ป.ช.สพฐ.ชุมชน เกี่ยวกับการดาเนินกิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง (Project
Citizen)

๓.๓ กาหนดปฏทิ ินการจัดกจิ กรรมสรา้ งสานึกพลเมอื ง (Project Citizen)
๓.๔ สร้างความรู้ความเข้าใจให้ครูมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการจัดกิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง
(Project Citizen) โดยใช้คู่มือแนวทางการดาเนนิ การสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen)
๓.๕ แจง้ ผปู้ กครองใหท้ ราบเกีย่ วกับการดาเนินกจิ กรรมสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen)
๓.๖ ครูดาเนินกจิ กรรมสร้างสานกึ พลเมือง (Project Citizen) ให้นักเรยี นเกดิ คุณลักษณะ
๕ ประการของโครงการโรงเรียนสจุ ริต ๖ ข้นั ตอน อยา่ งน้อย ๑ ภาคเรยี น

๓.6.1 การระบุปัญหานโยบายสาธารณะในชุมชนของเรา
๓.6.2 การคัดเลือกหนึง่ ปญั หา
๓.6.3 การรวบรวมข้อมลู เก่ียวกบั ปัญหาท่ีจะศึกษา
๓.6.4 การพฒั นาแฟม้ ผลงานของช้นั เรียน
๓.6.5 การนาเสนอแบบปากเปล่าดว้ ยแฟม้ ผลงานและผังนิทรรศการ
๓.6.6 สรปุ ประเมินผลและสะท้อนประสบการณ์
๓.๗ นิเทศ กากับ ตดิ ตาม การจดั กิจกรรมสรา้ งสานกึ พลเมือง (Project Citizen) โดยคณะกรรมการ
ทไ่ี ด้รับการแต่งตงั้ จากโรงเรียนหรอื สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา
๓.๘ วดั และประเมนิ ผลนกั เรียนเกย่ี วกับกิจกรรมสรา้ งสานกึ พลเมอื ง (Project Citizen)
และคุณลกั ษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรียนสจุ รติ
๓.๙ รายงานผลการดาเนินกิจกรรม



๔. การวดั และประเมนิ ผล

เพ่ือให้ทราบผลการดาเนินกิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen) โรงเรียนต้องวัดและ
ประเมนิ ผล ดังนี้

วตั ถปุ ระสงค์ วิธีวัด เคร่อื งมือวดั เกณฑก์ ารตัดสนิ
๑) เพือ่ ใหค้ รแู ละนักเรียนมีความรู้  ทดสอบความรู้  แบบทดสอบ ผ่านการประเมิน
ความเข้าใจการดาเนนิ งานกจิ กรรม ความรู้ รอ้ ยละ ๘๐
สรา้ งสานกึ พลเมือง (Project  สังเกตพฤติกรรม
Citizen)  ตรวจสอบเอกสาร  แบบสังเกต ผา่ นการประเมิน
๒) เพ่อื ให้นักเรยี นมีคุณลกั ษณะ  ประเมนิ ผลกิจกรรม พฤติกรรม ร้อยละ ๘๐
๕ ประการของโครงการโรงเรยี น สรา้ งสานกึ พลเมือง  แบบตรวจสอบ
สจุ รติ (Project Citizen) เอกสาร ผา่ นการประเมิน
 แบบวดั และ รอ้ ยละ ๘๐
๓) เพอ่ื ให้นักเรยี นเปน็ พลเมืองทม่ี ี  ตรวจสอบแฟม้ ประเมนิ ผลกิจกรรม
ความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ผลงานและการ สร้างสานกึ พลเมือง
นาเสนอปากเปล่า (Project Citizen)
 แบบประเมนิ แฟ้ม
ผลงานและนาเสนอ
ปากเปลา่

ความสอดคลอ้ งกบั คณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรียนสจุ ริต

การดาเนินกิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen) เพื่อปลูกฝังคุณลักษณะ ๕ ประการของ
โครงการโรงเรียนสุจริต คือ ทักษะกระบวนการคิด มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพียง และจิตสาธารณะ
ตามตารางวิเคราะหค์ วามสอดคล้อง

ตัวอย่างการวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งคุณลักษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรียนสจุ ริต

กจิ กรรมสรา้ งสานึกพลเมือง (Project Citizen) คุณลักษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรยี นสจุ รติ

ขนั้ ตอนท่ี ๑ การระบุปญั หานโยบายสาธารณะ  ทักษะกระบวนการคิด
ในชมุ ชนของเรา  จติ สาธารณะ
 ทกั ษะกระบวนการคิด
ขน้ั ตอนท่ี ๒ การคัดเลือกหนึง่ ปญั หา  มีวินยั
 จติ สาธารณะ
 ซอื่ สตั ยส์ ุจริต



กจิ กรรมสรา้ งสานึกพลเมอื ง (Project Citizen) คุณลกั ษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรียนสุจรติ
ขั้นตอนที่ ๓ การรวบรวมข้อมูลเก่ยี วกบั ปญั หาทจ่ี ะ
 ทกั ษะกระบวนการคดิ
ศกึ ษา  มวี ินัย
 ซ่ือสตั ยส์ ุจริต
ข้ันตอนท่ี ๔ การพัฒนาแฟ้มผลงานของนกั เรยี น  อยู่อยา่ งพอเพยี ง
 จติ สาธารณะ
ขั้นตอนที่ ๕ การนาเสนอแบบปากเปลา่ ด้วยแฟม้ และ
ผงั นิทรรศการ  ทักษะกระบวนการคดิ
 มีวินัย
ข้ันตอนที่ ๖ สรุป ประเมินผลและสะท้อนจาก  ซ่ือสัตยส์ ุจริต
ประสบการณ์  อยู่อย่างพอเพียง

 ทักษะกระบวนการคดิ
 มีวินยั
 จติ สาธารณะ

 ทกั ษะกระบวนการคิด
 มีวนิ ยั
 ซ่ือสตั ย์สจุ ริต
 อยอู่ ย่างพอเพียง
 จิตสาธารณะ

๕. การรายงานผลการดาเนนิ งานกจิ กรรมสรา้ งสานกึ พลเมอื ง (Project Citizen)

โรงเรียนท่ีดาเนินกิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen) และรายงานผลการดาเนินงาน
โดยใช้รูปแบบของการรายงาน (ไมเ่ กิน ๒๐ หน้า ไม่รวมภาคผนวก) มีองค์ประกอบ ดงั น้ี

๑. ชื่อรายงาน
๒. ช่อื ผู้รายงาน
๓. หลกั การและเหตุผล
๔. วตั ถปุ ระสงค์
๕. ขอบเขตของการดาเนินงาน
๖. วธิ กี ารดาเนินงาน
๖. ผลการดาเนินงาน
๗. ความสอดคล้องกบั คณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรียนสจุ ริต
๘. เอกสารอา้ งอิง
๙. ภาคผนวก



๖. การประกวดกจิ กรรม/แลกเปล่ียนเรียนรู้

๖.๑ ระดับโรงเรียน นาเสนอผลการดาเนินงานกิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen)
ในโอกาสต่าง ๆ เช่น กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นิทรรศการทางวิชาการ Open House และคัดเลือก
ตน้ แบบกจิ กรรมสรา้ งสานกึ พลเมือง (Project Citizen) ของโรงเรยี น เผยแพร่ในระดับท่ีสงู ข้นึ ตอ่ ไป

๖.๒ ระดับสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ นาเสนอผลงานและประกวด
แข่งขันกิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen) และคัดเลือกโรงเรียนท่ีมีผลการจัดกิจกรรมดีเด่น
เผยแพรใ่ นระดบั ท่สี ูงขนึ้ ต่อไป

๖.๓ ระดบั ภูมภิ าค จดั กิจกรรมแลกเปล่ยี นเรียนรู้ นาเสนอผลงานและประกวดแข่งขันกิจกรรมสร้าง
สานึกพลเมือง (Project Citizen) และคัดเลือกโรงเรียนที่มีผลการจัดกิจกรรมดีเด่นเผยแพร่ในระดับท่ีสูงข้ึน
ตอ่ ไป

๖.๔ ระดับประเทศ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นาเสนอผลงานและประกวดแข่งขันกิจกรรมสร้าง
สานึกพลเมอื ง (Project Citizen) และคดั เลอื กโรงเรยี นท่มี ผี ลการจดั กิจกรรมดเี ด่นเผยแพรส่ ู่สาธารณชน

๗. กติกาการประกวดกจิ กรรมสรา้ งสานึกพลเมือง (Project Citizen)
๗.๑ การจัดทาแฟ้มผลงาน
๗.๑.๑ แฟม้ ผลงานเป็นแฟ้มลกั ษณะปกแขง็ หนา ไมจ่ ากดั สี
๗.๑.๒ แฟม้ ผลงานขอบหนา ๒ น้วิ สามหว่ ง ไมจ่ ากัดจานวนหนา้
๗.๑.๓ แฟม้ ผลงานดา้ นหน้าต้องบอกชอ่ื ผลงานและสถานศกึ ษา
๗.๑.๔ การเรียงเอกสารภายในต้องเรียงตามลาดับขั้นตอนการทากิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง

(Project Citizen)
๗.๑.๕ ภายในแฟ้มผลงานต้องแสดงหลักฐานร่องรอยการปฏิบัติกิจกรรมให้ชัดเจน สวยงาม

ศกึ ษาเอกสารได้งา่ ย
๗.๒ การนาเสนอผลงานปากเปลา่
๗.๒.๑ ขนาด ฟิวเจอรบ์ อร์ดหนา ๓ มิลลิเมตร (mm) ขนาด ๖๕ x ๑๒๒ เซนตเิ มตร (cm)

จานวน ๔ แผ่น พร้อมไมช้ ี้ของแต่ละบอรด์
๗.๒.๒ ไมค่ วรตอ่ เตมิ ขนาดหรอื มีวัสดุอนื่ ใดในการตกแต่งเพ่ิมเติมที่เกนิ จากขนาดท่กี าหนด
๗.๒.๓ อนญุ าตใหม้ กี ารตกแต่งใหส้ วยงาม
๗.๒.๔ ไม่จากัดสขี องฟิวเจอรบ์ อร์ด
๗.๒.๕ ฟวิ เจอร์บอรด์ ท่มี านาเสนอตอ้ งเรียงตามลาดบั เน้ือหาตามข้ันตอน (Project Citizen)
๗.๒.๖ ผู้ท่ีนาเสนอผลงานกิจกรรมการสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen) จานวน ๔ คน

ทาหน้าทนี่ าเสนอและช้ีตามหวั ขอ้ ท่ีนาเสนอในแต่ละบอรด์
๗.๒.๗ นาเสนอผลงานไม่เกิน ๔ นาทแี ละคณะกรรมการ ซักถามประเดน็ ต่าง ๆ ทน่ี าเสนอไม่เกิน

๖ นาที รวมเป็นเวลาทงั้ หมด ๑๐ นาที
๗.๒.๘ ระหว่างการซักถามให้ผนู้ าเสนอสามารถช่วยกนั ตอบข้อซักถามได้
๗.๒.๙ การแต่งกายของผนู้ าเสนอ ให้แต่งกายชดุ สุภาพเรยี บร้อย
๗.๒.๑๐ การนาเสนอ เจ้าหน้าท่ีจับเวลาและแสดงป้ายบอกเวลาเม่ือผ่านไป ๓ นาที “เหลือเวลา

๑ นาท”ี และเม่ือผ่านไป ๔ นาที “หมดเวลา” พรอ้ มเสียงกริ่ง



๗.๒.๑๑ การซักถามของคณะกรรมการ มีเจ้าหน้าท่ีจับเวลาและแสดงป้ายบอกเวลาเมื่อผ่านไป
๕ นาที “เหลือเวลา ๑ นาที” และเมอ่ื ผ่านไป ๖ นาที “หมดเวลา” พรอ้ มเสียงกริ่ง

๘. คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน มีจานวน ๖ คน มีหน้าท่ีตัดสินการนาเสนอกิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง
(Project Citizen) ตามเกณฑ์การประเมินกาหนด ดังน้ี

๘.๑ คณะกรรมการ ๓ คน ประเมินแฟม้ ผลงาน
๘.๒ คณะกรรมการ ๓ คน ประเมินการนาเสนอปากเปล่า



แบบประเมินแฟ้มผลงานกจิ กรรมสรา้ งสานกึ พลเมอื ง (Project Citizen)

ทีมลาดบั ท…่ี …………………..โรงเรียน………..................…………………………………………………………………
สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา ............................................................................. เขต ..............................
ระดับชัน้ เรยี น…………………………………………………….................................................................................
ปญั หา…………………………………………………...............................................................................................

หัวข้อการประเมนิ ประเดน็ การพจิ ารณา คะแนน

๑.สภาพปญั หา ๑. ระบุปัญหาได้ตรงประเด็นสอดคล้องกับปัญหาที่วิกฤตในชุมชน

(๕ คะแนน) จริง

๒. สาเหตุสอดคล้องกับปัญหา มขี ้อมลู อ้างอิง เชื่อถอื ได้

๓. ผลกระทบสะท้อนให้เห็นถึงความรุนแรงของปัญหาที่วิกฤตใน

ชมุ ชนจริง

๔. ปญั หาสามารถนาไปกาหนดนโยบายสาธารณะได้

๕. รปู ภาพ/สถติ ิ สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหา มแี หล่งทีม่ าเชอ่ื ถือได้

๒ . ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ๑. ความเหมาะสมของนโยบายสาธารณะในการแกป้ ญั หา

นโยบายสาธารณะ ๒. นโยบายสาธารณะครอบคลุมทุกระดับ

(๕ คะแนน) ๓. นโยบายสาธารณะมีแหลง่ ท่ีมาเชอื่ ถอื ไดม้ ีเหตผุ ลสนับสนนุ

๔. มเี หตผุ ลสนบั สนนุ ข้อมลู ชดั เจน ตรงประเด็น

๕. ระบุข้อดีและข้อจากัดของนโยบาย

๓.นโยบายของ ๑. มคี วามเป็นไปได้ ในการปฏิบตั ิกจิ กรรม

ชัน้ เรียน ๒. สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่นาเสนอ

(๕ คะแนน) ๓. สามารถบรรลผุ ลโดยมีหนว่ ยงานรัฐรับไปดาเนินการ

๔. ไม่ขดั ต่อรัฐธรรมนูญ

๕. ข้อมูลมคี วามชัดเจน เขา้ ใจงา่ ย

๔.แผนปฏบิ ตั ิการ ๑. มแี นวทางการดาเนนิ งานในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมชดั เจน

(๕ คะแนน) ๒. สามารถนาไปปฏบิ ัติไดจ้ ริง

๓. กิจกรรมการดาเนินงานมสี ่วนรว่ มระหวา่ งภาครัฐและชุมชน

๔. มกี ารประเมนิ และวดั ผลการดาเนนิ งานทแ่ี สดงถงึ ผลสาเรจ็

๕. มีรปู ภาพประกอบชดั เจน สอดคลอ้ งการแก้ปัญหาได้

๕. การดาเนินงาน ๑. ข้อมูลเปน็ ไปตามลาดับการนาเสนอถกู ตอ้ ง ชัดเจน เขา้ ใจง่าย

จดั ทาแฟ้มผลงาน ๒. มีรูปภาพประกอบชัดเจน สะท้อนถึงกระบวนการดาเนินงานทกุ

(๕ คะแนน) ข้นั ตอน

๓. รเิ ริ่มสร้างสรรคโ์ ดยนักเรียน

๔. นโยบายแสดงให้เห็นถึงความร่วมมือในการทางานส่งผลดีต่อ

ชุมชน

๕. บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ

รวม ๒๕ คะแนน

( นาคะแนนท่ไี ด้ x ๒ ) รวม ๕๐ คะแนน



เกณฑก์ ารพิจารณาระดับคุณภาพในแต่ละหัวขอ้ การประเมนิ

คาอธิบายระดบั คุณภาพ คะแนน
มขี อ้ มูลตามประเด็นการพิจารณา ๕ รายการ ๕
มขี อ้ มูลตามประเด็นการพิจารณา ๔ รายการ ๔
มีขอ้ มูลตามประเด็นการพิจารณา ๓ รายการ ๓
มขี อ้ มลู ตามประเด็นการพจิ ารณา ๒ รายการ ๒
มขี อ้ มูลตามประเด็นการพิจารณา ๑ รายการ ๑

ขอ้ เสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………...............................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงช่ือ ............................................ ผู้ประเมิน
(.......................................................)

วันที่ ............ เดือน .......................... พ.ศ. ...............

๑๐

แบบประเมนิ ปากเปล่ากจิ กรรมสรา้ งสานกึ พลเมือง (Project Citizen)

ทมี ลาดับท…ี่ …………………..โรงเรียน………..................……………………………………………………………..
สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา ............................................................................ เขต ...........................
ระดบั ชั้นเรียน………………………………………………...................................................................................
ปัญหา…………………………………………………............................................................................................

หัวข้อการประเมิน ประเดน็ การพจิ ารณา คะแนน

๑.สภาพปัญหา ๑. ระบุปัญหาได้ตรงประเด็นสอดคล้องกับปัญหาที่วิกฤตในชุมชน

(๕ คะแนน) จริง

๒. สาเหตสุ อดคลอ้ งกบั ปญั หา มขี อ้ มลู อ้างอิง เชื่อถอื ได้

๓. ผลกระทบสะท้อนให้เห็นถึงความรุนแรงของปัญหาที่วิกฤตใน

ชมุ ชนจริง

๔. ปญั หาสามารถนาไปกาหนดนโยบายสาธารณะได้

๕. รปู ภาพ/สถติ ิ สอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หา มแี หลง่ ท่มี าเชื่อถือได้

๒ . ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ๑. ความเหมาะสมของนโยบายสาธารณะในการแกป้ ญั หา

นโยบายสาธารณะ ๒. นโยบายสาธารณะครอบคลุมทุกระดับ

(๕ คะแนน) ๓. นโยบายสาธารณะมีแหลง่ ทีม่ าเช่ือถอื ไดม้ เี หตผุ ลสนับสนนุ

๔. มีเหตผุ ลสนับสนนุ ขอ้ มูลชัดเจน ตรงประเดน็

๕. ระบขุ ้อดแี ละขอ้ จากัดของนโยบาย

๓.นโยบายของ ๑. มีความเป็นไปได้ ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม

ชั้นเรยี น ๒. สอดคล้องกบั สภาพปญั หาทีน่ าเสนอ

(๕ คะแนน) ๓. สามารถบรรลผุ ลโดยมหี นว่ ยงานรัฐรับไปดาเนินการ

๔. ไมข่ ดั ต่อรฐั ธรรมนญู

๕. ขอ้ มลู มีความชัดเจน เข้าใจง่าย

๔.แผนปฏบิ ตั กิ าร ๑. มีแนวทางการดาเนนิ งานในการปฏิบัติกจิ กรรมชดั เจน

(๕ คะแนน) ๒. สามารถนาไปปฏิบตั ิไดจ้ รงิ

๓. กจิ กรรมการดาเนนิ งานมีสว่ นรว่ มระหวา่ งภาครฐั และชมุ ชน

๔. มกี ารประเมินและวดั ผลการดาเนนิ งานท่แี สดงถงึ ผลสาเรจ็

๕. มรี ูปภาพประกอบชดั เจน สอดคลอ้ งการแก้ปญั หาได้

๕. การนาเสนอผลงาน ๑. บคุ ลกิ ภาพ น้าเสียงแสดงให้เหน็ ถึงความมน่ั ใจ
๒. ตอบปัญหาไดต้ รงประเด็น
(๕ คะแนน)
๓. นาเสนอสะท้อนถึงกระบวนการดาเนินงานที่ชัดเจนครบตาม

ประเดน็

๔. จัดผังนทิ รรศการนาเสนอไดน้ า่ สนใจ ชดั เจน

๕. นาเสนอได้ตามเวลาทกี่ าหนด

รวม ๒๕ คะแนน

( นาคะแนนทีไ่ ด้ x ๒ ) รวม ๕๐ คะแนน

๑๑

เกณฑ์การพจิ ารณาระดับคุณภาพในแตล่ ะหัวข้อการประเมนิ

คาอธบิ ายระดับคุณภาพ คะแนน
มีขอ้ มลู ตามประเด็นการพจิ ารณา ๕ รายการ ๕

มีขอ้ มูลตามประเดน็ การพจิ ารณา ๔ รายการ ๔
มขี ้อมูลตามประเด็นการพิจารณา ๓ รายการ ๓
มขี ้อมูลตามประเด็นการพจิ ารณา ๒ รายการ ๒

มีขอ้ มูลตามประเดน็ การพิจารณา ๑ รายการ ๑

ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………...............................................................................................
.............................................................................................................................................................

ลงชือ่ ................................................... ผปู้ ระเมิน
(.......................................................)

วนั ที่ ............ เดือน ................................ พ.ศ. ...............

๑๒

ผลรวมคะแนนประเมินแฟ้มผลงาน
และการนาเสนอปากเปล่ากิจกรรมสรา้ งสานึกพลเมอื ง (Project Citizen)

ค ะแน น นาเสนอ คะแนนนาเสนอ
แฟ้ม ปากเปลา่
กรรมการ ี่ท 1 (๕๐ คะแนน)
ที่ ชอื่ ผลงาน กรรมการ ่ีท ๒ (๕๐ คะแนน)
โรงเรยี น กรรมการ ี่ท ๓ (๕๐ คะแนน)
รวมคะแนน
กรรมการ ่ีท 1 (๕๐ คะแนน)
กรรมการ ี่ท ๒ (๕๐ คะแนน)
กรรมการ ่ีท ๓ (๕๐ คะแนน)
รวมคะแนน
รวมคะแนน (นาเสนอแ ้ฟมและปาก
เป ่ลา)
ค่าเฉ ่ีลยคะแนนรวม (๑๐๐ คะแนน)
เกณฑ์ระ ัดบ ุคณภาพ










๑๐
๑๑
๑๒

หมายเหตุ นาคะแนนของคณะกรรมการท้ังหมดมาหาค่าเฉลี่ย แล้วนามาเทียบกับระดับเกณฑ์คุณภาพเป็น
ผลการตดั สนิ

ลงชื่อ ......................................................... ผูป้ ระเมนิ
(.......................................................)

วันที่ ............ เดือน .......................................... พ.ศ. ...............

๑๓

เกณฑ์ระดับคุณภาพ

การพจิ ารณาคะแนนรวมทุกรายการ มีเกณฑค์ ณุ ภาพผลงาน ดังน้ี

- ผลงานท่มี คี ณุ ภาพ ดเี ยยี่ ม ได้คะแนน ๙๑ - ๑๐๐ คะแนน

- ผลงานทม่ี ีคุณภาพ ดีมาก ได้คะแนน ๘๑ - ๙๐ คะแนน
คะแนน
- ผลงานทมี่ ีคณุ ภาพ ดี ไดค้ ะแนน ๗๑ - ๘๐
คะแนน
- ผลงานที่มคี ณุ ภาพ พอใช้ ได้คะแนน ๖๑ - ๗๐ คะแนน

- ผลงานท่ีมีคุณภาพ ควรพัฒนาเพ่มิ เติม ไดค้ ะแนน น้อยกว่า ๖๑

เกณฑ์ระดับการใหร้ างวลั ๕ ระดับ รายละเอยี ดดังน้ี

- คะแนน คะแนน คะแนน ระดบั รางวัล
- คะแนน คะแนน
๙๑ - ๑๐๐ เหรียญทอง
- คะแนน ๘๑ - ๙๐ คะแนน เหรยี ญเงิน
- คะแนน คะแนน
๗๑ - ๘๐ เหรยี ญทองแดง
- คะแนน ๖๑ - ๗๐ คะแนน ชมเชย

น้อยกวา่ ๖๑ เขา้ รว่ มกจิ กรรม

๑๔

บรรณำนุกรม

สถาบันพระปกเกล้า. (ม.ป.ป). โครงการสร้างสานึกพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า. กรุงเทพฯ: ส เจริญ
การพมิ พ์.

อังสนา พไิ สยสามนตเ์ ขต. (ม.ป.ป). คมู่ ือกจิ กรรม Project citizen การศกึ ษาเพ่ือสรา้ งความเป็นพลเมือง
(civic Education). กรุงเทพฯ : โรงเรียนราชวินิตมธั ยม.

๑๕

ภำคผนวก

๑๖

แบบวัดและประเมนิ ผลกจิ กรรมสรา้ งสานกึ พลเมอื ง (Project Citizen)

ของโครงการโรงเรยี นสุจริต

การดาเนินงานกิจกรรมสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen) ของโครงการโรงเรียนสุจริต เพื่อให้
ทราบผลการดาเนนิ งานโรงเรียน ต้องดาเนนิ การวัดผลและประเมนิ ผล ดงั ต่อไปน้ี

รายการประเมนิ ดีเยย่ี ม ระดบั คุณภาพ ควรพฒั นา
ดมี าก ดี พอใช้
๑. ทกั ษะดา้ นความรู้ (Knowledge Skills)
๑.๑ มคี วามร้ใู นการดาเนินงานกิจกรรมสร้างสานกึ พลเมอื ง
๑.๒ ใชค้ วามรู้จากทฤษฎีสู่การปฏบิ ัติ
๑.๓ สื่อสารถา่ ยทอดความรไู้ ด้
๑.๔ มที กั ษะในการรวบรวมความร้แู ละสรา้ งองคค์ วามรไู้ ด้
๒. ทักษะด้านความคดิ (Thinking Skills)
๒.๑ สามารถคดิ อย่างมีวิจารณญาณและคิดไดอ้ ย่างเปน็ อสิ ระ
๒.๒ สามารถคิดไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์และมจี นิ ตนาการ
๒.๓ สามารถคิดหาวิธแี ก้ปญั หาได้
๒.๔ สามารถสรุปและประเมนิ ผลงานตนเอง

๓. ทกั ษะส่วนบุคคล (Personal Skills)
๓.๑ สามารถทางานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ ได้
๓.๒ สามารถวางแผนการทางานได้
๓.๓ สามารถทางานได้อย่างมีขนั้ ตอนเปน็ ระบบ
๓.๔ มนี ิสยั ใฝเ่ รยี นใฝร่ อู้ ย่างตอ่ เน่ือง

๔. คณุ ลักษณะส่วนบุคคล (Personal Attributers)
๔.๑ มวี ินยั เอ้ือเฟ้อื เสียสละ
๔.๒ มคี วามซือ่ สตั ย์ คดิ สร้างสรรค์
๔.๓ มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและผ้อู น่ื
๔.๔ มคี วามพอเพยี งและจิตสาธารณะ

๕. ทกั ษะภาคปฏบิ ัติ (Practical Skills)
๕.๑ สามารถรวบรวมและเรยี บเรียงข้อมลู ท่ตี ้องการได้
๕.๒ สามารถวเิ คราะห์และอภปิ รายผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ได้
๕.๓ สามารถรายงานผลของการดาเนนิ งานได้
๕.๔ สามารถประยุกตค์ วามรไู้ ปใช้ในสถานการณใ์ หมไ่ ด้
รวม

ขอ้ เสนอแนะ.........................................................................................................................................................
...................................................................................................... ........................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื ............................................................ ผู้ประเมิน
(.............................................................)

วนั ที่............เดือน............................พ.ศ...............

๑๗

เกณฑ์การประเมิน หมายถึง ดเี ย่ยี ม
คะแนน ๙๑ - ๑๐๐ หมายถงึ ดมี าก
คะแนน ๘๑ – ๙๐ หมายถึง ดี
คะแนน ๗๑ – ๘๐ หมายถึง พอใช้
คะแนน ๖๑ - ๖๐ หมายถึง ควรพัฒนาเพมิ่ เตมิ
คะแนน น้อยกวา่ ๖๑

๑๘

(ตวั อยา่ ง)
คมู่ ือการจดั โครงการสร้างสานึกพลเมือง

(Project Citizen)

การศกึ ษาเพ่ือสรา้ งความเป็นพลเมอื ง (Civic Education)
โดย นางอังสนา พิไสยสามนต์เขต

โรงเรียนราชวินติ มัธยม สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๑

๑๙

บทนา

การศกึ ษาเพอื่ สร้างความเป็นพลเมือง (Civic Education) เปน็ การนากระบวนการเรียนรู้
ตามโครงการสร้างสานึกพลเมือง สู่หลักสูตรการศึกษา เพื่อสร้างความเป็นพลเมือง และพลโลกให้นักเรียน
เกดิ คณุ ลักษณะ ๕ ประการ ของโครงการโรงเรียนสจุ รติ คือ ทกั ษะกระบวนการคดิ มีวนิ ยั ซือ่ สตั ยส์ ุจรติ อยู่
อยา่ งพอเพียงและจติ สาธารณะ

โครงการสร้างสานึกพลเมือง (Project Citizen) เป็นแนวทางพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ
ในความเป็นพลเมืองและการพัฒนาประชาธิปไตยด้วยการมีจิตสานึก มีจิตวิญญาณประชาธิปไตย โดยเน้นให้
ผู้เรียนได้เรียนรู้การเข้ามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาชุมชน เพื่อนาเสนอต่อองค์กรภาครัฐที่เก่ียวข้องเพ่ือนา
นโยบายไปบังคับใช้ เป็นการเสริมสร้างจิตสานึกสาธารณะและการเป็นพลเมืองที่ดีในระบอบประชาธิปไตย
อย่างบูรณาการในรูป “กระบวนการคิด วิเคราะห์” และ “การลงมือปฏิบัติ” เป็นการเชื่อมโยงการเรียนรู้กับ
ประสบการณ์จริงในวิถีชีวิต ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เพ่ือท่ีจะสามารถนาพาให้นักเรียนบรรลุ
วตั ถุประสงคข์ องการศึกษาในปัจจบุ นั ได้

ความเป็นพลเมือง
คาว่าพลเมืองมาจากสองคาท่ีประกอบกัน คือ “พละ+เมือง” ซึ่งพละแปลว่า กาลัง พลัง เม่ือนามา

บวกกับคาว่า “เมือง” จึงหมายถึงผู้ที่เป็นกาลังของบ้านเมือง รวมตัวกันทาเร่ืองดี ๆ เพ่ือบ้านเมือง สามารถ
พึ่งพาตนเองได้ ไม่ใช่ผู้ที่มีบทบาทหน้าที่ เพียงแค่รับคาสั่งจากผู้ปกครอง แต่ยังหมายถึง ผู้ท่ีคิดริเริ่ม รวมตัวกัน
ทาเร่อื งดี ๆ เพอื่ ชว่ ยให้สังคมและประเทศชาติ มคี วามเจริญ ในฐานะ “พละกาลงั ของบ้านเมือง”

นโยบายสาธารณะ
นโยบายสาธารณะ เป็นข้อตกลงทีห่ น่วยงานภาครฐั ในแตล่ ะระดบั จะต้องดาเนนิ การตาม ความ

รับผิดชอบให้สาเร็จ เช่น การปกป้องสิทธิส่วนบุคคล และส่งเสริมสวัสดิการของประชาชนทุกคน นโยบาย
สาธารณะ บางฉบับ ไดต้ ราออกมาเปน็ กฎและระเบียบ ซึ่งจัดทาโดยส่วนบรหิ ารของหนว่ ยงานรัฐ สว่ นต่าง ๆ
ท่ีรบั ผิดชอบในการดาเนนิ การและบงั คบั ใชก้ ฎหมายน้นั

เม่ือประชาชนตระหนักถึงปัญหาในชุมชนของตนแล้ว พวกเขามักต้องการให้รัฐบาลพัฒนาและ
ดาเนินการตามนโยบายที่จดั การกับปัญหาเหลา่ นั้นซงึ่ ปญั หาอาจจะมีดังน้ี

• กฎหมาย หรือนโยบายทม่ี อี ยูใ่ ช้งานได้ไมด่ ี
• กฎหมาย หรอื นโยบายที่มีอยไู่ ม่มีการบังคบั ใช้
• ไม่มนี โยบาย หรอื กฎหมาย

โครงการสร้างสานกึ พลเมือง
โครงการสร้างสานึกพลเมือง เป็นโครงการที่นาหลักสูตรการสร้างสานึกพลเมืองสาหรับเยาวชน

เข้าประยุกต์ใช้กับหลักสูตรการเรียนในโรงเรียน โดยเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในความเป็น
พลเมืองและเกิดจิตสานึกประชาธิปไตย จากการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาชุมชนด้วยกระบวนการวิจัย
และกาหนดนโยบายสาธารณะเพ่ือแก้ไขปัญหาและนาเสนอต่อองค์กรภาครัฐท่ีมีอานาจในการนานโยบาย
ไปบังคับใช้ ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงการมีส่วนร่วมกับท้องถ่ิน การสร้างจิตสานึกสาธารณะ

๒๐

และการเป็นพลเมืองดใี นระบอบประชาธปิ ไตยอย่างบูรณาการ ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการคิด วิเคราะห์และ

ลงมอื ปฏิบัติ พรอ้ มกับการพัฒนาตนเองตามวิถีประชาธิปไตย เปน็ การเช่ือมโยงการเรียนรู้กับประสบการณ์จริง

ในชีวิต ท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เพ่ือท่ีจะสามารถนาพาให้นักเรียนบรรลุวัตถุประสงค์ของการศึกษา

ในปัจจุบนั ได้

ผู้เรยี นมสี ่วนรว่ มในการแกป้ ญั หาชมุ ชนไดอ้ ยา่ งไร ?
ให้ผู้เรียนทาความเข้าใจกับคาว่า นโยบายสาธารณะ ซึ่งหมายถึง กิจกรรมทั้งปวงของรัฐบาลที่
ดาเนินการ ท้ังโดยทางตรงหรอื ผา่ นหน่วยงานตา่ ง ๆ ซงึ่ มีอิทธิพลตอ่ ชีวติ ความเป็นอยู่ของพลเมือง ตวั อยา่ งเชน่
* โรงเรียน รบั ผิดชอบในการจดั ทานโยบายเก่ียวกับความประพฤติ และวินยั ของผู้เรียน โดยมคี รูและ
ผู้บริหารโรงเรียนเปน็ ผู้บงั คับใช้นโยบายเหลา่ นั้น
* สภานิติบัญญัติ หรือ รัฐสภา รับผิดชอบเร่ืองการออกกฎหมายเกี่ยวกับการจราจร โดยตารวจเปน็
ผูบ้ งั คบั ใชก้ ฎหมายเหลา่ นนั้
* กรุงเทพมหานคร หรือเทศบาลเมืองต่าง ๆ มักจะมีนโยบายท่ีห้ามประชาชนเปิดสถานบันเทิง
ใกล้กับสถานศกึ ษา โดยมีตารวจ และตารวจเทศกิจเปน็ ฝา่ ยกาหนดพืน้ ทแ่ี ละเป็นผบู้ ังคับใชก้ ฎหมายนัน้
เม่ือโรงเรียนตระหนักถึงปัญหาในชุมชนแล้ว สามารถเสนอให้รัฐบาลพัฒนาและดาเนินการ
ตามนโยบายทจี่ ะต้องจัดการกบั ปัญหาเหลา่ น้นั ซง่ึ สาเหตุอาจเนอ่ื งจาก
๑. กฎหมายหรือนโยบายทม่ี อี ย่นู ้นั ใช้งานไดไ้ ม่ดี
๒. กฎหมายหรือนโยบายทม่ี อี ย่นู ั้น ไมม่ กี ารบังคบั ใช้
๓. ไมม่ ีนโยบายหรอื กฎหมายทจ่ี ัดการกบั ปัญหาน้นั
ดังน้ัน เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในทางการเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงต้องรู้ว่า
ผู้เรียนมีสิทธิที่จะให้ความเห็นในสิ่งท่ีคิดว่าหน่วยงานของรัฐควรทาอย่างไรเกี่ยวกับปัญหาชุมชนน้ัน และ
สามารถโน้มน้าวให้ผู้มีสิทธิ์ตัดสินใจเพ่ือเข้ามาจัดการกับปัญหาเหล่าน้ันด้วย จึงต้องศึกษาว่าหน่วยงานใด
ทร่ี บั ผดิ ชอบในการเปล่ยี นแปลง การบังคับใช้ หรือการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ผู้เรียนจะเสนอนนั้
โครงการสร้างสานึกพลเมอื ง จึงมจี ุดมุ่งหมายท่จี ะชว่ ยในการเรียนรวู้ า่
* จะแสดงความคิดเห็นอยา่ งไร
* ตัดสนิ ใจเกีย่ วกับหน่วยงานใดท่เี หมาะสมท่ีสดุ ในการจัดการกบั ปัญหาที่ได้ศึกษาน้นั และ
* ทาอย่างไรทจ่ี ะโนม้ น้าวใหผ้ ูม้ อี านาจตัดสนิ ใจจดั การกบั ปญั หานัน้
นักเรียนจะต้องทางานร่วมกับเพื่อน ๆ ในช้ันเรียน โดยได้รับคาแนะนาจากครูและอาสาสมัคร
เพอื่ ดาเนินงานให้บรรลุผลสาเร็จ ตามขนั้ ตอนต่อไปนี้
๑. ระบปุ ัญหาทจ่ี ะทาการศกึ ษา นักเรียนต้องระบปุ ญั หาในชุมชน ท่คี ิดว่าเปน็ เรอื่ งสาคญั
๒. คัดเลือกปัญหา จากปัญหาของทุกคนในชั้นเรียนให้เลือกปัญหาท่ีจาเป็นต้องแก้ไขเพียง ๑ ปัญหา
และพิจารณาถึงหน่วยงานทร่ี บั ผิดชอบโดยตรงมากทสี่ ดุ ในการจัดการกบั ปัญหาน้นั
๓. การรวบรวมขอ้ มลู และพฒั นาแผนปฏิบตั งิ าน

๓.๑ รวบรวมข้อมูล เมื่อได้มีการตัดสินใจในช้ันเรียนถึงปัญหาที่ต้องการจะศึกษาแล้ว จะต้อง
รวบรวมและประเมินข้อมลู เกี่ยวกบั ปัญหาจากแหล่งตา่ ง ๆ

๓.๒ ตรวจสอบนโยบายทางเลือก นักเรียนต้องตรวจสอบนโยบายสาธารณะท่ีรัฐบาลใช้อยู่ใน
ปัจจบุ นั รวมท้ังตอ้ งตรวจสอบถงึ นโยบายท่มี ผี อู้ น่ื ไดแ้ นะนาเสนอขึ้นมาดว้ ย

๓.๓ นาเสนอและพฒั นานโยบายสาธารณะของตนเองทีค่ ดิ ว่ารัฐบาลควรนาไปใช้

๒๑

๓.๔ การนานโยบายที่คิดขึ้นไปปฏิบัติให้บรรลผุ ล นักเรียนต้องมีการพัฒนาแผนปฏิบัติการท่แี สดง
ให้เห็นว่าจะสามารถโน้มน้าวรัฐบาลหรือหน่วยงานราชการท่ีเหมาะสมให้ยอมรับนโยบายท่ีนา เสนอน้ัน
ไดอ้ ยา่ งไร

๔. การพัฒนาแฟ้มผลงานของช้นั เรยี น
๔.๑ แฟม้ ผลงานตอนท่ี ๑ อธิบายถงึ ปัญหา
๔.๒ แฟม้ ผลงานตอนที่ ๒ การตรวจสอบนโยบายทางเลือก
๔.๓ แฟม้ ผลงานตอนที่ ๓ การนาเสนอนโยบายสาธารณะ
๔.๔ แฟ้มผลงานตอนที่ ๔ การพฒั นาแผนปฏิบตั งิ าน

๕. การนาเสนอแฟ้มผลงานและผังนิทรรศการ แก่หน่วยงานท่ีมีอานาจและรับผิดชอบให้หน่วยงาน
เหลา่ น้ันเหน็ ถึงความสาคัญและรวมมอื กนั แกป้ ญั หาหรือป้องกัน

๖. สรุป ประเมนิ ผลและสะท้อนประสบการณก์ ารเรยี นรู้ สรุปผลทไ่ี ด้เรียนรสู้ ะท้อนจากประสบการณ์
ของแตล่ ะบคุ คลเพื่อแกไ้ ขข้อผิดพลาดและปรับปรุงผลงานคร้ังตอ่ ไป

ข้อมูลจากการศึกษาทั้งหมด นักเรียนต้องรวบรวม เรียบเรียง นามาพัฒนาเปน็ แฟ้มผลงานท่ีแสดง
ใหเ้ ห็นว่า

๑. ไดม้ กี ารเรยี นรู้อะไรมาบา้ งเก่ยี วกับปญั หาท่เี ลอื ก
๒. ได้มีการเรยี นรู้อะไรมาบ้างเก่ียวกบั ทางเลือกอ่นื ๆ ของปญั หา
๓. นโยบายสาธารณะดา้ นใดบา้ งที่ไดเ้ ลอื กไวห้ รือพัฒนาขึ้นมาเพ่ือจดั การกับปัญหา
๔. แผนปฏิบตั ิการที่ไดพ้ ฒั นาขน้ึ มาใชใ้ นความพยายามทจ่ี ะให้รฐั บาลยอมรบั ในนโยบายนนั้ ความรู้
ท่ีจะได้จากการศึกษาปัญหาในชุมชนน้ัน นับว่ามีคุณค่าย่ิงนัก และควรมีการแบ่งปันกันกับผู้อ่ืนเพื่อประโยชน์
ร่วมกัน การแบ่งปันความรู้ความเข้าใจจะสร้างประโยชน์ต่อตนเองด้วย เพราะเป็นการช่วยให้พัฒนาทักษะ
ทีส่ าคญั ต่อการมีสว่ นร่วมของสังคมทีป่ กครองตนเอง

๒๒

ขนั้ ตอนท่ี ๑
การระบปุ ญั หานโยบายสาธารณะในชุมชนของเรา

คณุ ลักษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรยี นสจุ รติ เมื่อจัดกจิ กรรมในข้นั ตอนท่ี ๑

 ทกั ษะกระบวนการคิด
 จิตสาธารณะ

กิจกรรมท่ี ๑ : ระบปุ ัญหาของนโยบายสาธารณะในชุมชนท่จี ะทาการศกึ ษา
นักเรยี นต้องระบปุ ัญหาในชุมชน ท่คี ิดว่าเป็นเร่ืองสาคญั

หลกั การในการเลอื กปัญหาตา่ งๆ ในชุมชน
๑. ปัญหาทคี่ ดั เลือกมามีความสาคัญกับคนในชมุ ชนหรอื ไม่ ?
๒. ภาครัฐมีหน้าท่รี บั ผดิ ชอบในการจัดการกบั ปญั หาน้ันหรอื ไม่ อย่างไร ?
๓. มขี อ้ มูลของปญั หาทเี่ พยี งพอสาหรับการพฒั นาใหเ้ ป็นโครงการทดี่ หี รือไม่?
๔. มีความเป็นไปไดใ้ นการแก้ไขปญั หาหรือไม่ ?
๕. ยงั มีปัญหาอืน่ ในชมุ ชนอีกหรือไมท่ ่ีคิดวา่ มปี ระโยชนต์ ่อการพฒั นาชุมชน ?

การปฏบิ ัติ
๑. ใหจ้ ดั กล่มุ ๆ ละ ๕-๘ คน
๒. แต่ละคนสารวจและเขียนปญั หาสาธารณะในชุมชนคนละ ๓ ปญั หา
๓. ใหแ้ ต่ละคนเลอื กมา ๑ ปญั หาจาก ๓ ปัญหานน้ั
๔. ทกุ คนนาเสนอต่อกลุ่มว่าทาไมเลือกปญั หาน้ี ปัญหามีความรุนแรง จาเป็นตอ้ งเรง่ แก้ไขอยา่ งไร
๕. ใหก้ ลุ่มเลือกปญั หาจากเพอ่ื นเสนอ เหลือเพียงกล่มุ ละ ๑ ปญั หา
๖. ตวั แทนออกมานาเสนอหน้าห้อง ในประเดน็
- ปญั หาทเ่ี ลอื ก
- เหตุผลทเ่ี ลือก
- วิธกี ารทไี่ ด้มา ๑ ปญั หานี้
๗. เขยี นปัญหาทีเ่ สนอมากล่มุ ละ ๑ ปญั หาบนกระดาน

ข้อ ปญั หาท่ีคดิ ไว้ ปัญหาทีต่ นเลือกเหลือ ๑ ปัญหา ปญั หาทกี่ ลมุ่ เลือก




๒๓

ตวั อยา่ งแบบฟอรม์ ในการหาขอ้ มูลจากแหลง่ ต่าง ๆ

ช่อื ของสมาชกิ ทีม............................................................................................................. .................
วนั ที่.............................................. ปัญหาท่ีกาลงั ศกึ ษา .............................. ....................................
ช่อื หน่วยงาน/ บุคคลที่ตอ้ งการหาข้อมลู .................................................................................. ........

๑. ท่านคดิ ว่าปัญหาท่ีจะศกึ ษานัน้ เป็นเรื่องสาคัญหรือไม่ ทาไม
.........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

๒. รัฐบาลหรอื หนว่ ยงานระดับใดทีร่ ับผิดชอบต่อการจดั การกับปญั หาน้ี
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

๓. นโยบายอะไร (ถา้ ม)ี ทหี่ น่วยงานใชใ้ นการจัดการกบั ปัญหาน้ี
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

๔. หากยงั ใชน้ โยบายอยใู่ นขณะน้ี ขอใหต้ อบคาถามตอ่ ไปนี้
- ข้อไดเ้ ปรยี บและเสียเปรยี บของนโยบายที่ใช้จดั การกับปัญหา คอื อะไรบ้าง

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

- จะมีการปรบั ปรุงนโยบายอย่างไรบา้ ง.................................................................................
.........................................................................................................................................................

- มคี วามจาเป็นต้องใชน้ โยบายอ่นื มาใชท้ ดแทนหรอื ไม่ ทาไม .............................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

- มีอะไรบา้ งที่ชุมชนของเราไม่เห็นด้วยกบั นโยบายน้ี
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

ขั้นตอนที่ ๒

๒๔

การคดั เลอื กหน่งึ ปัญหา

คณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรียนสจุ รติ เมอ่ื จัดกิจกรรมในขน้ั ตอนที่ ๒
 ทักษะกระบวนการคดิ
 มวี นิ ยั
 ซ่อื สัตย์สุจริต
 จิตสาธารณะ

การคดั เลอื กปัญหาของชัน้ เรียนเพือ่ ใชส้ าหรับการศกึ ษา
มวี ธิ กี าร ดงั น้ี
1. เลอื กปญั หา ทสี่ าคญั ที่สดุ ทช่ี มุ ชนเผชญิ อยู่
2. รวบรวมขอ้ มูลทจ่ี าเป็นเพิ่มเติมเพอ่ื จะไดเ้ ขา้ ใจปญั หานน้ั อย่างถอ่ งแท้
3. กาหนดเกณฑค์ ัดเลือกในการเลอื กสรรหวั ขอ้ ท่ีจะทาการศกึ ษา
4. คัดเลือกหวั ขอ้ ทีจ่ ะทาการศกึ ษา
5. สามารถหา ฉนั ทามติ ของกล่มุ ในการเลอื กปัญหาทจ่ี ะทาการศึกษา

เรามีรปู แบบอะไรบ้างทใ่ี ช้ในการตดั สนิ ใจ?
๑. เสยี งขา้ งมาก (majority)
๒. ฉันทามติ (consensus)

เสียงข้างมากหมายความวา่ อะไร?
เสยี งขา้ งมาก majority คอื
๑. จานวนหรอื สว่ นท่มี ากกว่าครึง่
๒. จานวนคะแนนเสียงสว่ นใหญ่ทไี่ ด้มาจากการแข่งขนั ที่เกนิ จากจานวนเสียงที่เหลืออยู่

ฉนั ทามติ หมายความวา่ อะไร?
ฉันทามติ consensus คือ “ ข้อสรุป หรือ ผลของการตัดสินใจของกลมุ่ ท่ีผ่านการพูดคุย ปรึกษา โต้แยง้

ด้วยเหตผุ ลและคนส่วนใหญ่ยอมรับในเหตุผลนัน้ ๆ ”

กจิ กรรมเพื่อหา “ฉนั ทามติ”
การให้นา้ หนักในการลงคะแนนกรณีใช้ Sticker สี ติดเลอื กปัญหา แทนความหมาย เชน่
สเี ขียว - เหน็ ดว้ ยกบั แนวคดิ ทง้ั หมดของปัญหาน้นั
สีเหลือง - จะให้การสนบั สนนุ กบั ปัญหาน้ัน หากเพือ่ นๆเลอื ก
สแี ดง - ไม่สนับสนนุ
Sticker แตล่ ะสี จะแสดงความเหน็ ทแ่ี ตกตา่ งกนั

ข้ันตอนของฉันทามตใิ นห้องเรียน

๒๕

๑. พูดคุยถึงแต่ละปัญหา หยิบยกคาถาม นามาพูดคุยกันและพิจารณาถึงหนทางปฏิบัติในการแก้ไขที่
เปน็ จริงได้

๒. หาจดุ รว่ มและความต่าง ความตกลงและข้อขดั แย้งระหวา่ งปัญหาตา่ งๆ
๓. ให้การอานวยการผสมผสานปัญหาที่คล้ายกันหรอื ปรบั ปรุงแก้ไขปญั หา
๔. หยบิ ยกปัญหาใหม่ทเ่ี กิดจากการพูดคยุ
๕. ตอ้ งนาเกณฑ์ต่อไปน้มี าพิจารณา

๕.๑ รัฐบาลมีอานาจหรือความรบั ชอบในการดาเนินการตอ่ ปัญหานีห้ รือไม่
๕.๒ ปญั หานถ้ี ือวา่ เปน็ ปญั หาเฉพาะเก่ยี วกบั นโยบายสาธารณะหรือไม่
๕.๓ ปัญหาน้ีมีความสาคัญตอ่ เยาวชนหรอื ไม่ หรอื มผี ลกระทบทางตรงหรอื ทางอ้อม
๕.๔ มเี หตผุ ลเพยี งพอทีจ่ ะเชอื่ วา่ นโยบายสาธารณะสามารถเปน็ ไปไดห้ รือจะแกป้ ัญหาได้หรือไม่
๕.๕ นักเรยี นสามารถหาข้อมูลเพ่มิ เตมิ ใหเ้ พยี งพอในการศึกษาเก่ียวกับปญั หาน้ีหรือไม่
และที่สาคญั .. ฉนั ทามติ ในหอ้ งเรียนไดม้ าจาก...
* การสร้างส่ิงแวดล้อมท่สี ่งเสรมิ ให้มีการพูดคุยดว้ ยเหตผุ ล และเปน็ แนวคดิ ทด่ี ี
* การให้นักเรยี นออกความคิดเห็นทีห่ ลากหลาย และคน้ หาแนวคดิ ท่แี ตกต่าง
* ในการตัดสินใจ ไม่ควรให้นกั เรียนถกู ชักนาโดยเพอ่ื น หรอื (โดยครู)
* ปลอ่ ยใหม้ ที ั้งความคิดท่ไี ม่เห็นด้วย หรือแนวความคดิ ทแ่ี ตกต่างกันใชก้ ระบวนการใน
การผสมผสานความคิดท่แี ตกต่างกนั นนั้ จนกระทั่งมีการสรุปเป็น “ฉันทามต”ิ

กระบวนการสรา้ งฉันทามติ คืออะไร
คอื “กระบวนการ” ที่
๑. สมาชกิ ทุกคนมีสว่ นร่วม
๒. สนบั สนุนให้สมาชกิ ทุกคนออกความเห็นและความเห็นของทุกคนถูกนามาใช้
๓. ความเหน็ แตกตา่ ง (Difference)ถกู มองว่าเป็นประโยชนแ์ ทนท่จี ะมองว่าเป็นอปุ สรรค
๔. สมาชิกท่ียังไม่เห็นด้วยกับข้อสรุป เมื่อกระบวนการเสร็จสิ้นแล้ว ยอมรับที่จะให้เวลาเป็นเครื่อง

ทดสอบข้อสรุปน้นั
๕. ต้องให้เวลาท่ีเพียงพอ กับทุกคนในการแสดงความคิดเห็น ทาความเข้าใจความเห็นระหว่างกันก่อน

ตัดสินใจ แมจ้ ะใชเ้ วลานานกต็ าม
๖. สดุ ทา้ ย..สมาชกิ ทกุ คนมีสว่ นในการตดั สนิ ใจ

ขอ้ ปญั หาท่ีแตล่ ะกลมุ่ เสนอ ปญั หาท่ีชั้นเรยี นเลอื กเพ่ือศึกษา






สรุปปัญหาท่ีช้นั เรียนเลอื กเพื่อศกึ ษา คือ ปัญหา .......................................................

๒๖

ข้นั ตอนท่ี ๓

การรวบรวมขอ้ มูลเกี่ยวกับปัญหาท่ีจะศึกษา

คณุ ลักษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรยี นสจุ รติ เมื่อจัดกจิ กรรมในขน้ั ตอนที่ ๓

 ทักษะกระบวนการคิด
 มีวินัย
 ซอ่ื สัตย์สุจรติ
 อยอู่ ย่างพอเพียง
 จิตสาธารณะ

ในขน้ั ตอนที่ ๓ น้ี ประกอบด้วย
๑. การรวบรวมข้อมลู
๒. ตรวจสอบนโยบายทางเลอื ก
๓. นาเสนอและพัฒนานโยบายสาธารณะของตนเอง
๔. พัฒนาแผนปฏบิ ัติการ

การรวบรวมขอ้ มูล
เม่ือได้ปัญหาท่ีชั้นเรียนเลือกเพ่ือศึกษาแล้ว ต่อไปเป็นการรวบรวมข้อมูลท่ีอาจไปสารวจ หรือค้นคว้า

จากแหลง่ ขอ้ มลู ทีช่ นั้ เรยี นเห็นวา่ เหมาะสม

การวางแผนในการหาขอ้ มูล
• ใครทร่ี บั ผดิ ชอบกบั ปัญหา
• ต้องการข้อมูลอะไร
• วิธีการทจี่ ะได้มาซ่งึ ข้อมูล

๒๗

บุคคล/องค์กร/แหลง่ ข้อมูล ขอ้ มูลทต่ี ้องการ วธิ ีการท่ีไดม้ าซึ่งขอ้ มูล
ทีเ่ ก่ียวข้องกบั ปัญหา สาเหตุของปญั หา วธิ กี ารแกไ้ ข คน้ หา บนั ทกึ

๑. ห้องสมุด-หนงั สือ วารสาร
๒. Internet
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.

ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็นจานวนเท่ากับแหล่งข้อมูล และเลือกแหล่งข้อมูลที่กลุ่มแต่ละกลุ่มจะรับ
ภารกจิ ไปหาขอ้ มูลท่ีเปน็ ประโยชนเ์ พ่อื เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา

นักเรยี นสามารถให้อาสาสมคั ร เช่น ผูป้ กครอง พ่ี ๆ บคุ คลทีม่ คี วามรูเ้ กยี่ วกับปัญหา ชว่ ยเหลอื แนะนา
เพอ่ื แลกเปลีย่ นขอ้ มลู และความรู้ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์

ตวั อยา่ งแหลง่ ขอ้ มูล
๑. หอ้ งสมดุ
๒. สานักงานหนังสอื พิมพ์ / นักข่าว เพราะนักข่าวจะเป็นผเู้ ก็บรวบรวมข้อมูลปัญหาตา่ ง ๆ ที่มีในชุมชน

และการแก้ไขที่รัฐบาลกาลังดาเนินการอยู่ ซ่ึงนักเรียนอาจจะได้รับบทความ/รูปภาพเกี่ยวกับปัญหาท่ีกาลัง
ศกึ ษา

๓. นักวิชาการ ครู อาจารย์ นักศึกษาในวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ท่ีอาจเป็นผู้มีประสบการณ์ /เป็น
ผู้เชี่ยวชาญทางด้านปัญหาท่ีกาลังศึกษาอยู่ โดยการสอบถาม หาท่ีอยู่ หมายเลขโทรศัพท์ที่สามารถติดต่อได้
เพอื่ ขอใหช้ ่วยแนะนา ขอข้อมลู เก่ียวกับปัญหาทศ่ี ึกษา

๔. นกั กฎหมาย ถือเปน็ แหลง่ ข้อมูลท่ีดีเยี่ยมสาหรับปัญหาทง้ั หลายในชุมชน อาจถามจากครูและเพื่อนๆ
ว่ามีผู้ปกครองของนักเรียนที่เป็นทนายความหรือนักกฎหมายบ้างหรือไม่ ใช้สมุดโทรศัพท์ค้นหาสานักงาน
กฎหมายรวมท้งั หมายเลขโทรศัพท์ เพื่อติดต่อขอสมั ภาษณ์

๕. องค์กรชุมชนและกลมุ่ ผลประโยชน์ ภาคเอกชน
๖. องค์กรบริหารสถานท่ีราชการทเี่ ก่ยี วข้อง หรืองานรับผดิ ชอบเก่ียวขอ้ งกับปัญหาของเรา
๗. เครือขา่ ยขอ้ มูลอิเล็กทรอนิกส์

การไดร้ บั และบนั ทกึ ข้อมูล
๑. การหาข้อมูลทางโทรศัพท์
๒. การนดั พบและสัมภาษณ์บคุ คลตา่ ง ๆ
๓. การเขยี นจดหมายเพอ่ื ขอขอ้ มลู

๒๘

การเตรยี มพร้อมในการหาขอ้ มูล
๑. การสัมภาษณ์
๑.๑ จดหมาย
๑.๒ โทรศพั ท์
๑.๓ การนัดหมาย
๑.๔ การไปพบดว้ ยตนเอง
๒. การสืบค้น จากส่อื สง่ิ พมิ พ์ /อินเตอร์เนต็
๒.๑ การอ้างองิ ทีม่ าของข้อมูล /รูปภาพ /ภาพเคล่ือนไหว
๓. แบบสอบถาม
๓.๑ จดุ ประสงค์ ต้องการทราบอะไร /เพื่ออะไร /จากใคร /จานวนเทา่ ไร /เวลาใด

๒๙

แบบฟอร์มในการหาขอ้ มลู จาก Internet และส่ือสง่ิ พิมพ์

ชอ่ื ของสมาชิกทีม............................................................................................................. .................
วนั ที่....................................................... ปัญหาทก่ี าลังศึกษา ........................................... .............
ชอ่ื สือ่ / เว็บไซต์ ท่ตี อ้ งการหาขอ้ มลู ...............................................................................................

๑. แหล่งข้อมูล ............................................................................................... ...............................
ชือ่ สานักพมิ พ์..........................................................................................................................
ผูแ้ ต่ง ................................................................................................................ ...............
วนั ทตี่ ีพมิ พ์ .............................................................................................................................

๒. บนั ทกึ ข้อมลู ท่ไี ดร้ ับ

ก. ปัญหานี้ในชุมชนของเราร้ายแรงเพียงใด ............................................................................

ข. การแพร่กระจายของปัญหานีใ้ นชุมชน หรือในประเทศ เปน็ อยา่ งไร ..................................

ค. ท่านคิดวา่ ปัญหาของท่าน

- ไม่มีกฎหมายที่จะจดั การกับปัญหา ถกู ............. ผดิ ............

- กฎหมายท่จี ะจัดการกบั ปญั หาไมเ่ พยี งพอ ถกู ............. ผดิ ............

- กฎหมายที่จะจดั การกบั ปัญหามีเพยี งพอแตไ่ ม่จรงิ จัง ถูก............. ผิด ............

๓. มหี น่วยงานใดทาหน้าทร่ี ับผิดชอบปัญหาน้ีอยู่ และไดท้ าอะไรบ้าง ............................................
...................................................................................................................................................

๔. มขี อ้ ขัดแยง้ ใดบา้ งทเี่ ก่ียวกบั นโยบายที่จัดการกับปัญหา ..........................................................
....................................................................................................................................................

๕. ใครคอื เสียงส่วนใหญ่ กล่มุ หรือหนว่ ยงานใดทีแ่ สดงความคิดเห็น/รับผดิ ชอบตอ่ ปญั หานี้
....................................................................................................................................................
- พวกเขาไดเ้ สนอนโยบายกบั รัฐเพ่อื มาปรบั ใชก้ บั ปญั หาได้อยา่ งไร........................................
- การใช้นโยบายของเขามปี ญั หา อุปสรรคอะไรบา้ ง .............................................................

๖. ขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกบั นโยบายหรอื แนวทางในการแกป้ ัญหาของเรา ..........................................
....................................................................................................................................................

๗. ความช่วยเหลอื ท่ีพวกเขาสามารถให้กับเราในการแก้ปัญหา มีอะไรได้บา้ ง .............................
....................................................................................................................................................

๓๐

แบบฟอร์มในการสัมภาษณ์

ช่อื ของสมาชกิ ทีม............................................................................................................. .................
วนั ท่ี........................................................ ปัญหาทีก่ าลงั ศกึ ษา .............................. ..........................

๑. แหล่งขอ้ มูล

ชอ่ื ผูใ้ ห้ข้อมูล .............................................................................................................................

ตาแหน่งหนา้ ทแ่ี ละชือ่ องคก์ ร .................................................................................................

ท่ีอยู่ ...................................................................................เบอร์โทรศัพท.์ .................... ...........

๒. การขอทราบขอ้ มลู เก่ยี วกับปญั หา

ก. ปญั หาน้ใี นชมุ ชนของเราร้ายแรงเพยี งใด ............................................................................

ข. การแพร่กระจายของปัญหานี้ในชมุ ชน หรอื ในประเทศ เป็นอยา่ งไร ..................................

ค. ท่านคดิ ว่าปัญหาของทา่ น

- ไมม่ กี ฎหมายทีจ่ ะจัดการกบั ปญั หา ถูก............. ผดิ ............

- กฎหมายท่ีจะจดั การกับปญั หาไมเ่ พียงพอ ถูก............. ผดิ ............

- กฎหมายที่จะจัดการกบั ปญั หามีเพียงพอแต่ไมจ่ ริงจงั ถกู ............. ผิด ............

๓. มหี น่วยงานใดทาหน้าทรี่ ับผดิ ชอบปัญหานอี้ ยู่ และได้ทาอะไรบา้ ง ..........................................

.................................................................................................................................................

๔. มขี อ้ ขัดแย้งใดบ้างทเ่ี ก่ยี วกับนโยบายทจ่ี ดั การกบั ปัญหา .......................................................

.................................................................................................................................................

๕. ใครคอื เสยี งสว่ นใหญ่ กลมุ่ หรอื หนว่ ยงานใดทแี่ สดงความคดิ เห็น/รับผิดชอบต่อปัญหานี้

..................................................................................................................................................

- พวกเขาได้เสนอนโยบายกับรัฐเพอ่ื มาปรบั ใชก้ ับปญั หาได้อยา่ งไร......................................

- การใชน้ โยบายของเขามีปัญหา อปุ สรรคอะไรบ้าง ...........................................................

๖. ข้อเสนอแนะเก่ยี วกับนโยบายหรอื แนวทางในการแกป้ ญั หาของเรา ........................................

..................................................................................................................................................

๗. ความช่วยเหลือ ทพ่ี วกเขาสามารถให้กับเราในการแก้ปัญหา มีอะไรได้บ้าง ...........................

...................................................................................................................................................

๘. ควรใชว้ ิธใี ดในการโน้มน้าวให้องค์กรภาครัฐยอมรับนโยบายนี.้ ...................................................

การตรวจสอบนโยบายทางเลือก
หมายถึง การสารวจตรวจหา กฎระเบียบ กฎหมาย หรือนโยบายสาธารณะอ่ืนๆท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหา

ของนักเรียน ว่ามี หรอื ไมม่ ี ทง้ั นรี้ วมทัง้ นโยบายทเ่ี ตรียมประกาศใช้ด้วย
ขั้นตอนนี้ถือว่าสาคัญมาก เป็นเป้าหมายที่ต้องการให้นักเรียน มีส่วนร่วมในการตรวจสอบนโยบาย

สาธารณะ หรือ กฎหมาย ระเบียบปฏิบัติท่ีมีข้อบกพร่อง อันเป็นเหตุให้เกิดปัญหาที่ต้องหาแนวทางแก้ไข
ถือเป็นหน้าท่ี และคุณลักษณะท่ีสาคัญของพลเมือง ซ่ึงเป็นประเด็นที่ทาให้ Project Citizen แตกต่าง
จากโครงงานท่วั ไป

๓๑

นกั เรียนจะได้ศึกษานโยบายสาธารณะ ที่เก่ยี วขอ้ งกับปัญหา ในเรอ่ื ง
- หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ
- ข้อดี ขอ้ เสีย
- ผู้ทสี่ นับสนนุ หรอื เห็นดว้ ยกับนโยบาย
- ผู้ท่ีไดร้ บั ผลกระทบ ไมใ่ ห้การสนับสนนุ หรอื ตอ่ ตา้ นกบั นโยบาย
- ปญั หาทเี่ กดิ จากการใชน้ โยบาย (มไี มใ่ ช้/ มใี ชไ้ ม่ได้/ ปฏบิ ัติจรงิ ไมไ่ ด้ หรือ อ่ืนๆ)
- ขอ้ เสนอแนะเก่ียวกบั นโยบายนี้

ในอนาคต เมือ่ นักเรียนพบปญั หาในสงั คม ประสบการณ์น้ี จะทาใหน้ ักเรยี นสามารถวเิ คราะหห์ าเหตุ
แห่งปญั หานน้ั เพือ่ พจิ ารณาหาทางแก้ไขได้

ตวั อย่างการตรวจสอบนโยบายสาธารณะ
๑) ระเบียบ/กฎหมายนนั้ ช่อื ...................................................................................................... ...

ประกาศใช้เมอื่ ........................หน่วยงานที่ประกาศใช.้ ......................................................
ขอ้ ดีของนโยบาย

๑......................................................................................................................................
๒......................................................................................................................................
๓.....................................................................................................................................
ขอ้ เสยี ของนโยบาย
๑...................................................................................................... ................................
๒............................................................................................................................ ..........
๓.....................................................................................................................................
ผ้ทู สี่ นบั สนนุ หรือเหน็ ด้วยกบั นโยบาย
๑.......................................................................................... ............................................
๒............................................................................................................................ ..........
๓.....................................................................................................................................
ผู้ทีไ่ ดร้ ับผลกระทบ ไม่ใหก้ ารสนบั สนนุ หรอื ตอ่ ต้านกับนโยบาย
๑............................................................................................................................ ..........
๒............................................................................. .........................................................
๓............................................................................................................................ .........
ปญั หาท่ีเกดิ จากการใช้นโยบาย( มไี ม่ใช/้ มีใช้ไม่ได/้ ปฏบิ ัตจิ ริงไม่ได้ หรอื อ่นื ๆ)
๑............................................................................................................................ ..........
๒......................................................................................................................................
๓...................................................................................................................... ...............
ข้อเสนอแนะเกีย่ วกบั นโยบายนี้
๑............................................................................................................................ ..........
๒............................................................................. .........................................................
๓............................................................................................................................ .........

๓๒

การพัฒนานโยบายสาธารณะของตนเอง
หมายถงึ การคิด/พัฒนา กาหนดนโยบายสาธารณะ หรอื กฎระเบยี บ เพ่ือแก้ปญั หาของเราเอง โดย
- คดิ ข้นึ มาใหม่ กาหนดเป็นนโยบายทย่ี ังไมเ่ คยมใี ครปฏิบัตมิ าก่อน หรือ
- สนับสนนุ นโยบายเดมิ ที่มใี ช้อยูแ่ ล้ว ปรบั ปรงุ ใหด้ ีขึ้น นาเสนอรปู แบบทส่ี ามารถปฏบิ ตั ิได้จรงิ
นโยบายทีน่ าเสนอจะตอ้ ง
*** นกั เรียนสว่ นใหญ่ในช้นั เหน็ ดว้ ย และ ต้องไมข่ ัดตอ่ กฎหมายรฐั ธรรมนญู
*** เป็นนโยบายทย่ี งั ไม่เคยมีใครคดิ มากอ่ น
*** เปน็ การพัฒนานโยบายเดมิ ที่มีอยูแ่ ลว้ ใหม้ แี นวทางปฏบิ ตั ทิ ีด่ ขี ้นึ สามารถใช้แกป้ ญั หาได้จริง
ขั้นตอนนี้ นักเรียนจะได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด โดยสร้างสรรค์จากข้อมูลท่ีได้สืบหามา

อย่างเพียงพอ เพอ่ื พฒั นานโยบายสาธารณะ และกจิ กรรมทส่ี ามารถใชแ้ กป้ ญั หาได้
ระบุข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้า ดังหัวข้อต่อไปนี้
๑) นโยบายสาธารณะที่พฒั นาขึน้ และคิดว่าดที ีส่ ุดเพือ่ แกป้ ัญหาน้ี คอื ......................................
......................................................................................................................................................
๒) ขอ้ ดขี องนโยบาย คือ ................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
๓) ขอ้ เสยี ของนโยบาย คอื ..............................................................................................................
......................................................................................................................................................
๔) หน่วยงานของรฐั ที่ควรรับผดิ ชอบนโยบายทีน่ าเสนอ ..............................................................
.....................................................................................................................................................
๕) นโยบายทีน่ าเสนอ เป็นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ เพราะ .......................................
......................................................................................................................................................

นโยบำยสำธำรณะ .............................................................................................................
ประกอบดว้ ยกิจกรรม ๑. ......................................................................................................

๒.....................................................................................................
๓. ....................................................................................................
สถำนทีท่ ่ีใช้ในกำรปฏบิ ตั งิ ำน ..............................................................................................
บคุ คลทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง .................................................................................................................
.................................................................................................................
ผู้มีอำนำจในกำรบงั คับใช้นโยบำย ......................................................................................

การนานโยบายทคี่ ดิ ขนึ้ ไปปฏบิ ตั ิใหบ้ รรลผุ ล
หมายถึง การดาเนินการตามนโยบายท่ีคิดขึ้น ได้แก่กิจกรรมต่าง ๆ ที่สนับสนุนนโยบายสาธารณะ

ซ่ึงไดร้ บั การปรบั ปรงุ แกไ้ ข หรือพัฒนาขนึ้ ใหม่ ท่คี ิดวา่ จะสามารถแก้ปญั หาได้โดย
๑. สอบถามความคิดเห็นผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ถึงประโยชน์ ผลดี ผลเสีย และความเป็นไปได้ของนโยบาย

เพอ่ื เป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน
๒. วางแผนการดาเนินงานเปน็ ขน้ั ตอน

๓๓

๓. ขออนุญาตดาเนินงาน/ กิจกรรม โดยบันทึกถึงผู้มีอานาจในสถานท่ีท่ีจะปฏิบัติงาน รวมถึงการขอ
ความอนุเคราะห์บคุ ลากร หน่วยงาน องค์กรท่เี ก่ยี วข้อง

๔. ลงมือปฏิบัติตามนโยบายทวี่ างแผนไว้
ข้นั ตอนนี้ นกั เรียนจะไดฝ้ กึ การวางแผน การปฏบิ ตั ิงาน โดยแบง่ หน้าที่ความรับผิดชอบ ในการดาเนิน
กิจกรรมให้บรรลุผลโดยใชเ้ อกสารตารางช่วยคดิ ดงั น้ี
๔.๑ กิจกรรมหลกั ของนโยบาย คือ ..........................................................................................................

...........................................................................................................................................................
๔.๒ บุคคลหรือหนว่ ยงาน ทีอ่ าจสนบั สนนุ นโยบายของเรา คอื ...........................................................

............................................................................................................................................................
๔.๓ ภารกจิ ทีต่ อ้ งปฏิบตั ิเพอ่ื ไดร้ บั การสนบั สนุนจากบุคคล/หน่วยงาน คือ............................................

..........................................................................................................................................................
๔.๔ บุคคลหรอื หน่วยงาน ท่อี าจตอ่ ต้าน/ไมเ่ ห็นดว้ ยกับนโยบายของเรา คอื ........................................

............................................................................................................................................................
๔.๕ ภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพื่อให้บุคคล/หน่วยงานที่ไม่เห็นด้วยกับนโยบาย เข้าใจและยอมรับนโยบาย
ของเรา คอื ....................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................
๔.๖ กจิ กรรมท่ีต้องดาเนนิ การในการแกป้ ญั หา ตามแนวนโยบายสาธารณะทคี่ ิดขนึ้ คือ

๑)........................................................................................................................................
๒).......................................................................................................................................
๓)........................................................................................................................................

สรปุ ภารกจิ /กิจกรรม ทตี่ ้องปฏบิ ัตแิ ละผู้รบั ผิดชอบ ตามลาดับ ดังนี้ ผ้รู ับผดิ ชอบ

ภารกิจ/กิจกรรม
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.

๓๔

กรอบการปฏบิ ตั ภิ ารกิจ/กจิ กรรม

ภำรกิจที่ ๑ ......................................................................................................................

ผรู้ บั ผดิ ชอบ .......................................................................................................................
กิจกรรม ๑.......................................................................................................................

๒.......................................................................................................................
๓.......................................................................................................................
อปุ สรรค/ปญั หา..............................................................................................................
การแกไ้ ข........................................................................................................................
ผลการดาเนนิ งาน...........................................................................................................
.......................................................................................................................................

ภำรกิจที่ ๒ ...............................................................................................................................

ผูร้ ับผิดชอบ .......................................................................................................................
กจิ กรรม ๑.......................................................................................................................

๒.......................................................................................................................
๓.......................................................................................................................
อุปสรรค/ปัญหา..............................................................................................................
การแกไ้ ข........................................................................................................................
ผลการดาเนินงาน...........................................................................................................
.......................................................................................................................................

สง่ิ สาคัญทีต่ ้องคานึงถงึ คือ
๑. แสดงใหเ้ หน็ ความเป็นไปได้ โดยใชส้ ถิติ ขอ้ มูล รูปภาพ
๒. นาเสนอประโยชน์ทจ่ี ะได้รับ ท้งั ต่อบุคคล ชมุ ชน สงั คม ประเทศชาติ
๓. แสดงความคดิ เห็นเพื่อโน้มน้าวให้ภาครฐั ยอมรับนโยบายของเรา
- ความจาเปน็ ในการแก้ปญั หา
- วิธีการแกป้ ญั หาที่เปน็ รปู ธรรม พร้อมหลกั ฐาน
- ผลการปฏบิ ตั ติ ามโครงการท่ีบรรลุเป้าหมาย สามารถแกป้ ญั หาไดจ้ รงิ
๔. นาไปประกาศใช้เปน็ นโยบายสาธารณะ
การท่หี น่วยงาน หรอื องคก์ รภาครัฐ ยอมรบั ทจ่ี ะปรับปรุง หรือประกาศใช้นโยบายสาธารณะท่นี ักเรียน

ได้พัฒนาข้นึ ถอื เป็นผลงานทแ่ี สดงถงึ ความสาเร็จของโครงการ

๓๕

ข้ันตอนท่ี ๔

การพัฒนาแฟ้มผลงานของช้ันเรยี น

คณุ ลักษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรยี นสุจรติ เม่อื จัดกจิ กรรมในขัน้ ตอนที่ ๔

 ทักษะกระบวนการคดิ
 มวี นิ ยั
 ซื่อสัตย์สจุ ริต
 อยอู่ ย่างพอเพยี ง

มีจุดประสงค์เพ่ือ สรุปโครงการด้วยแฟ้มผลงานและผังนิทรรศการนาเสนอให้ผู้มีอานาจประกาศใช้
นโยบาย และผูอ้ า่ นท่ัวไป ได้เข้าใจแนวทางแกป้ ญั หาด้วยนโยบายสาธารณะที่พวกเราได้พัฒนาขน้ึ นัน้ สามารถ
ปฏิบัติได้ และแกป้ ัญหาไดจ้ รงิ

๑. แฟม้ ผลงาน ประกอบด้วย
๑.๑ การอธิบายถึงปัญหา ประกอบด้วยข้อมูลที่เช่อื ถือได้ มีแหล่งอ้างอิง เช่น ข้อมูลทางวิชาการ สถิติ

รูปภาพงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง ครอบคลมุ สาระสาคัญ คอื
- ความสาคญั ของปัญหา
- ความจาเปน็ ทห่ี น่วยงานรัฐตอ้ งแกไ้ ขปัญหา

๑.๒ การตรวจสอบนโยบายทางเลือก
- นาเสนอนโยบายทม่ี ใี ชอ้ ย่ใู นปัจจบุ ัน
- ขอ้ ขดั ขอ้ ง/ปจั จยั ทที่ าให้นโยบายทใ่ี ชอ้ ยไู่ ม่สัมฤทธ์ิผล

๑.๓ การนานโยบายสาธารณะที่เราคิดข้ึนเพ่ือจัดการกับปัญหาได้แก่ข้อมูลเก่ียวกับเหตุผลการพัฒนา
นโยบายสาธารณะใหม่ กจิ กรรม เป้าหมาย วิธีดาเนนิ งาน ระยะเวลา สถานที่ หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง งบประมาณ
ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ

๑.๔ การดาเนินกิจกรรมตามนโยบายสาธารณะที่เราคิดขึ้นในพื้นท่ีซึ่งสามารถแก้ปัญหาโดยใช้
คุณลักษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรียนสุจริตได้จริง ประกอบด้วยข้อมูล สถิติ รูปภาพประกอบกิจกรรม
ผลงาน ท่ีแสดงให้เห็นถึงผลสัมฤทธิ์ในการแก้ปัญหา เพื่อเสนอต่อรัฐบาล/หน่วยงานที่รับผิดชอบ ให้ยอมรับ
นโยบายทนี่ าเสนอ

๒. ผังนิทรรศการ คอื การสรปุ ขอ้ มลู จากแฟ้มผลงานทง้ั ๔ หวั ขอ้ ลงในแผน่ ป้ายนิเทศ แผน่ ละ ๑ หวั ข้อ
ตามลาดับ เพื่อนาเสนออย่างย่อ ข้อมูลจึงต้องกระชับ นาเสนอส่วนท่ีสาคัญ และจาเป็นที่แสดงให้เห็นแนวทาง
แก้ปัญหาด้วยนโยบายของเรา อย่างสัมฤทธิ์ผลได้อย่างชัดเจน การจัดผังนิทรรศการข้อมูลต้องชัดเจนและ
น่าสนใจ อาจใช้รูปภาพท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหา ภาพกิจกรรมประกอบคาอธิบายสั้น ๆ และสถิติท่ียืนยัน
ความสาเรจ็

แนวทางในการสรปุ รวบรวมข้อมูล
๑. ความโน้มน้าวจิตใจ ใหค้ ล้อยตาม เห็นด้วยกับข้อมูลที่นาเสนอ
๒. การปฏบิ ตั ิได้
๓. ความประสานการร่วมมอื
๔. ผลสะท้อนจากประสบการณ์

๓๖

ขัน้ ตอนท่ี ๕

การนาเสนอแบบปากเปล่าด้วยแฟ้มและผังนิทรรศการ

คณุ ลกั ษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรยี นสุจริตเมื่อจดั กิจกรรมในข้นั ตอนท่ี ๕
 ทกั ษะกระบวนการคดิ
 มีวินัย
 ซี่อสตั ยส์ ุจริต
 จิตสาธารณะ

จดุ ประสงค์
๑. เพ่อื ใหผ้ ู้ฟังไดร้ ับทราบและเหน็ ความสาคญั ของปญั หาทเี่ กดิ ข้นึ ในชุมชนซงึ่ เราศกึ ษา
๒. เพื่ออธบิ ายและประเมนิ นโยบายทางเลือกอน่ื ๆ ใหผ้ ้ฟู งั เขา้ ใจในผลดีและผลเสียของแตล่ ะนโยบาย
๓. เพอ่ื แลกเปล่ียนความคิดเห็น เก่ยี วกบั นโยบายท่ชี ัน้ เรียนคิดว่าเปน็ นโยบายที่ดที ่ีสดุ ในการแก้ปัญหา
๔. เพื่อแสดงให้เห็นว่าช้ันเรียนสามารถขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะได้เช่นเดียวกับวิธีการของฝ่ายบริหาร

และฝ่ายนติ บิ ญั ญัติของรัฐ

เวลาท่ีใช้ในการนาเสนอ จะใชเ้ วลา ๑๐ นาที แบง่ เปน็ ๒ สว่ น คือ
ส่วนที่ ๑ การนาเสนอผลงาน ใชข้ อ้ มูลหลกั ทส่ี าคญั ท่สี ดุ เฉล่ยี ผงั ละ ๑ นาที จงึ ต้องเน้นเฉพาะส่วนท่ี

สาคญั ของแตล่ ะผงั พร้อมชภ้ี าพประกอบ
สว่ นท่ี ๒ เปน็ ช่วงคาถามจากผฟู้ ังหรอื กรรมการ ใช้เวลา ๖ นาที คาถามมีลกั ษณะดังนี้
๑. ใหอ้ ธิบายบางจดุ ให้เขา้ ใจมากขนึ้
๒. ให้ยกตวั อย่างประเดน็ สาคญั
๓. โต้แย้งบางประเด็นจากขอ้ มลู ท่ีนาเสนอ
๔. ใหบ้ อกถึงประสบการณห์ รือปัญหาทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการเรยี นรู้และการแก้ปญั หา

๓๗

แนวทางในการเตรยี มนาเสนอ
๑. แบง่ หน้าทร่ี บั ผิดชอบให้ชดั เจน การนาเสนอจะใช้นักเรยี น ๒ คนต่อ ๑ ผงั คนท่ี ๑

จะเปน็ ผู้นาเสนอ คนที่ ๒ จะเปน็ คนชข้ี อ้ ความในผงั ให้สอดคล้องกับสาระที่เพ่ือนนาเสนอ
๒. ฝกึ ซ้อมการนาเสนอใหค้ ล่อง พดู ด้วยความเข้าใจ ไม่ใชก้ ารอา่ น ใชเ้ สียงดังชัดเจน น้าเสยี ง

สอดคล้องกบั สาระท่ีพูด ตรงเวลาท่กี าหนด
๓. เตรยี มตอบคาถาม โดยทบทวนจากประสบการณ์การทางานรว่ มกับเพอ่ื นๆในชน้ั เรยี น และ

ประสบการณ์สว่ นตัวท่เี คยพบปัญหา การแก้ปญั หา และคณุ ค่าทไี่ ดเ้ รียนรู้

๓๘

ขน้ั ตอนที่ ๖

สรปุ ประเมินผลและสะทอ้ นประสบการณ์

คุณลักษณะ ๕ ประการของโครงการโรงเรียนสุจรติ เม่ือจดั กจิ กรรมในขน้ั ตอนที่ ๖
 ทักษะกระบวนการคิด
 มวี ินัย
 ซอ่ื สัตย์สจุ ริต
 อยอู่ ย่างพอเพียง
 จิตสาธารณะ

ทบทวนตนเอง เราได้เรยี นรอู้ ะไรบ้างจากโครงการสรา้ งสานกึ พลเมือง
๑. การไดท้ างานรว่ มกับเพื่อนในชน้ั เรยี น ฉันไดเ้ รยี นรอู้ ะไรจากนโยบายสาธารณะบ้าง
……………………………………………………………………………………….…………………………………………….
๒. การได้ทางานร่วมกันทั้งช้ันเรียนเก่ียวกับนโยบายสาธารณะโดยการพัฒนาแฟ้มผลงาน พวกเรา

ได้เรยี นรูอ้ ะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………...............……………...…..
๓. ทกั ษะที่ ฉนั ไดเ้ รียนรูห้ รือได้รบั การพัฒนาจากโครงการนี้ คอื .............................................................
............................................................................................................................................................
๔. ทกั ษะที่ พวกเราไดเ้ รียนรูห้ รือได้รับการพฒั นาจากโครงการน้ี คอื .....................................................
.............................................................................................................................................................
๕. ข้อดจี ากการทางานเป็นทมี คอื .................................................................... ........................................
๖. ขอ้ เสียจากการทางานเป็นทมี คือ .........................................................................................................
๗. งานที่ ฉัน คดิ ว่าทาไดด้ ีในกจิ กรรมนี้ คอื …………………………………….………………....……………...……….
๘. งานที่ พวกเรา คดิ ว่าทาได้ดีในกิจกรรมน้ี คือ ………………………………………………....…..………...……….
๙. ฉนั คดิ วา่ จะสามารถพัฒนาทกั ษะในการแก้ปญั หาไดโ้ ดย ....................................................................
๑๐. พวกเรา คิดวา่ จะสามารถพัฒนาทักษะในการแก้ปญั หาไดโ้ ดย .........................................................
๑๑. หากพวกเราตอ้ งทางานเรอื่ งการแก้ปัญหานโยบายสาธารณะอีกคร้งั พวกเรา จะตอ้ งทาสง่ิ ใดท่ี

แตกตา่ งจากเดมิ
............................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................................................................

มองปญั หำรอบตวั รอบด้ำน

ปญั หำใหม่ ๆ ก็ยอ่ มตอ้ งกำรนโยบำยสำธำรณะใหม่ ๆ เช่นกนั

๓๙

สานึกหน้าทพี่ ลเมือง

ไดอ้ งค์ความรู้คดิ วเิ คราะห์
ไดส้ งั เคราะห์ขอ้ มลู แก้ปัญหา
ไดค้ น้ ควา้ หาความรสู้ ู้อวิชชา
ได้วิญญาของมนษุ ย์กลบั คืนมา

สานกึ ดคี นดกี ลบั มาเถดิ
ขอจงเกิดคุณธรรมทกุ แหง่ หน
สานึกดีพลเมอื งดเี พอ่ื ปวงชน
เป็นสายชลหลอ่ เลย้ี งชนชาตไิ ทย

วันเฉลมิ วุฒิวิศิษฏ์สกุล ประพันธ์

๔๐

แบบทดสอบความร้คู วามเข้าใจกระบวนการจัดกจิ กรรมสรา้ งสานกึ พลเมือง (Project Citizen)
คาช้แี จง จงเลือกคาตอบทสี่ ดุ เพยี งข้อเดยี ว

๑. ข้อใดตอ่ ไปน้คี อื ความหมายของคาว่า “พลเมือง”
1) ประชาชนทีใ่ ชป้ ระโยชน์จากสทิ ธิทตี่ นมไี ม่สนใจใคร
๒) ประชาชนทีม่ จี ติ สานกึ ท่ดี ี เคารพสทิ ธผิ อู้ ื่น
๓) กล่มุ คนท่ีฟงั เสียงขา้ งมาก ไมฟ่ งั เสียงข่างน้อย
๔) กลุ่มคนทีไ่ ดร้ บั สิทธิ เสรภี าพ ในการดารงชวี ติ

๒. ประชาธปิ ไตย หมายถึง ข้อใดต่อไปนี้
๑. รูปการปกครองท่ยี ดึ ถอื อานาจอธปิ ไตยเปน็ ของปวงชน
๒) รปู แบบการปกครองทม่ี ีผนู้ าเปน็ ใหญ่
๓) รูปแบบการปกครองโดยมกี ษัตรยิ เ์ ปน็ ผนู้ าการปกครอง
๔) รูปแบบการปกครองโดยใหค้ นเขา้ ไปเลอื กตงั้ เสียงข้างมาก

๓. นโยบายสาธารณะ หมายถึง ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ี

๑) การนกึ ถงึ ส่วนรวม ๒) ความมีจิตสานกึ สาธารณะ

๓) แนวคิดของคนที่มผี ลตอ่ ส่วนรวม

๔) แนวทางกิจกรรม การกระทา หรือการเลือกตัดสินใจของรัฐบาลต่อประชาชน

๔. Project Citizen มที ั้งหมดก่ขี ั้นตอน ๒) ๔ ข้นั ตอน
๑) ๓ ขน้ั ตอน ๔) ๖ ขน้ั ตอน
๓) ๕ ขัน้ ตอน

๕. ขน้ั ตอนที่ ๑ ของ Project Citizen ต้องการใหเ้ กดิ สิ่งใด

๑) วเิ คราะหน์ โยบายสาธารณะ ๒) กาหนดนโยบายสาธารณะ

๓) ลงพ้ืนท่ีสารวจปัญหา ๔) วภิ าคปญั หาและกาหนดแนวทางแก้ไข

๖. ขั้นตอนใดเป็นการรวบรวมหลกั ฐาน หาข้อมลู ศกึ ษา พรบ. เพือ่ นาไปกาหนดนโยบายสาธารณะ

๑) ๓ ขนั้ ตอน ๒) ๔ ขน้ั ตอน

๓) ๕ ข้ันตอน ๔) ๖ ขนั้ ตอน

๗. การใช้ Project Citizen ในการเรยี นการสอนมงุ่ เนน้ ให้เกดิ ส่ิงใดตอ่ ไปนี้

๑) ความรู้ ๒) ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะที่ดี

๓) ความเข้าใจ ๔) ผลสัมฤทธท์ิ ่สี ูงข้นึ

๘. ฉันทามติ หมายถึง ข้อใดตอ่ ไปน้ี
๑) เสียงสว่ นมากไม่สนเสยี งขา้ งนอ้ ย ทาตามเสียงทเ่ี หน็ ดว้ ย
๒) ให้ความหมายฉันทามติไว้ว่าเป็นข้อตกลงร่วมกันท่ีมีลักษณะเป็นการยอมรับแบบเอกฉันท์
๓) การหาขอ้ ยุติโดยการคดั เลอื กสิ่งทดี่ ที ีส่ ุดการทาทุกอยา่ ง
๔) การถกเถยี งปญั หาโดยไมส่ นใจถงึ เหตุผล ใช่อารมณ์ความรูส้ กึ สว่ นตัวเข้ามาเก่ยี วขอ้ ง

๔๑

เฉลย

ข้อ ๑. ๒) ประชาชนทีม่ จี ติ สานึกท่ดี ี เคารพสทิ ธผิ ้อู ื่น
ขอ้ ๒. ๑) รูปการปกครองทยี่ ึดถอื อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน
ขอ้ ๓. ๔) แนวทางกิจกรรม การกระทา หรอื การเลือกตัดสินใจของรฐั บาลต่อประชาชน
ขอ้ ๔. ๔) ๖ ข้ันตอน
ข้อ ๕. ๓) ลงพืน้ ที่สารวจปญั หา
ข้อ ๖. ๑) ๓ ขั้นตอน
ขอ้ ๗. ๒) ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะท่ีดี
ขอ้ ๘. ๒) ใหค้ วามหมายฉนั ทามตไิ ว้ว่าเปน็ ข้อตกลงรว่ มกันทมี่ ลี กั ษณะเป็นการยอมรับแบบเอกฉนั ท์

จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้
๑. โครงการสร้างสานกึ พลเมอื ง Project Citizen ต้องการส่ิงใด?
๒. โครงการสรา้ งสานกึ พลเมอื ง Project Citizen มีกขี่ น้ั ตอนอะไรบ้าง จงอธิบาย?

รายชื่อคณะทำงาน

ที่ปรึกษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
1. นายอัมพร พินะสา รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
2. ว่าทีร่ ้อยตรี ธนุ วงษ์จินดา ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ สำนกั พัฒนานวตั กรรมการจัดการศึกษา
3. นางรัตนา ศรีเหรญั

คณะทำงานฝ่ายจดั ทำแนวทางการดำเนินงานและการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
1. นายภธู ร จันทะหงษ์ ปุณยจรัสธำรง ผ้อู ำนวยการ ประธานคณะทำงาน
สำนกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
2. นางองั สนา พไิ สยสามนต์เขต ข้าราชการบำนาญ กระทรวงศึกษาธิการ คณะทำงาน
3. นายพนม เข็มเงนิ ผอู้ ำนวยการเชยี่ วชาญ คณะทำงาน
โรงเรียนวดั บอ่ กรุ “ครุ ปุ ระชาสรรค์”
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบรุ ี เขต 3
4. นางสาวกมลทพิ ย์ ใจเทยี่ ง ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
โรงเรยี นวัดพรหมสาคร
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสิงห์บุรี
5. นายอดุลย์ เตาวะโต ผู้อำนวยการชำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
โรงเรยี นบ้านแป-ระเหนือ
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสตลู
6. นายดวงชยั มงคลกุล ผอู้ ำนวยการชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
โรงเรยี นบ้านหนองนกทา
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาร้อยเอด็ เขต 3
7. นางพชั รนิ ทร์ ศรวี ฒุ พิ งศ์ ผู้อำนวยการชำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
โรงเรียนบ้านอ้อยช้าง
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครราชสมี า เขต 6
8. นางอรทัย พลวิเศษ ผอู้ ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
โรงเรียนบา้ นโนนกระพ้ีวิทยา
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 6
9. นางวัชรา คำภู่ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
ปฏิบตั หิ นา้ ที่ ผู้อำนวยกลุ่มส่งเสรมิ การศึกษาทางไกล
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร
สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาอตุ รดิตถ์ เขต 1
10. นายอินสวน สาธุเม ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ ปฏบิ ัติหน้าที่ คณะทำงาน
ผอู้ ำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา
สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาฬสินธ์ุ เขต ๑
11. นายพนิ จิ เช้ือแพ่ง ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ ปฏิบตั ิหน้าที่ คณะทำงาน
ผู้อำนวยการกลุ่มนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา
สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2
/12. นางสาวกงิ่ นภา....



12. นางสาวกงิ่ นภา สกุลต้ัง ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ ปฏิบัตหิ น้าท่ี คณะทำงาน
ผ้อู ำนวยการกลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา
สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเลย เขต ๑
13. นางอมรรัตน์ ศรีวิเศษ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ ปฏิบตั หิ น้าที่ คณะทำงาน
ผูอ้ ำนวยการกลุ่มนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต 2
14. นางสาวหฤทยั วรรทมาตร์ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาชมุ พร เขต 1
15. นางสพุ ิชา เนตรวรนันท์ ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 4
16. นางสาวรตั นชนก รัตนภมู ิ ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3
17. วา่ ที่ ร.ต.หญงิ เสาวลกั ษณ์ สินสมุทร์ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพจิ ิตร เขต 2
18. นางณฐั พร พ่วงเฟื่อง ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3
19. นางกัญจนา มีศิริ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 3

20. นางยภุ าพิน ทนึ หาร ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน

สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1

21. นางสดุ ารัตน์ มงคลกลุ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3
22. นางยุวดี ชมุ ปญั ญา ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3

23. นางรชั ณยี ์ เกื้อเดช ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1
24. นายเจนวทิ ย์ อสุ สวิโร ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน

สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสตูล
25. นางสาวศภุ วลั ย์ ชมู ี ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสตูล
26. นางอรณุ วรรณ ไตรสรณะพงษ์ ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม
27. นางอรัญญา มูสีสทุ ธิ์ ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1

28. นายวนิ ยั อสณุ ี ณ อยุธยา ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 1
29. นางจนิ ตนา คงอานนท์ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน

สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแกน่
/30. นางสุภาพรรณ....



30. นางสุภาพรรณ ปรุงชยั ภูมิ ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
31. นายปราโมทย์ เจตนเสน สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาชัยภมู ิ
32. นายพิจารณ์ ดิษฐประชา ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
33. นางสาวกัญญาภัค มูลศรีแกว้
34. นางสาวฉลวย พีรฉตั รปกรณ์ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาสุพรรณบุรี
35. นางสาวประจวบ พุทธวาศรี ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
36. นางสาวรณิดา อนิ นุพฒั น์ สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาเพชรบุรี
37. นางสภุ ัทตรา เพลียหาญ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน
38. นายภาณุวฒั น์ วรพทิ ยเ์ บญจา
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาศรสี ะเกษ ยโสธร
39. นางสาวิตรี วรพิทย์เบญจา ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตลู
40. นายพิเชษฐ์ บุญทวี ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ คณะทำงาน

41. นายวรวิทย์ ไชยวงศ์คต สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาสงขลา สตลู
นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
42. นางสาวสุธาทพิ ย์ เลศิ ลำ้ สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช
43. นางรจุ ิรา มธรุ ส
44. นางสาวพัชริดา เมืองคำ นักจัดการงานท่ัวไปชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
45. นายยอดย่ิง ทองรอด สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำพนู เขต 1
46. นายสุภทั รชัย กระสนิ หอม ครชู ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
โรงเรยี นแจค้ อนวิทยา

สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3
ครชู ำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
โรงเรยี นแจค้ อนวทิ ยา
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3

ครูชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
โรงเรียนทุง่ ชา้ ง
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาน่าน

ครูชำนาญการพิเศษ คณะทำงาน
โรงเรียนเจริญศิลป์ศกึ ษา “โพธคิ์ ำอนุสรณ”์
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร
ศึกษานเิ ทศกช์ ำนาญการ คณะทำงาน

สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร
ศกึ ษานิเทศก์ชำนาญการ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต 2
ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ คณะทำงาน

สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานนทบรุ ี เขต 1
ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1

ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสระบรุ ี เขต 2
/47. นายปริญญา....



47. นายปริญญา อินทรา ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ คณะทำงาน
48. นางสาวศริ ิมาส เจนหัตถการกจิ
49. นางสาวธฤตา ชนะสทิ ธิ์ สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี
50. นายศรัณย์พงศ์ คุ้มวงศ์ ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ คณะทำงาน
51. นางพชิ าพัทธ์ นพคุณรังสฤษดิ์ สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษานนทบรุ ี
52. นางสาวสุขวรรณ ทองสุข ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ คณะทำงาน
53. นายวันเฉลมิ วุฒวิ ศิ ิษฏ์สกุล สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษานครศรธี รรมราช
นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการ คณะทำงาน
54. นางสาวณัฐปวยี ์ บรรยงศิวกลุ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3
55. นางสาวนลิ ประภา วงษา นักวิชาการศึกษาชำนาญการ คณะทำงาน
56. นายศุภฤกษ์ ดำรงวงศ์คำพวง สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาตรัง กระบี่
57. นายดุรงคก์ ร นุม่ เกลย้ี ง นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ คณะทำงาน
58. นายณฐั ดนยั คำวงค์ สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสงิ ห์บรุ ี
59. นายสทุ ธิพงศ์ นาคทรัพย์ ครชู ำนาญการ คณะทำงาน
60. นางสาวธดิ ารตั น์ พาโนมยั โรงเรยี นหาดใหญ่วทิ ยาลยั สมบูรณก์ ุลกนั ยา
61. นางสาวภารวี หริรกั ษ์ สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตูล
62. นางสาวศรณั ยา ยิ่งยวด ศกึ ษานิเทศก์ คณะทำงาน
63. นางสาวชมภูนชุ จันทรแ์ สง สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1
64. นายพงษ์พฒั น์ พร้อมสุขสันต์ ครู โรงเรียนวัดเวตวันธรรมาวาส คณะทำงาน
65. นางสาวกเฌอ วรรณประเสริฐ สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร
ครู โรงเรียนวัดเวตวนั ธรรมาวาส คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร
ครู โรงเรยี นวัดเวตวนั ธรรมาวาส คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
ครู โรงเรยี นสายน้ำทิพย์ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากรงุ เทพมหานคร
ครู โรงเรยี นสายน้ำทิพย์ คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร
ครู โรงเรยี นบ้านหนองบอน (นัยนานนท์อนุสรณ์) คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร
ครู โรงเรียนบา้ นหนองบอน (นัยนานนทอ์ นสุ รณ์) คณะทำงาน
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากรุงเทพมหานคร
ครู โรงเรียนเอกชัย คณะทำงาน
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสมุทรสาคร
ครู โรงเรียนทวธี าภเิ ศก คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
ครู โรงเรยี นสามเสนวทิ ยาลัย คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1
ครู โรงเรยี นโพธสิ ารพทิ ยากร คณะทำงาน
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1
/66. นายวรวุฒิ....



66. นายวรวุฒิ อาจเดช ครู โรงเรียนเทพศริ ินทร์ คณะทำงาน
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
67. นายจักรพงษ์ วงค์อ้าย รองผอู้ ำนวยการ คณะทำงานและเลขานุการ
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
คณะทำงานฝ่ายเลขานุการ
1. นายจักรพงษ์ วงคอ์ ้าย รองผอู้ ำนวยการ ประธานคณะทำงาน
สำนกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
2. นางสณุ สิ าห์ ม่วงคราม ขา้ ราชการบำนาญ กระทรวงศึกษาธกิ าร คณะทำงาน
3. นางพิชชาภา วรวิทยาการ เจ้าพนักงานธุรการอาวุโส คณะทำงาน
สำนักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
4. นางสุจติ รา พิชยั เจ้าพนักงานธรุ การชำนาญงาน คณะทำงาน
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
5. นางสาวมณฑาทิพย์ ศิริสุมทุม นกั จดั การงานทวั่ ไปชำนาญการ คณะทำงาน
สำนักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
6. นายบญุ ช่วย เสมศักดิ์ เจ้าพนักงานธุรการ ส. 4 / หวั หน้า คณะทำงาน
สำนกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
7. นางสาวศรัญญา โชติ พนักงานบนั ทึกข้อมลู คณะทำงาน
สำนกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
8. นางสาวศภุ นิดา ภสู นทิ นักวิชาการศึกษา คณะทำงาน
ศนู ย์ขับเคล่อื นโครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล
9. วา่ ทร่ี ้อยตรีหญิง นิศาลักษณ์ อำนกั มณี นักวิชาการศึกษา คณะทำงาน
ศูนยข์ ับเคลือ่ นโครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล
10. นางสาวศศภิ ัสสร ภาศักดี นกั วิชาการศึกษา คณะทำงาน
ศนู ย์ขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล
11. นายศราวฒุ ิ อามาตมนตรี นกั วิชาการศึกษา คณะทำงาน
ศนู ยข์ ับเคล่ือนโครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล
12. นางสาวปิยฉัตร สิงห์ทองคำ พนักงานจา้ งเหมาบริการ คณะทำงาน
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
13. นายวัฒนพล สกุลพิทักษ์ดี พนักงานจา้ งเหมาบริการ คณะทำงาน
สำนกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
14. นายสพลกิตต์ิ สังข์ทิพย์ นกั วิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ คณะทำงานและเลขานุการ
สำนักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
15. นายฐาปณัฐ อดุ มศรี นักวิชาการศึกษาชำนาญการ คณะทำงานและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร
สำนักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
คณะทำงานฝา่ ยบรรณาธกิ ารกิจ
1. นายจักรพงษ์ วงค์อ้าย รองผอู้ ำนวยการ ประธานคณะทำงาน
สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
2. นางสาวสรรเสรญิ สวุ รรณ์ ข้าราชการบำนาญ กระทรวงศึกษาธิการ คณะทำงาน
3. นายสพลกิตต์ิ สงั ข์ทิพย์ นักวชิ าการศึกษาชำนาญการพิเศษ คณะทำงานและเลขานกุ าร
สำนักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา


Click to View FlipBook Version