กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กุมภาพันธ์ 2566
การจัดการรายกรณี (Case Management) เป็นการจัดบริการเพื่อตอบสนองต่อ สภาพปัญหาและความต้องการจ าเป็นของผู้ใช้บริการและครอบครัว โดยมีผู้จัดการรายกรณี (Case manager) เป็นผู้รับผิดชอบทั้งกระบวนการ เช่น การออกแบบบริการ การจัดการ ทรัพยากร การท างานกับเครือข่าย และการติดตามประเมินผล รวมถึงการพิทักษ์สิทธิ เพื่อให้ ผู้ใช้บริการและครอบครัว สามารถจัดการกับปัญหาของตนเองได้อย่างเหมาะสม ที่ผ่านมา กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดย กรมพัฒนาสังคม และสวัสดิการ มีบทบาทในการจัดโครงการอบรมเสริมความรู้ เรื่อง การจัดการรายกรณี (Case Management) ให้กับกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ เช่น นักสังคมสงเคราะห์ ผู้ปฏิบัติงาน ด้านสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม จากสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ และเจ้าหน้าที่สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงอาสาสมัครพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ให้มีทักษะการท างานเบื้องต้น เข้าใจกระบวนการ ขั้นตอน และสามารถประยุกต์ใช้หลักการของการจัดการรายกรณีได้อย่างถูกต้อง เพื่อให้การ ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมอย่างเป็นระบบและส าเร็จตามเป้าหมาย ภายใต้บทบาท ของผู้จัดการรายกรณี (Case Manager) โดยมีรายละเอียดโครงการอบรมที่หลากหลายและ จัดอบรมให้กับกลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกัน เพื่อให้การจัดโครงการเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมอบรม และเป็นหลักสูตร แกนกลางเกี่ยวกับการจัดการรายกรณี กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ จึงได้รวบรวมข้อมูล โครงการอบรมต่าง ๆ มาจัดท าเป็น “หลักสูตรการจัดการรายกรณี (Case Management)” เล่มนี้ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ที่สนใจน าข้อมูลไปใช้เป็นแนวทางในการจัดโครงการ อบรม โดยน ารูปแบบหลักสูตร หัวข้อองค์ความรู้ วิธีการ ระยะเวลา และการประเมินผลของ โครงการ ไปใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติได้ต่อไป กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กุมภาพันธ์ 2566
รูปแบบหลักสูตรการจัดการรายกรณี (Case Management) 01 หลักสูตรระยะสั้น 03 หลักสูตรการศึกษาด้วยตนเอง E-learning ส าหรับผู้สนใจทั่วไป (50 นาที) 04 1. ชื่อหลักสูตร 05 2. วัตถุประสงค์ 05 3. กลุ่มเป้าหมาย 05 4. วิธีการเรียนรู้ 05 5. โครงสร้างหลักสูตรและขอบเขตเนื้อหา 07 6. การประเมินผลการอบรม 07 7. จบหลักสูตร 08 8. การประเมินผลการใช้หลักสูตร 08 หลักสูตรระยะกลาง 09 หลักสูตรส าหรับกลุ่มผู้ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม 10 หลักสูตรที่ จ านวน 2 วัน (13 ชั่วโมง) 1. ชื่อหลักสูตร 11 2. เหตุผลความจ าเป็น 11 3. วัตถุประสงค์ 12 4. กลุ่มเป้าหมาย/วิทยากร 12 5. วิธีการฝึกอบรม 12 6. โครงสร้างหลักสูตรและขอบเขตเนื้อหา 13 7. การประเมินผลการอบรม 14 8. จบหลักสูตร 14 9. การประเมินผลการใช้หลักสูตร 14 หลักสูตรที่ จ านวน 3 วัน (18 ชั่วโมง) 1. ชื่อหลักสูตร 15 2. เหตุผลความจ าเป็น 15 3. วัตถุประสงค์ 16 4. กลุ่มเป้าหมาย/วิทยากร 16 5. วิธีการฝึกอบรม 16 6. โครงสร้างหลักสูตรและขอบเขตเนื้อหา 17 7. การประเมินผลการอบรม 18 8. จบหลักสูตร 18 9. การประเมินผลการใช้หลักสูตร 18
หลักสูตรส าหรับอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) 19 หลักสูตรที่ จ านวน 15 ชั่วโมง 1. ชื่อหลักสูตร 20 2. เหตุผลความจ าเป็น 20 3. วัตถุประสงค์ 21 4. กลุ่มเป้าหมาย/วิทยากร 21 5. วิธีการฝึกอบรม 21 6. โครงสร้างหลักสูตรและขอบเขตเนื้อหา 22 7. การประเมินผลการอบรม 23 8. จบหลักสูตร 23 9. การประเมินผลการใช้หลักสูตร 23 หลักสูตรที่ จ านวน 21 ชั่วโมง 1. ชื่อหลักสูตร 24 2. เหตุผลความจ าเป็น 24 3. วัตถุประสงค์ 25 4. กลุ่มเป้าหมาย /กลไกการขับเคลื่อน 25 5. วิธีการฝึกอบรม 25 6. โครงสร้างหลักสูตรและขอบเขตเนื้อหา 26 7. การประเมินผลการอบรม 28 8. จบหลักสูตร 28 9. การประเมินผลการใช้หลักสูตร 28 หลักสูตรระยะยาว 29 หลักสูตรส าหรับกลุ่มผู้ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม 30 และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) หลักสูตร 5 เดือน (50 ชั่วโมง) 1. ชื่อหลักสูตร 31 2. เหตุผลความจ าเป็น 31 3. วัตถุประสงค์ 32 4. กลุ่มเป้าหมาย/วิทยากร 32 5. วิธีการฝึกอบรม 32 6. โครงสร้างหลักสูตรและขอบเขตเนื้อหา 34 7. การประเมินผลการอบรม 36 8. จบหลักสูตร 36 9. การประเมินผลการใช้หลักสูตร 37 ภาคผนวก 38 • วิทยากรหลักสูตรการจัดการรายกรณี (Case Management) • เอกสารประกอบหลักสูตรการอบรม คณะผู้จัดท า 41
หลักสูตรการศึกษาด้วยตนเอง E-learning ชื่อหลักสูตร หลักสูตรการศึกษาด้วยตนเอง E-learning ชื่อชุดความรู้ “การจัดการรายกรณี (Case Management)” วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมความรู้และพัฒนาศักยภาพผู้ศึกษาเรียนรู้ ให้สามารถน าความรู้ เกี่ยวกับการจัดการรายกรณี ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และช่วยเหลือ ผู้ประสบปัญหาทางสังคมอย่างมีประสิทธิภาพ ผ่านการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (E-learning) กลุ่มเป้าหมาย ผู้สนใจทั่วไป นักสังคมสงเคราะห์ ผู้ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) วิธีการเรียนรู้ o ผู้ศึกษาเรียนรู้ สามารถศึกษาภาคทฤษฎี ผ่านการเรียนรู้แบบออนไลน์ ช่องทาง YouTube : seniorexpert dsdw หรือ QR Code เป็นชุด ความรู้ประกอบด้วยเนื้อหา จ านวน 5 ตอน โดยผู้ศึกษาสามารถเรียนรู้ ได้ตามอัธยาศัย ไม่จ ากัดเวลา o ผู้ศึกษาเรียนรู้ ท าแบบทดสอบความรู้หลังเรียนรู้ครบ 5 ตอน (Post-Test) เพื่อการปฏิบัติตามแนวทางการจัดการรายกรณี
โครงสร้างหลักสูตรและขอบเขตเนื้อหา ที่มาของการจัดการรายกรณี (Case Management) และแนวคิดการบริหารจัดการของผู้จัดการรายกรณี (Case Manager) 10 นาที ค าจ ากัดความ ประเภท บทบาท และทักษะที่จ าเป็น ของผู้จัดการรายกรณี (Case Manager) ขั้นตอนการท างานของผู้จัดการรายกรณี (Case Manager) ปัจจัยส าคัญที่ส่งผลให้งานของผู้จัดการรายกรณี ประสบความส าเร็จ 10 นาที 20 นาที 10 นาที การประเมินผลการอบรม หลักสูตรการศึกษาด้วยตนเอง E-learning ส าหรับผู้สนใจ ก าหนด หลักเกณฑ์ประเมินผลการใช้หลักสูตรของผู้เข้าศึกษาเรียนรู้ โดยการตรวจสอบ ว่า การเข้าเรียนรู้หลักสูตรฯ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้หรือไม่ ผ่านการ ประเมินความรู้ ความเข้าใจ จากการท าแบบทดสอบหลังการเรียน (Post-Test) หากผู้ศึกษาเรียนรู้ ท าแบบทดสอบผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 90 (18 ข้อ) จะได้รับใบ ประกาศนียบัตรออนไลน์
การประเมินผลการใช้หลักสูตร ผู้เข้าศึกษาเรียนรู้ มีข้อคิดเห็นเพิ่มเติมต่อหลักสูตร ดังนี้ o เป็นหลักสูตรที่สามารถเรียนที่ไหน เวลาไหนก็ได้ สะดวก และสามารถน าไปเก็บแต้มการเรียนรู้ส าหรับวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ได้ o เป็นช่องทางการสื่อสารทางเดียว ท าให้ไม่เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน o การเรียนรู้ออนไลน์ ไม่เหมาะส าหรับผู้ที่ไม่ถนัดในเทคโนโลยี o แบบทดสอบหลังเรียนรู้ค่อนข้างยาก ผู้เรียนรู้ต้องศึกษาเพิ่มเติม จากแหล่งต่าง ๆ หรือมีประสบการณ์การท างานงานด้านสังคมสงเคราะห์ หรือการจัดสวัสดิการสังคมมาก่อน o เกณฑ์ผ่านแบบทดสอบเพื่อได้รับประกาศนียบัตร เป็นเกณฑ์ที่สูง ถึงร้อยละ 90 ควรปรับเกณฑ์ให้ลดลง จบหลักสูตร เมื่อจบหลักสูตรฯ ผู้ศึกษาเรียนรู้ท าแบบทดสอบหลังการเรียน (Post-Test) ถ้าผ่านเกณฑ์ร้อยละ 90 (18 ข้อ) จะได้รับประกาศนียบัตรออนไลน์ (ดังตัวอย่าง)
หลักสูตรส าหรับกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน ด้านสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม ชื่อหลักสูตร โครงการเสริมสร้างความรู้และทักษะผู้จัดการรายกรณี (Case Manager : CM) การส่งเสริมสนับสนุนการจัดสวัสดิการสังคมในระบบการช่วยเหลือทาง สังคม หรือ Social Assistance ซึ่งเป็นหนึ่งในระบบสวัสดิการสังคมไทยใน ปัจจุบัน เป็นการให้ความช่วยเหลือด้วยกระบวนการสังคมสงเคราะห์เฉพาะหน้า ซึ่งกลุ่มเป้าหมายจ าเป็นต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเป็นกระบวนการ เพื่อให้ เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสามารถพึ่งตนเองได้ต่อไป ซึ่งกระบวนการ การพัฒนาคุณภาพชีวิตดังกล่าวจ าเป็นต้องมี “ผู้จัดการรายกรณี” ที่จะเป็น ผู้ดูแลกระบวนการที่มีความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการประสานทรัพยากรและ อื่น ๆ ที่จ าเป็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเป้าหมายอย่างแท้จริง จึงเห็น ควรมีการเสริมสร้างความรู้และทักษะผู้จัดการรายกรณี (Case.Manager::CM) แก่บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่งานด้านสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม เหตุผลความจ าเป็น แก่... - เจ้าหน้าที่กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ที่ปฏิบัติหน้าที่งานด้านสังคมสงเคราะห์ และสวัสดิการสังคม - เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์และ สวัสดิการสังคมในพื้นที่
วิธีการฝึกอบรม o นักสังคมสงเคราะห์ /หรือผู้ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม ในพื้นที่ o เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์ และสวัสดิการสังคมในพื้นที่ o จ านวนประมาณ 30 คนต่อรุ่น o วิทยากร จ านวน 5 คน กลุ่มเป้าหมาย/วิทยากร วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างเสริมความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการเป็นผู้จัดการรายกรณี เพื่อสร้างความเข้าใจต่อบทบาทและแนวทางปฏิบัติในการก ากับ ติดตาม การบริการในฐานะผู้จัดการรายกรณี เพื่อฝึกทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการจัดการรายกรณี ในการช่วยเหลือครัวเรือนเปราะบาง ด าเนินการฝึกอบรมผ่านแอปพลิเคชัน Zoom Cloud Meetings o การศึกษาภาคทฤษฎี ผ่านการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ จัดการรายกรณี (Case Management) และการปฏิบัติงานของ ผู้จัดการรายกรณี (Case Managers) o การแบ่งกลุ่มย่อยฝึกปฏิบัติ โดยเน้นการฝึกทักษะการประยุกต์ กระบวนการจัดการรายกรณี ในการให้ความช่วยเหลือ Case ตัวอย่าง o การอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อเสนอแนะต่อการท างาน "การจัดการ รายกรณี : ความรู้ ทักษะ ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะจากกรณีศึกษา o ท าแบบทดสอบความรู้ก่อนเรียน (Pre-Test) และหลังเรียน (Post-Test) o ท าแบบประเมินความพึงพอใจต่อหลักสูตรการอบรม
โครงสร้างหลักสูตรและขอบเขตเนื้อหา แนวทางการอบรมการจัดการรายกรณี ผ่านกรณีศึกษาจากการปฏิบัติงาน 1 ชั่วโมง แบ่งกลุ่มย่อย อภิปรายกรณีศึกษาที่ 1 ผ่านรูปแบบ Case Conference ผ่านกระบวนการสืบค้นข้อเท็จจริง แนวทางการประเมินสภาวะ และการวางแผน 2 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง อภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ : ข้อเสนอแนะต่อการ ท างาน “การจัดการรายกรณี : ความรู้ ทักษะ ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ จาก 4 กรณีศึกษา 2 ชั่วโมง สรุปผลการระดมความคิดเห็น 1 ชั่วโมง ศึกษาความรู้ภาคทฤษฎี จ านวน 1 ชั่วโมง ฝึกปฏิบัติ จ านวน 9 ชั่วโมง อภิปราย สรุปผล จ านวน 3 ชั่วโมง แบ่งกลุ่มย่อย อภิปรายกรณีศึกษาที่ 4 ผ่านรูปแบบ Case Conference ผ่านกระบวนการสืบค้นข้อเท็จจริง แนวทางการประเมินสภาวะ และการวางแผน แบ่งกลุ่มย่อย อภิปรายกรณีศึกษาที่ 2 ผ่านรูปแบบ Case Conference ผ่านกระบวนการสืบค้นข้อเท็จจริง แนวทางการประเมินสภาวะ และการวางแผน แบ่งกลุ่มย่อย อภิปรายกรณีศึกษาที่ 3 ผ่านรูปแบบ Case Conference ผ่านกระบวนการสืบค้นข้อเท็จจริง แนวทางการประเมินสภาวะ และการวางแผน 2 ชั่วโมง 2 ชั่วโมง
การประเมินผลการอบรม o ระยะเวลาการเข้าอบรม-ฝึกปฏิบัติ-ถอดบทเรียน ครบร้อยละ 100 o ผู้เข้าอบรม ได้รับคะแนนการประเมิน (Post-test) ไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 60 o ผลการประเมินความพึงพอใจต่อโครงการ/วิทยากร/หน่วยงานที่จัดฝึกอบรม ไม่ต่ ากว่าร้อยละ 80 การประเมินผลการใช้หลักสูตร หลักเกณฑ์การประเมินผลการใช้หลักสูตรของผู้เข้าร่วมโครงการ ดังนี้ มีการตรวจสอบว่าการเข้าอบรมหลักสูตรฯ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้หรือไม่ โดยมีรูปแบบการประเมินผล ดังนี้ o การประเมินความรู้ ความเข้าใจ จากการท าแบบทดสอบก่อนและหลัง การอบรม (Pre-Test, Post-Test) o การประเมินทัศนคติต่อการด าเนินงานการจัดการรายกรณี (Case Management) การประยุกต์องค์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงาน และการน าความรู้ไปต่อยอด หรือพัฒนากระบวนการด าเนินงาน โดยแบบติดตามผลหลังการอบรม มีการประเมินความพึงพอใจจากการเข้ารับการอบรม เพื่อน าไปแก้ไขปรับปรุง หลักสูตรโดยมีข้อคิดเห็น ดังนี้ o ควรจัดให้มีการฝึกอบรมในห้องประชุม สามารถรวมกลุ่มและพูดคุยกันได้ เนื่องจากการ อบรมแบบระบบ Zoom Cloud Meetings มีข้อจ ากัดที่ไม่สามารถเข้าร่วมการอบรมได้ อย่างเต็มที่ เนื่องจากมีภารกิจอื่นที่ต้องด าเนินการไปพร้อมกับการอบรม o ควรเพิ่มกิจกรรมสุนทรียสนทนา และเพิ่มหลักสูตรทักษะให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถจัด กิจกรรมนันทนาการ หรือกิจกรรมฟื้นฟูจิตใจผู้ใช้บริการ รวมถึงเพิ่มทักษะเทคนิคการ สื่อสารกับองค์กรภายนอก o ควรเพิ่มทีมสหวิชาชีพเข้าร่วมประชุม เพื่อรับทราบแนวทางการท างานที่ชัดเจนยิ่งขึ้น o ควรมีคลิปวิดีโอตัวอย่างในการลงพื้นที่ปฏิบัติงานจริงให้ผู้เข้าอบรมได้รับชมด้วย o ควรจัดให้มีการอบรมในรูปแบบของการพบปะกัน เน้นการมีส่วนร่วม เพื่อให้ได้เนื้อหาที่ ครบถ้วน และมีสมาธิในการอบรมมากกว่านี้ o ควรจัดท าเป็นหลักสูตรกระบวนการจัดการรายกรณี เนื่องจากสามารถน ามาใช้ในการ ปฏิบัติงานได้จริง จบหลักสูตร ได้รับเกียรติบัตรผ่านการอบรมจากคณะผู้จัดฝึกอบรม
ชื่อหลักสูตร โครงการเสริมสร้างความรู้และทักษะผู้จัดการรายกรณี (Case Manager : CM) เหตุผลความจ าเป็น แก่ผู้ปฏิบัติงานในโครงการดืองันฮาตี การพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับครัวเรือนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การส่งเสริมสนับสนุนการจัดสวัสดิการสังคมในระบบการช่วยเหลือทาง สังคม หรือ Social Assistance ซึ่งเป็นหนึ่งในระบบสวัสดิการสังคมไทยใน ปัจจุบัน เป็นการให้ความช่วยเหลือด้วยกระบวนการสังคมสงเคราะห์เฉพาะหน้า ซึ่งกลุ่มเป้าหมายจ าเป็นต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเป็นกระบวนการ เพื่อให้เกิด การพัฒนาคุณภาพชีวิต และสามารถพึ่งตนเองได้ต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มเป้าหมายที่มีความเปราะบางซ าซ้อน เช่น ผู้ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์ชายแดนใต้ที่ประสบปัญหาทางสังคมซ ้าซ้อน ฯลฯ ซึ่งกระบวนการ การพัฒนาคุณภาพชีวิตดังกล่าวจ าเป็นต้องมี “ผู้จัดการรายกรณี” ที่จะเป็น ผู้ดูแลกระบวนการที่มีความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการประสานทรัพยากรและอื่น ๆ ที่จ าเป็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเป้าหมายอย่างแท้จริง จึงเห็นควรมีการ เสริมสร้างความรู้และทักษะผู้จัดการรายกรณี (Case.Manager.:.CM) แก่ ผู้ปฏิบัติงานในโครงการดืองันฮาตี การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับครัวเรือนใน จังหวัดชายแดนภาคใต้
วิธีการฝึกอบรม o เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม ที่ไม่มีวุฒิการศึกษาด้านสังคมสงเคราะห์ และร่วมปฏิบัติงาน ในโครงการดีองันฮาตี ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ จ านวน 25 คนต่อรุ่น o วิทยากร จ านวน 3 คน กลุ่มเป้าหมาย/วิทยากร วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างเสริมความรู้ ทัศนคติ ทักษะในการเป็นผู้จัดการรายกรณี เพื่อสร้างความเข้าใจต่อบทบาทและแนวทางปฏิบัติในการก ากับ ติดตาม การบริการในฐานะผู้จัดการรายกรณี เพื่อฝึกทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการจัดการรายกรณี ในการช่วยเหลือครัวเรือนเปราะบาง ด าเนินการฝึกอบรมผ่านแอปพลิเคชัน Zoom Cloud Meetings o การศึกษาภาคทฤษฎีผ่านการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ จัดการรายกรณี (Case Management) และการปฏิบัติงานของ ผู้จัดการรายกรณี (Case Manager) o การแบ่งกลุ่มย่อยฝึกปฏิบัติ โดยเน้นการฝึกทักษะการประยุกต์ กระบวนการจัดการรายกรณี ในการให้ความช่วยเหลือ Case ตัวอย่าง o การอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อเสนอแนะต่อการท างาน "การจัดการ รายกรณี : ความรู้ ทักษะ ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะจากกรณีศึกษา o ท าแบบทดสอบความรู้ก่อนเรียน (Pre-Test) และหลังเรียน (Post-Test) o ท าแบบประเมินความพึงพอใจต่อหลักสูตรการอบรม
โครงสร้างหลักสูตรและขอบเขตเนื้อหา แนวทางการอบรมการจัดการรายกรณี ผ่านกรณีศึกษาจากการปฏิบัติงานในพื้นที่ 1 ชั่วโมง อภิปราย กรณีศึกษาที่ 1 ผ่านรูปแบบ Case Conference ผ่านกระบวนการสืบค้นข้อเท็จจริง แนวทางการประเมินสภาวะ และการวางแผน 2 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง อภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ : ข้อเสนอแนะต่อการท างาน “การจัดการรายกรณี : ความรู้ ทักษะ ข้อสังเกตและ ข้อเสนอแนะ จาก 6 กรณีศึกษา 2 ชั่วโมง สรุปผลการระดมความคิดเห็น 1 ชั่วโมง ศึกษาความรู้ภาคทฤษฎี จ านวน 1 ชั่วโมง ฝึกปฏิบัติ จ านวน 13 ชั่วโมง อภิปราย สรุปผล จ านวน 4 ชั่วโมง อภิปรายกรณีศึกษาที่ 4 ผ่านรูปแบบ Case Conference ผ่านกระบวนการสืบค้นข้อเท็จจริงแนวทางการประเมินสภาวะ และการวางแผน อภิปรายกรณีศึกษาที่ 2 ผ่านรูปแบบ Case Conference ผ่านกระบวนการสืบค้นข้อเท็จจริง แนวทางการประเมิน สภาวะ และการวางแผน อภิปรายกรณีศึกษาที่ 3 ผ่านรูปแบบ Case Conference ผ่านกระบวนการสืบค้นข้อเท็จจริง แนวทางการประเมิน สภาวะ และการวางแผน 2 ชั่วโมง 2 ชั่วโมง อภิปรายกรณีศึกษาที่ 5 ผ่านรูปแบบ Case Conference ผ่านกระบวนการสืบค้นข้อเท็จจริงแนวทางการประเมินสภาวะ และการวางแผน อภิปรายกรณีศึกษาที่ 6 ผ่านรูปแบบ Case Conference ผ่านกระบวนการสืบค้นข้อเท็จจริงแนวทางการประเมินสภาวะ และการวางแผน 2 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง
การประเมินผลการอบรม o ระยะเวลาการเข้าอบรม-ฝึกปฏิบัติ-ถอดบทเรียน ครบร้อยละ 100 o ผู้เข้าอบรม ได้รับคะแนนการประเมิน (Post-test) ไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 60 o ผลการประเมินความพึงพอใจต่อโครงการ/วิทยากร/หน่วยงานที่จัดฝึกอบรม ไม่ต่ ากว่าร้อยละ 80 การประเมินผลการใช้หลักสูตร จบหลักสูตร ได้รับเกียรติบัตรผ่านการอบรมจากคณะผู้จัดฝึกอบรม หลักเกณฑ์การประเมินผลการใช้หลักสูตรของผู้เข้าร่วมโครงการ ดังนี้ มีการตรวจสอบว่าการเข้าอบรมหลักสูตรฯ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้หรือไม่ โดยมีรูปแบบการประเมินผล ดังนี้ o การประเมินความรู้ ความเข้าใจ จากการท าแบบทดสอบก่อนและหลัง การอบรม (Pre-Test, Post-Test) o การประเมินทัศนคติต่อการด าเนินงานการจัดการรายกรณี (Case Management) การประยุกต์องค์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงาน และการน าความรู้ไปต่อยอด หรือพัฒนากระบวนการด าเนินงาน โดยแบบติดตามผลหลังการอบรม มีการประเมินความพึงพอใจจากการเข้ารับการอบรม เพื่อน าไปแก้ไขปรับปรุง หลักสูตรโดยมีข้อคิดเห็น ดังนี้ o ควรจัดให้มีการด าเนินการอย่างต่อเนื่อง และเปิดโอกาสในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้กันโดยตรง o ควรจัดกิจกรรมต่อยอดให้กับผู้ปฏิบัติงานและเครือข่าย
หลักสูตรส าหรับกลุ่มอาสาสมัคร พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ชื่อหลักสูตร โครงการพัฒนากลไกอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ในพื นที่ปฏิบัติการทางสังคม เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน เหตุผลความจ าเป็น กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ได้ตระหนักถึงความส าคัญของการส่งเสริม อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ในพื้นที่ปฏิบัติการ ทางสังคม (Social Lab) ตามนโยบายของกระทรวง พม. เพื่อท าหน้าที่ช่วยเหลือ ดูแลกลุ่มเป้าหมายที่ประสบปัญหาความเดือดร้อน ให้สามารถเข้าถึงบริการ และ สวัสดิการสังคมอย่างเหมาะสม โดยประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม และหนุนเสริมการปฏิบัติงานภาคสนามคู่ขนานไป กับ อพม. รวมถึงการพัฒนาศักยภาพการท างานของ อพม. ในการช่วยเหลือ ผู้ประสบปัญหาทางสังคมในพื้นที่มีความซับซ้อน การจัดการรายกรณี (Case Management : CM) จ าเป็นต้องอาศัยทักษะ กระบวนการ วิธีการทาง สังคมสงเคราะห์ และหลักการจัดการรายกรณี ซึ่งแนวคิดการจัดการรายกรณี เป็นกระบวนการท างานอย่างหนึ่งในงานสังคมสงเคราะห์ที่สามารถส่งผลให้การ ช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายเกิดประสิทธิภาพ และความส าเร็จเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น อพม. และเครือข่ายในฐานะผู้ปฏิบัติงาน ที่ไม่มีคุณสมบัติทางวิชาชีพ จึง จ าเป็นต้องได้รับการพัฒนาศักยภาพขั้นพื้นฐานผ่านหลักสูตรการจัดการรายกรณี เพื่อให้มีความรู้ สมรรถนะ ทักษะขั้นพื้นฐาน และเทคนิค ที่หลากหลายด้านอย่าง เหมาะสม
วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย/วิทยากร o อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) และ เครือข่ายภาครัฐและภาคเอกชน จ านวน 60 คน o วิทยากร จ านวน 2 คน เพื่อพัฒนากลไกอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ในพื้นที่ปฏิบัติการ ทางสังคม (Social Lab) ให้ครอบคลุม และเหมาะสม กับสภาพปัญหาและบริบททางสังคม เพื่อเพิ่มศักยภาพอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) เครือข่ายทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ให้มีความรู้ความเข้าใจ และทักษะ ด้านการจัดการรายกรณี (Case Management : CM) เทคนิคการ ปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ การปฏิบัติงานช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมาย การท างานด้านพัฒนาสังคม และการจัดสวัสดิการสังคม ตามภารกิจ ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ วิธีการฝึกอบรม o การศึกษาภาคทฤษฎี ผ่านการบรรยายเกี่ยวกับแนวคิด หลักการ และ ความส าคัญของการจัดบริการครอบครัวรายกรณีในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตอย่างยั่งยืน (Family Case Management) ระบบสวัสดิการและ บริการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นต้น o การแบ่งกลุ่มย่อยฝึกปฏิบัติ (Case Study) จากประสบการณ์จริงในพื้นที่ o ่การถอดบทเรียนการปฏิบัติงาน ออกแบบกระบวนการจัดการรายกรณี ในภาวะวิกฤต o การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนอบรม o ท าแบบทดสอบความรู้ก่อนเรียน (Pre-Test) และหลังเรียน (Post-Test) o ท าแบบประเมินความพึงพอใจต่อหลักสูตรการอบรม
โครงสร้างหลักสูตรและขอบเขตเนื้อหา 1 ชั่วโมง ศึกษาความรู้ภาคทฤษฎี จ านวน 2 ชั่วโมง ฝึกปฏิบัติ จ านวน 10 ชั่วโมง ถอดบทเรียน จ านวน 3 ชั่วโมง แนวคิด หลักการ และความส าคัญของการจัดบริการ ครอบครัวรายกรณี (Family Case Management : FCM) ในการพัฒนา ระบบสวัสดิการและบริการพัฒนาคุณภาพชีวิต 1 ชั่วโมง กระบวนการจัดบริการครอบครัวรายกรณี 2 ชั่วโมง กระบวนการจัดบริการครอบครัวรายกรณีในชุมชน 1 ชั่วโมง ฝึกวิเคราะห์ระบบบริการครอบครัวจากกรณีศึกษา ทักษะและเครื่องมือส าคัญในการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ปัญหาและบริการ การจัดท าแผนบริการ รายครอบครัว 1 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง ทักษะการเผชิญเหตุฉุกเฉินและการเยียวยาตนเองของ ผู้ใช้บริการและครอบครัว 3 ชั่วโมง ถอดบทเรียนการออกแบบกระบวนการจัดการรายกรณี ในภาวะวิกฤติ 1.5ชั่วโมง การเสริมสร้างพลังใจผู้ปฏิบัติงานในภาวะวิกฤติ 1.5ชั่วโมง
การประเมินผลการอบรม o ระยะเวลาการเข้าอบรม-ฝึกปฏิบัติ-ถอดบทเรียน ครบร้อยละ 100 o ผู้เข้าอบรม ได้รับคะแนนการประเมิน (Post-test) ไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 60 o ผลการประเมินความพึงพอใจต่อโครงการ/วิทยากร/หน่วยงานที่จัดฝึกอบรม ไม่ต่ ากว่าร้อยละ 80 การประเมินผลการใช้หลักสูตร จบหลักสูตร ได้รับเกียรติบัตรผ่านการอบรมจากคณะผู้จัดฝึกอบรม หลักเกณฑ์การประเมินผลการใช้หลักสูตรของผู้เข้าร่วมโครงการ ดังนี้ มีการตรวจสอบว่าการเข้าอบรมหลักสูตรฯ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้หรือไม่ โดยมีรูปแบบการประเมินผล ดังนี้ o การประเมินความรู้ ความเข้าใจ จากการท าแบบทดสอบก่อนและหลัง การอบรม (Pre-Test, Post-Test) มีการประเมินความพึงพอใจจากการเข้ารับการอบรม ซึ่งบรรลุตามวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้ แต่ไม่มีข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมอบรม
ชื่อหลักสูตร โครงการอบรมเสริมความรู้ให้กับอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ (อพม.) เรื่อง การจัดการรายกรณี (Case Management) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีเครือข่ายอาสาสมัคร พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ในพื้นที่ทั่วประเทศ ที่มีภารกิจในการ ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อน การจัดสวัสดิการสังคม การพัฒนาสังคม รวมถึงส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิของประชาชนกลุ่มเป้าหมายตามภารกิจของกระทรวง พม. อพม. จึงเป็นเสมือนบุคลากรด่านหน้าที่มีบทบาทในการลงพื้นที่ให้ความช่วยเหลือใน เชิงรุก จึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีองค์ความรู้เบื้องต้นในการท างาน โดยเฉพาะ องค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการรายกรณี (Case Management) และฝึกการเป็นผู้จัดการ รายกรณี เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมได้ตรงจุด ซึ่งการจัดการราย กรณีเป็นการออกแบบบริการ เพื่อให้ผู้ประสบปัญหาทางสังคมที่มีความต้องการจ าเป็น ที่ซับซ้อนได้เข้าถึงแหล่งทรัพยากร ได้รับบริการ ได้รับการบ าบัดรักษา และได้รับสิทธิ จนสามารถท าหน้าที่ทางสังคมได้อย่างเหมาะสม โดยหน่วยงานในสังกัดกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ จะมีบทบาทในการจัด โครงกา รอบรมเส ริมคว ามรู้ให้กับ อพม . เ รื่อง กา รจัดก า รร ายกรณี (Case Management) ให้มีทักษะการท างานเบื้องต้น เข้าใจขั้นตอนต่าง ๆ และสามารถ ประยุกต์ใช้หลักการของการจัดการรายกรณีได้อย่างถูกต้อง เพื่อการช่วยเหลือผู้ประสบ ปัญหาทางสังคมอย่างเป็นระบบและส าเร็จตามเป้าหมาย รวมถึงมีบทบาทในฐานะ พี่เลี้ยงคอยให้ค าแนะน าปรึกษาแก่ อพม. ในการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม จึงได้จัดท า “แนวทางการจัดโครงการอบรมเสริมความรู้ให้กับอาสาสมัครพัฒนา สั งค มแ ล ะค ว ามมั่นค งขอ งมนุษย์ (อพม.) เ รื่ อ ง ก า ร จัด ก า ร ร า ย ก รณี (Case Management)” เพื่อให้หน่วยงานในสังกัดกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ น าข้อมูลที่ได้รับไปใช้เป็นแนวทางในการจัดโครงการต่อไป เหตุผลความจ าเป็น
วิธีการฝึกอบรม o การเสริมความรู้ภาคทฤษฎีผ่านการบรรยาย/อภิปรายให้ความรู้เกี่ยวกับ กระบวนการจัดการรายกรณี (Case Management) และการปฏิบัติงาน ของผู้จัดการรายกรณี (Case Manager) โดยใช้สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ o แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ ระหว่างผู้เข้ารับการอบรม กับวิทยากร มอบหมายงานรายบุคคล (ตอบค าถาม/แบบทดสอบ/ค้นคว้า) o การฝึกการคิดวิเคราะห์ จากการถาม-ตอบ o การฝึกปฏิบัติงาน เรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริงและการอภิปรายกรณีศึกษา เน้นการน าบทเรียนและประสบการณ์ไปสู่การปฏิบัติจริง น าข้อมูลแลกเปลี่ยน เรียนรู้กับเจ้าหน้าที่ การน าเสนอข้อมูล/ผลงาน (ด้วยวาจาและสื่อ/โปสเตอร์) o การถอดบทเรียนการปฏิบัติงาน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ตอบค าถาม วิเคราะห์ปัญหา และน าเสนอข้อมูล/ผลงานด้วยวาจาและสื่อต่าง ๆ กลุ่มเป้าหมาย/กลไกการขับเคลื่อน กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) จ านวนประมาณ 20 คน กลไกการขับเคลื่อน ได้แก่ หน่วยงานในสังกัดกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ อพม. และภาคีเครือข่ายในพื้นที่ วัตถุประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานในสังกัดกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ รับทราบหัวข้อ องค์ความรู้ วิธีการ ระยะเวลา และการประเมินผลโครงการ เข้าใจและปฏิบัติ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้หน่วยงานในสังกัดกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ น าข้อมูลที่ได้รับไปใช้ เป็นแนวทางในการจัดโครงการอบรมเสริมความรู้ให้กับอาสาสมัครพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) เรื่อง การจัดการรายกรณี (Case Management)
ศึกษาความรู้ภาคทฤษฎี จ านวน 12 ชั่วโมง ฝึกปฏิบัติ จ านวน 6 ชั่วโมง ถอดบทเรียน จ านวน 3 ชั่วโมง 1. ที่มาของการท างานการจัดการรายกรณี (Case Management) 2. แนวคิดการบริหารจัดการของผู้จัดการรายกรณี (Case Manager) 3. ค าจ ากัดความ - ความหมายของการจัดการรายกรณี (Case Management) และผู้จัดการรายกรณี(Case Manager) 4. ประเภทของผู้จัดการรายกรณี 1) ผู้จัดการรายกรณี(Case Manager : CM) 2) ผู้จัดการรายกรณีในชุมชน (Community Case Manager : CCM) 5. บทบาทการท างานของของผู้จัดการรายกรณี (Case Manager) และบทบาทการท างานของผู้จัดการรายกรณีในชุมชน (Community Case Manager) 1) การรับรู้เรื่องราวหรือปัญหาของบุคคลที่เผชิญกับปัญหาด้านต่าง ๆ และไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างเหมาะสม 2) การแสวงหาข้อมูล ข้อเท็จจริงในพื้นที่ชุมชน การลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน 3) การประเมินปัญหา ความเร่งด่วน ได้แก่ ประเมินปัญหาสุขภาพกาย จิต อารมณ์ ประเมินครอบครัว ญาติพี่น้อง และประเมินทรัพยากร หรือสวัสดิการที่ได้รับ 4) จัดประชุมแลกเปลี่ยนถึงแนวทางการช่วยเหลือกับหน่วยงาน ในชุมชน 5) การส่งต่อไปใช้บริการอื่น ๆ ที่จ าเป็น 6) การช่วยติดตามเฝ้าระวังความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ 3 ชั่วโมง โครงสร้างหลักสูตรและขอบเขตเนื้อหา หมวดที่ การเสริมความรู้ภาคทฤษฎี 12 ชั่วโมง 6. ทักษะที่จ าเป็นของผู้จัดการรายกรณี (Case Manager) 1. มีความรู้เกี่ยวกับระเบียบ/กฎหมาย 2. มีทักษะด้านการสื่อสาร การประสานงาน 3. มีทักษะการค้นหาแหล่งทรัพยากรและเครือข่าย 1 ชั่วโมง
7. ขั้นตอนการท างานของผู้จัดการรายกรณี (Case Manager) และกรณีศึกษา 8. ปัจจัยส าคัญที่ส่งผลให้งานของผู้จัดการรายกรณี ประสบความส าเร็จ 9. การประยุกต์ใช้การจัดการรายกรณีในโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน และการใช้งานสมุดพกครอบครัว เรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง และการอภิปรายกรณีศึกษาจริง บทบาทของอพม.ในพื้นที่ หัวข้อการถอดบทเรียน 1. วิธีการท างาน / เทคนิคการสอบข้อเท็จจริง 2. สิ่งที่ได้ในเชิงบวก จากการท างาน/ลงพื้นที่ 3. ปัญหาหรืออุปสรรค จากการท างาน/ลงพื้นที่ 4. เทคนิค/แนวทางการจัดการหรือการแก้ไขปัญหา 5. ข้อคิดเห็นต่อแนวทางการด าเนินงานในอนาคต เพื่อพัฒนาการท างาน หรือแก้ไขสิ่งที่บกพร่อง 4 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง 6 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง หมวดที่ การเสริมความรู้ภาคทฤษฎี (ต่อ) 12 ชั่วโมง หมวดที่ การฝึกปฏิบัติงาน 6 ชั่วโมง หมวดที่ การถอดบทเรียนการปฏิบัติงาน 3 ชั่วโมง
การประเมินผลการใช้หลักสูตร จบหลักสูตร ได้รับเกียรติบัตรผ่านการอบรมจากคณะผู้จัดฝึกอบรม หลักเกณฑ์การประเมินผลการใช้หลักสูตรของผู้เข้าร่วมโครงการ ดังนี้ มีการตรวจสอบว่าการเข้าอบรมหลักสูตรฯ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้หรือไม่ โดยมีรูปแบบการประเมินผล ดังนี้ o การประเมินความรู้ ความเข้าใจ จากการท าแบบทดสอบก่อนและหลัง การอบรม (Pre-Test, Post-Test) มีการประเมินความพึงพอใจจากการเข้ารับการอบรม ซึ่งบรรลุตามวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้ แต่ไม่มีข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมอบรม การประเมินผลการอบรม o ระยะเวลาการเข้าอบรม-ฝึกปฏิบัติ-ถอดบทเรียน ครบร้อยละ 100 o ผู้เข้าอบรม ได้รับคะแนนการประเมิน (Post-test) ไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 60 o ผลการประเมินความพึงพอใจต่อโครงการ/วิทยากร/หน่วยงานที่จัดฝึกอบรม ไม่ต่ ากว่าร้อยละ 80
ชื่อหลักสูตร โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) และที่ปรึกษาภาคสนามหลักสูตร ผู้จัดการรายกรณี เหตุผลความจ าเป็น สถานการณ์ทางสังคมในปัจจุบัน และโรคอุบัติใหม่ ส่งผลกระทบมายังกลุ่มผู้เปราะบาง และ คนในชุมชน จากข้อมูลผู้ประสบปัญหาเดือดร้อน มิติความยากจน พบว่า มีกลุ่มประชาชนที่มีรายได้ไม่ เพียงพอแก่การยังชีพ กว่า 9.1 ล้านคน (กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ, 2564) นอกจากนี้ ยังมีกลุ ่ม เปราะบางอื ่น ๆ ที ่อยู่ในความคุ้มครอง ดูแลของรัฐอีกกว ่า 6,300 คน (กองคุ้มครองสวัสดิภาพและ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต, 2565) โดยที ่ประชาชนดังกล ่าว ส ่วนใหญ ่พบว ่า ไม ่ทราบถึงสิทธิ ขั้นตอน กระบวนการ และแหล่งทรัพยากรที่รัฐจะสนับสนุนได้ หรือแหล่งข้อมูลในอันจะน ามาเป็นเครื่องมือในการ พิทักษ์สิทธิตนเอง และครอบครัว ในขณะที่ภาครัฐ ยังมีพันธกิจและข้อจ ากัดจ านวนมากในการปฏิบัติ หน้าที่ จึงท าให้อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ถูกกล่าวถึงมากขึ้นในปัจจุบัน ในฐานะกลไกระดับภาคพื้นที ่ ชุมชน และสังคม ซึ ่งปัจจุบันมีจ านวนกว ่า 200,000 คน (กองกิจการ อาสาสมัครและภาคประชาสังคม, 2565) ซึ่งมีภารกิจในการชี้เป้า เฝ้าระวังกลุ่มเป้าหมาย และเป็นกลไก ในการช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายในเบื้องต้น การให้ค าแนะน าด้านสิทธิ สวัสดิการ ด้วยภารกิจของ อพม . ดังกล่าวจ าเป็นต้องอาศัยทักษะ กระบวนการ วิธีการทางสังคมสงเคราะห์ และหลักการจัดการรายกรณี โดยที่ในปัจจุบัน ปัญหาที่ประชาชนและบุคคลในครอบครัว เป็นปัญหาที่มีความเชื่อมโยงกัน มองแยกส่วน ไม่ได้ ดังนั้น แนวความคิดด้านการจัดการรายกรณี จึงเป็นแนวคิดที่จะหนุนเสริมการปฏิบัติหน้าที่ของ บุคคลากร หรือก าลังพลที่จะไปช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้ ดังนั้น อพม. จึงจ าเป็นต้องได้รับการพัฒนาศักยภาพขึ้นพื้นฐานผ่านหลักสูตร ผู้จัดการราย กรณี เพื่อให้มีความรู้ สมรรถนะ และทักษะขั้นพื้นฐาน ไม่ว่าจะเป็น ความรู้ทางกฎหมาย มาตรฐานวิชาชีพ มีทักษะ การคิด การสื่อสาร การประสานงาน การเจรจาต่อรอง ความสามารถในการด าเนินงานที่ยืดหยุ่น และเชื่อมโยง ทรัพยากรที่มีอยู่ ความสามารถในการท างานกับผู้ให้บริการต่างหน่วยงาน ต่างสาขาอาชีพ ตลอดจน ความ รับผิดชอบและตระหนักถึงจริยธรรม จรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน โดยที่การปฏิบัติงานเป็นกระบวนการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วม เพื่อให้ผู้ไปปฏิบัติจริง ได้ฝึกปฏิบัติ โดยค าแนะน าของที่ปรึกษาภาคสนาม (Supervisor) ที่ ปฏิบัติงานในพื้นที่ ตลอดจนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวิธีการ กระบวนการ ขั้นพื้นฐานของการเป็นผู้จัดการรายกรณี
กลุ่มเป้าหมาย/วิทยากร ผู้ปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ในหน ่วยงาน จ านวน 25 จังหวัด มีบทบาทเป็น ที่ปรึกษาภาคสนาม 25 คน จังหวัดละ 1 คน รวมจ านวน 25 คน อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) จ านวน 25 จังหวัด จังหวัดละ 2 คน รวมจ านวน 50 คน รวมจ านวนทั้งสิ้น 75 คน วิทยากร จ านวน 5 คน วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) และที่ปรึกษาภาคสนาม ให้สามารถประเมินสภาพปัญหาของ ผู้ใช้บริการให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานเป็นผู้จัดการรายกรณี เพื่อเสริมสร้างความรู้พื้นฐานด้านสังคมสงเคราะห์ให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ตลอดจน การมีทักษะ และเทคนิคส าคัญในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การช่วยเหลือ คุ้มครอง ผู้ใช้บริการกลุ่มเป้าหมายและครอบครัว ได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิธีการฝึกอบรม แบ่งเป็น 5 กิจกรรม การปฐมนิเทศ แบ่งเป็น 2 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ (1) ฝึกอบรมที่ปรึกษาภาคสนาม (2) ฝึกอบรมอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์(อพม.) รูปแบบการอบรม o การศึกษาภาคทฤษฎี ผ่านการเรียนรู้ผ่านการบรรยาย/อภิปราย o การฝึกปฏิบัติ ผ่านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์การเรียนรู้ โดยใช้กรณีศึกษา o ท าแบบทดสอบก่อนฝึกอบรม (Pre-Test) o การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนอบรม o การน าเสนอข้อมูล/ผลงานด้วยวาจาและสื่อต่าง ๆ
กระบวนการปฏิบัติ รูปแบบการอบรม o การฝึกปฏิบัติ โดยการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง และการอภิปรายกรณีศึกษาจริง o การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนอบรม การมัชฌิมนิเทศ รูปแบบการอบรม o การศึกษาภาคทฤษฎี ผ่านการเรียนรู้ผ่านการบรรยาย/อภิปราย o การฝึกปฏิบัติ ผ่านการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สะท้อนบทเรียน โดยใช้กรณีศึกษา o การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนอบรม o การน าเสนอข้อมูล/ผลงานด้วยวาจาและสื่อต่าง ๆ การปัจฉิมนิเทศ รูปแบบการอบรม o การสะท้อนบทเรียน กรณีศึกษาที่ได้ฝึกปฏิบัติในฐานะผู้จัดการรายกรณี ในกระบวนการสุนทรียสนทนา o การถอดบทเรียนการปฏิบัติงาน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ตอบค าถาม วิเคราะห์ปัญหา และน าเสนอข้อมูล/ผลงานด้วยวาจาและสื่อต่าง ๆ o การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนอบรม o การน าเสนอข้อมูล/ผลงานด้วยวาจาและสื่อต่าง ๆ o ท าแบบทดสอบความรู้หลังอบรม (Post-Test) o ท าแบบประเมินความพึงพอใจ การประเมินและติดตามผล o การสุ่มลงพื้นที่ประเมินผลการด าเนินงานในระดับพื้นที่ หรือ การประชุมติดตามผลการด าเนินงานและประเมินการปฏิบัติงาน ผ่านระบบ Zoom หรือการส่งแบบประเมินติดตามผลการด าเนินงาน ภายหลังการฝึกอบรม
โครงสร้างหลักสูตรและขอบเขตเนื้อหา ศึกษาความรู้ภาคทฤษฎี จ านวน 11 ชั่วโมง ฝึกปฏิบัติ จ านวน 29 ชั่วโมง กระบวนการปฏิบัติในพื้นที่ จ านวน 1 เดือน สรุป/ถอดบทเรียน จ านวน 10 ชั่วโมง ประเมินและติดตามผล จ านวน 1 เดือน ความรู้และบทบาทที่ปรึกษาภาคสนาม หลักสูตร ผู้จัดการรายกรณี 3 ชั่วโมง ขั้นตอนและกระบวนการในการนิเทศงานของที่ปรึกษาภาคสนาม ทักษะ การจัดการ และการติดตามประเมินผลการนิเทศงานภาคสนาม 6 ชั่วโมง แนวทางการจัดการรายกรณี ผ่านกรณีศึกษาจากการปฏิบัติงาน 2 ชั่วโมง กระบวนการสืบค้นข้อเท็จจริง การประเมินสภาวะ และการวางแผน ผ่านกรณีศึกษาที่ 1 3 ชั่วโมง กระบวนการสืบค้นข้อเท็จจริง การประเมินสภาวะ และการวางแผน ผ่านกรณีศึกษาที่ 4 3 ชั่วโมง น าเสนอ อภิปรายแลกเปลี่ยน และสรุปผลการอบรมภาพรวม 2 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง กระบวนการสืบค้นข้อเท็จจริง การประเมินสภาวะ และการวางแผน ผ่านกรณีศึกษาที่ 2 3 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 1 การปฐมนิเทศฝึกอบรม อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (3 วัน) สรุปผลการฝึกอบรมประจ าวัน และท าความรู้จัก ที่ปรึกษาภาคสนาม ชี้แจงการติดตามประเมินผล และก าหนดการฝึกอบรม และฝึกภาคปฏิบัติ 1 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 1 การปฐมนิเทศฝึกอบรม ที่ปรึกษาภาคสนาม (2 วัน) กระบวนการสืบค้นข้อเท็จจริง การประเมินสภาวะ และการวางแผน ผ่านกรณีศึกษาที่ 3 3 ชั่วโมง
สะท้อนบทเรียน กรณีศึกษาที่ได้ฝึกปฏิบัติในฐานะผู้จัดการรายกรณี ในกระบวนการสุนทรียสนทนา 3 ชั่วโมง น าเสนอ อภิปรายแลกเปลี่ยน ประเมินผลโครงการ และสรุปผล การอบรมภาพรวม 1 เดือน 1 เดือน กิจกรรมที่ 3 การมัชฌิมนิเทศ (2 วัน) กระบวนการ ขั้นตอน วิธีการในการประสานทรัพยากร ในฐานะผู้จัดการรายกรณี 3 ชั่วโมง แบ่งกลุ่ม อภิปรายและระดมความคิดเห็น สะท้อนบทเรียน กรณีศึกษาในกระบวนการจัดการรายกรณี 3 ชั่วโมง น าเสนอ อภิปรายแลกเปลี่ยน และสรุปผลการอบรมภาพรวม 3 ชั่วโมง 2 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 4 สรุปและถอดบทเรียน ปัจฌิมนิเทศ (2 วัน) สะท้อนบทเรียน กรณีศึกษาที่ได้ฝึกปฏิบัติในฐานะผู้จัดการรายกรณี ในกระบวนการสุนทรียสนทนา 3 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 5 การประเมินและติดตามผล หมายเหตุ : หลักสูตรนี้เหมาะส าหรับผู้ที่มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการรายกรณี (Case Management) สุ่มลงพื้นที่ประเมินผลการด าเนินงานในระดับพื้นที่ หรือการประชุม ติดตามผลการด าเนินงานและประเมินการปฏิบัติงาน ผ่านระบบ Zoom หรือการส่งแบบประเมินติดตามผลการด าเนินงานภายหลัง การฝึกอบรม อพม.ที่ผ่านการปฐมนิเทศ กลับไปยังพื นที่ และคัดเลือก กลุ่มเป้าหมาย เพื่อด้าเนินการตามกระบวนการจัดการรายกรณี กิจกรรมที่ 2 กระบวนการปฏิบัติ แบ่งกลุ่ม อภิปรายและระดมความคิดเห็น สะท้อนบทเรียน กรณีศึกษาในกระบวนการจัดการรายกรณี ท าแบบทดสอบหลังฝึกอบรม (Post-Test) จัดท าท าเนียบผู้เข้ารับการฝึกอบรม 3 ชั่วโมง
การประเมินผลการอบรม เมื่อจบหลักสูตรตามเกณฑ์ที่ก าหนด ผู้เข้าอบรมจะได้รับประกาศนียบัตร (ดังตัวอย่าง) o ระยะเวลาการเข้าอบรม-ฝึกปฏิบัติ-ถอดบทเรียน ครบร้อยละ 100 o ผู้เข้าอบรมได้รับคะแนนการประเมิน (Post-test) ไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 60 o ที่ปรึกษาภาคสนาม มีความรู้ด้านการจัดการรายกรณี และสามารถให้ค าแนะน าปรึกษา แก่อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ร้อยละ 100 o อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผ่านการอบรม มีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 o ผลการประเมินความพึงพอใจต่อโครงการ/วิทยากร/หน่วยงานที่จัดฝึกอบรม ไม่ต่ ากว่าร้อยละ 80
การประเมินผลการใช้หลักสูตร หลักเกณฑ์การประเมินผลการใช้หลักสูตรของผู้เข้าร่วมโครงการ ดังนี้ มีการตรวจสอบว่าการเข้าอบรมหลักสูตรฯ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้ หรือไม่ โดยมีรูปแบบการประเมินผล ดังนี้ o การประเมินความรู้ ความเข้าใจ จากการท าแบบทดสอบก่อนและหลัง การอบรม (Pre-Test, Post-Test) o การประเมินทัศนคติต่อการด าเนินงานการจัดการรายกรณี (Case Management) การประยุกต์องค์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงาน และการน าความรู้ไปต่อยอด หรือพัฒนากระบวนการด าเนินงาน โดยแบบติดตามผลหลังการอบรม มีการประเมินความพึงพอใจจากการเข้ารับการอบรม เพื่อน าไปแก้ไขปรับปรุง หลักสูตรโดยมีข้อคิดเห็น ดังนี้ o ควรมีการจัดอบรมทบทวนความรู้เป็นระยะ o ควรมีการลงพื้นที่จริงและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพื้นที่อื่น ๆ o ควรมีประชุมติดตามผลการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล o ควรเพิ่มวันอบรมและจัดอบรมรุ่นแรกอย่างต่อเอง เพื่อพัฒนาศักยภาพ จะได้น าไปสอน อพม. ในพื้นที่ o ควรมีรุ่นต่อไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาศักยภาพ อพม. ให้เป็น cm ที่มีคุณภาพ o ควรจัดกิจกรรมแบบนี้อีก โดยเน้นผู้เข้าร่วมอบรมรายเดิม เพื่อเพิ่มเติมการพัฒนาศักยภาพ o ควรมีประชุมติดตามผลการด าเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล o การอบรมมีประโยชน์มาก สามารถน าองค์ความรู้ไปใช้ในการท างานได้จริง o สถานที่ดี เนื้อหาเหมาะสม วิทยากรบรรยายเข้าใจง่าย o จัดได้ดีมาก ระยะเวลาก็ดี สถานที่ก็สะดวกในการเดินทาง
คุณดารณี นฤดมพงศ์ ผศ. โสภา อ่อนโอภาส รศ. อภิญญา เวชยชัย ผศ. อัญมณี บูรณกานนท์ คุณณัฐวดี ณ มโนรม อาจารย์สุพัตรา ภานุทัต ผศ.ดร. มาดี ลิ่มสกุล พ.ต.อ.หญิง ชุติมา พันธุ ดร. นุชนาฎ ยูฮันเงาะ