The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนบริหารความเสี่ยงสหกรณ์ออมทรัพย์ครูพัทลุง จำกัด ประจำปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sitthichai.32365, 2021-12-15 22:03:49

แผนบริหารความเสี่ยงสหกรณ์ออมทรัพย์ครูพัทลุง จำกัด ประจำปี 2564

แผนบริหารความเสี่ยงสหกรณ์ออมทรัพย์ครูพัทลุง จำกัด ประจำปี 2564

Keywords: Risk

คำนำ

ด้วยมติคณะกรรมการดาเนินการ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพัทลุง จากัด ชุดท่ี 62 เม่ือคราวประชุม
ครั้งท่ี 12/2564 วันท่ี 20 กันยายน 2564 ให้มีการจัดทาแผนบริหารความเส่ียงเพื่อให้เป็นไปตามกฎกระทรวงการ
ดาเนินงานและการกากับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเน่ียน พ.ศ. 2564 และระเบียบนายทะเบียน
ว่าด้วยการรับจดทะเบียนข้อบังคับเก่ียวกับคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงและคณะอนุกรรมการการล งทุน
พ.ศ.2564 จึงให้มีการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูพัทลุง จากัด และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
แผนบริหารความเส่ียงประจาปี 2564 เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์กับบุคลากร ในการจัดการบริหารความเส่ียงและ
พฒั นาการปฏบิ ตั ิงานของสหกรณอ์ อมทรัพย์ครูพทั ลุง จากดั ตอ่ ไป

อนกุ รรมการบรหิ ารความเสี่ยง
สหกรณอ์ อมทรพั ย์ครูพทั ลุง จำกดั

สำรบญั หนำ้

เรอ่ื ง 1
5
บทที่ 1 บทนา 13
บทที่ 2 หลักการและแนวคิดการบริหารความเสีย่ ง 13
บทท่ี 3 แผนบรหิ ารความเส่ยี งของสหกรณ์ออมทรพั ย์ครพู ัทลงุ จากัด 16
21
3.1 แผนบริหารความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) 24
3.2 แผนบริหารความเส่ยี งด้านเครดติ (Credit Risk) 28
3.3 แผนบรหิ ารความเส่ยี งด้านการตลาด (Market Risk) 34
3.4 แผนบรหิ ารความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) 38
3.5 แผนบรหิ ารความเส่ียงด้านปฏบิ ตั ิการ (Operational Risk)
บทที่ 4 การติดตามประเมนิ ผล
ภาคผนวก

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั

ปัจจุบันการดาเนินงานของสหกรณ์จะต้องเผชิญกับสภาวะความไม่แน่นอน ท้ังจากปัจจัยภายในและ
ภายนอกองค์กร ซ่ึงก่อให้เกิดเหตุการณ์ท้ังท่ีเป็นความเส่ียงและโอกาส (Risk and Opportunities) ต่อองค์กร
โดยความเสี่ยงจะส่งผลกระทบในเชิงลบในขณะท่ีโอกาสจะเป็นตัวสร้างมูลค่าต่อองค์กร ดังน้ันการบริหารความ
เส่ียงจึงเป็นเครื่องมือที่สาคัญท่ีจะช่วยป้องกันรักษาและส่งเสริมให้สหกรณ์ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์และ
เป้าหมาย นอกจากน้ีการบริหารความเสี่ยงเป็นองค์ประกอบสาคัญของการกากับดูแลกิจการท่ีดี โดยมุ่งเน้นให้
ทุกกระบวนการดาเนินงานด้วยความโปร่งใสมีประสิทธิภาพ ส่งผลดีต่อภาพลักษณ์และการสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้แก่
สหกรณ์ท้ังในระยะส้ันและระยะยาว ดังน้ันการบริหารความเสี่ยง จึงเป็นสิ่งท่ีคณะกรรมการดาเนินการและ
เจ้าหน้าที่ทุกคนของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูพัทลุง จากัด ต้องให้ความสาคัญและถือปฏิบัติตามแนวทางท่ีกาหนดไว้
ในแผนการบริหารความเส่ยี ง เพอื่ ทาใหก้ ารดาเนินงานประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายและวตั ถุประสงคใ์ นทุกระดับ
ของสหกรณ์

ประกอบกับกฎกระทรวงการดาเนินงานและการกากับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และเครดิตยูเน่ียน
พ.ศ. 2564 ข้อ หมวด 2 ข้อ 6 และข้อ 7 กาหนดให้สหกรณ์ขนาดใหญ่แต่งต้ังคณะอนุกรรการบริหารความเส่ียง
และสหกรณ์ที่มีสัดส่วนการลงทุนมากกว่าร้อยละยี่สิบของทุนเรือนหุ้นและทุนสา รองหรือเงินลงทุนมากกว่าหนึ่ง
พันล้านบาทให้แต่งต้ังคณะอนุกรรมการการลงทุน โดยให้มีองค์ประกอบและอานาจหน้าที่ตามท่ีกาหนดไว้ใน
ข้อบังคับ ระเบียบนายทะเบียน ว่าด้วยการรับจดทะเบียนข้อบังคับเก่ียวกับคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง
และคณะอนุกรรมการการลงทุน พ.ศ. 2564 ให้ความเห็นไว้ดังนี้ 1) ข้อบังคับสหกรณ์ใดขัดหรือแย้งกับระเบียบน้ี
ให้สหกรณ์แก้ไขข้อบังคับคราวประชมุ ใหญ่ที่จะมีข้ึนในครั้งแรกถัดจากวันที่ระเบียบนี้บงั คับใช้ 2) หากสหกรณ์ใดมี
เหตุอันไม่อาจดาเนินการให้ท่ีประชุมใหญ่แก้ไขข้อบังคับทัน ให้สหกรณ์ดาเนินการแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับในการ
ประชุมใหญ่คร้ังถัดไป 3) สหกรณ์ใดท่ีต้องดาเนินการแต่ง คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงยังไม่ได้กาหนดให้
เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ใหน้ าความตามระเบยี บน้ีและรายการตามกรอบทน่ี ายทะเบียนสหกรณ์ให้ความเหน็ ชอบถือ
ใช้เปน็ สว่ นหน่งึ ของข้อบังคับไปพลางก่อนโดยอนุโลม

หลักเกณฑส์ หกรณ์สีขาวด้วยธรรมภบิ าล (9 หลกั ) ในหลกั ความรับผดิ ชอบ (Accountability) กาหนดให้
สหกรณ์จัดให้มีการบริหารจัดการด้านการบริหารความเสี่ยงในสหกรณ์มีการระบุ/บ่งชี้ ความเสี่ยงขององค์กร
กาหนด ให้แยกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ความเสี่ยง ด้านการดาเนินงาน
(Operational Risk) ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) และความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
(Compliance Risk) (S-O-F-C) หรือความเสี่ยงด้านอ่ืน ๆ โดยการจัดทาแผนบริหารความเส่ียง เพื่อเป็นแนวทาง
ให้บุคลากรในสหกรณ์ได้รับรู้และถือปฏิบัติเพื่อป้องกันหรือลดความเส่ียงท่ีจะเกิดจากการดาเนินงานในปีบัญชีน้ัน
ๆ ซงึ่ ประกอบด้วย

1) โครงสรา้ งของการบริหารความเสีย่ งของสหกรณ์
2) นโยบายวัตถุประสงค์ขอบเขตการดาเนินงานระยะเวลาและกิจกรรมในการดาเนินการรวมทั้งการ
กาหนดผรู้ ับผิดชอบในการดาเนนิ งาน
3) การระบุความเสย่ี งของสหกรณ์และ
4) การระบุถึงระดับความเสยี หายท่ีอาจเกดิ จากความเสี่ยงแต่ละประเภท

1

5) การกาหนด/ คดั เลอื กวิธกี ารจัดการต่อความเสี่ยงทรี่ ะบุไว้โดยพจิ ารณาถึงผลกระทบและโอกาสที่เกิด
และระดบั ความเสยี่ งท่ียอมรบั ได้ของความเส่ียงทีเ่ หลือของสหกรณ์และ

6) การทารายงานการบรหิ ารความเส่ยี งและการประเมินผลของการบรหิ ารความเสีย่ งดงั นน้ั การบริหาร
ความเสย่ี ง จึงเป็นส่ิงทีค่ ณะกรรมการดาเนนิ การและเจา้ หน้าที่ทุกคนของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูพทั ลงุ จากัด ต้องให้
ความสาคัญและถือปฏิบัติตามแนวทางที่กาหนดไว้ในแผนการบริหารความเส่ียง เพ่ือทาให้การดาเนินงาประสบ
ผลสาเรจ็ ตามเปา้ หมายและวตั ถปุ ระสงคใ์ นทกุ ระดบั ของสหกรณ์

1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องสหกรณอ์ อมทรัพย์ครูพัทลงุ จำกัด

ขอ้ บังคับสหกรณ์ออมทรพั ย์ครูพัทลุง จำกัด พ.ศ.25619 หมวด 2 ขอ้ 2 ได้กาหนดวตั ถุประสงค์ของ
สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพัทลุง ดงั นี้

1) สง่ เสริมใหส้ มาชิกออมทรัพย์
2) ส่งเสริมการชว่ ยเหลอื ตนเองและชว่ ยเหลือซงึ่ กันและกนั ในหมู่สมาชิก
3) ใหบ้ รกิ ารทางการเงินแก่สมาชิก
4) จัดหาทุนและบริการสนิ เชื่อเพอ่ื ประกอบอาชีพและการดารงชีพของสมาชิก
5) ร่วมมือกบั สหกรณอ์ นื่ สันนบิ าตสหกรณแ์ หง่ ประเทศไทย ชมุ นมุ สหกรณ์ องคก์ รชุมชน ภาคเอกชน
และหน่วยงานของรฐั เพ่อื ส่งเสริมปรบั ปรงุ กจิ การสหกรณ์

1.3 กำหนดอำนำจกำรกระทำของสหกรณอ์ อมทรัพย์ครพู ัทลงุ จำกดั

1) รับฝากเงนิ จากสมาชิกหรอื สหกรณอ์ ื่นหรอื สมาคมฌาปนกจิ สงเคราะห์
2) จดั หาทนุ เพอื่ ดาเนนิ กิจการตามวตั ถปุ ระสงค์
3) ให้เงินก้แู ก่สมาชิก
4) ใหส้ หกรณ์อ่ืนกยู้ ืมเงนิ
5) ซอ้ื หุ้นของธนาคารซ่ึงมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ให้ความช่วยเหลอื ทางการเงินแกส่ หกรณ์
6) ซอ้ื ห้นุ ของชมุ นมุ สหกรณ์หรอื สหกรณ์อื่น
7) ซ้อื หนุ้ ของสถาบันทปี่ ระกอบธรุ กิจอันทาใหเ้ กิดความสะดวกหรือสง่ เสรมิ ความเจริญของ

กิจการสหกรณ์
8) ซ้อื หลักทรัพย์รัฐบาลหรอื รัฐวสิ าหกจิ
9) ออกตัว๋ สญั ญาใชเ้ งินและตราสารการเงิน
10) ฝากหรือลงทนุ อย่างอ่ืนตามกฎหมายและตามท่ีคณะกรรมการพฒั นาสหกรณแ์ หง่ ชาติกาหนด
11) ดาเนินการใหก้ ู้ยืมเพ่อื การเคหะ
12) ใหส้ วัสดกิ ารและสงเคราะหต์ ามสมควรแกส่ มาชกิ และครอบครัว
13) ใหค้ วามชว่ ยเหลือทางวิชาการแก่สมาชิก
14) ขอรบั ความช่วยเหลอื ทางวชิ าการจากทางราชการ หน่วยงานต่างประเทศ หรอื บุคคลอื่นใด

การกระทาต่างตามทกี่ าหนดในกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

1.4 วัตถปุ ระสงคข์ องกำรบรหิ ำรควำมเสยี่ ง

1) เพ่ือเพ่ิมขีดสมรรถนะของสหกรณ์ให้สามารถปฏิบัติงานได้บรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ และ
เป้าหมาย พฒั นาศักยภาพของบุคลากรให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนักถึงความสาคัญของการบริหาร ความ
เส่ียงและควบคุมภายใน และเข้าใจถึงความเส่ียงด้านต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นกับสหกรณ์และหาวิธีจัดการท่ี เหมาะสมใน
การลดความเสยี่ งให้อยู่ในระดับทสี่ หกรณ์ยอมรับได้

2

2) เพือ่ ใหส้ หกรณอ์ อมทรพั ย์ครูพทั ลงุ จากดั พฒั นาระบบบริหารความเสีย่ ง ใหเ้ ป็นกระบวนการสาคญั
ประการหน่ึง ท่ีจะสนับสนุนให้ผลการดาเนินงานของ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูพัทลุง จากัด เป็นไปตามวัตถุประสงค์
และเป้าหมายทก่ี าหนดไว้

3) เพื่อสร้างกรอบและแนวทางในการดาเนินงานใหแ้ ก่บุคลากรในสหกรณ์เพื่อใหส้ ามารถบรหิ ารจดั การ
ความไมแ่ นน่ อนท่ีจะเกิดข้ึนกับสหกรณ์ได้อยา่ งเปน็ ระบบและมีประสทิ ธิภาพ

4) เพือ่ ใหส้ หกรณ์ออมทรัพย์ครูพทั ลุง จากดั มรี ะบบในการติดตามตรวจสอบผลการ ดาเนินการบริหาร
ความเส่ยี ง และเฝา้ ระวังความเสีย่ งใหม่ๆ ทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ ไดต้ ลอดเวลา

5) เพอื่ ให้สหกรณ์ออมทรพั ย์ครูพทั ลงุ จากัด มีระบบปกป้องผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้สว่ นเสียและเพ่ิม
มูลคา่ ให้ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกับสหกรณ์

1.5 โครงสร้ำงกำรบริหำรสหกรณ์ออมทรพั ย์ครูพทั ลงุ จำกดั

3

1.6 ทิศทำงกำรพัฒนำสหกรณ์ออมทรพั ย์ครูพัทลุง จำกดั
วิสยั ทศั น์

“สหกรณอ์ อมทรพั ย์ครพู ัทลุง จำกัด เปน็ สหกรณ์ที่มั่นคงอย่ำงยงั่ ยนื ดว้ ยหลักธรรมำภิบำล”

พนั ธกจิ

1. พัฒนาระบบการบริหารการเงินที่เอ้ือต่อการพึ่งพาตนเอง เพ่ิมเงินทุนภายในและสินทรัพย์อย่างพัฒนา
ระบบการบริหารการเงินท่ีเอื้อต่อการพึ่งพาตนเอง เพ่ิมเงินทุนภายในและสินทรัพย์อย่างยั่งยืน ลดภาระหนี้จาก
สถาบันการเงนิ ภายนอก

2. ปรับปรุงระบบการบริการให้มีคุณภาพและการจัดสวัสดิการที่มีคุณภาพ มีนวัตกรรมการออมท่ี
หลากหลาย

3. พฒั นาระบบการบริหารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล และรว่ มมือกับสหกรณ์อนื่ สันนิบาตสหกรณ์แห่ง
ประเทศไทย ชุมนุมสหกรณ์ องคก์ รชุมชนภาคเอกชน และหนว่ ยงานของรัฐเพ่ือสง่ เสรมิ ปรบั ปรงุ กจิ การสหกรณ์

4. สง่ เสริมการเรยี นร้แู ละสร้างเสรมิ ประสบการณบ์ คุ ลากร

เปำ้ ประสงค์

1. สหกรณฯ์ มรี ะบบการบริหารการเงินท่ีมีมาตรฐาน มั่นคง มีสดั ส่วนเงนิ ทุนสูงขึน้ ท่เี อื้อต่อการพง่ึ พา
ตนเองอย่างย่งั ยืน

2. สมาชกิ ได้รับบรกิ ารท่ีประทบั ใจและได้รับสวัสดิการท่ีมีทม่ี คี ุณภาพ
สหกรณ์ออมทรัพย์ครูมีระบบการบรหิ ารจัดการ ตามหลกั ธรรมาภบิ าล เป็นทย่ี อมรับและเชอ่ื มั่นของสมาชิก

3. สหกรณ์ออมทรัพยค์ รูมรี ะบบเทคโนโลยีท่ีทันสมัยเอื้อต่อการปฏิบัติงาน
บคุ ลากรมีความรู้ ประสบการณ์ เขา้ ใจในบทบาทหนา้ ทใ่ี นการปฏบิ ัติงานอย่างมปี ระสิทธิภาพ

กลยุทธ์

1. พัฒนาระบบการบรหิ ารการเงินทเี่ อื้อต่อการพึง่ พาตนเอง
2. ปรบั ปรงุ ระบบการให้บริการ และการจัดสวสั ดิการที่มคี ุณภาพ
3. พฒั นาระบบการบริหารจัดการเขา้ สู่มาตรฐานตามหลักธรรมาภบิ าล
4. สง่ เสรมิ การเรยี นรู้และสร้างเสรมิ ประสบการณ์บคุ ลากร

1.7 ประโยชน์ที่ไดร้ บั จำกกำรบริหำรควำมเสย่ี ง

1) ช่วยให้การดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ โดยการบริหารความเส่ียงช่วยให้การกาหนด
วัตถุประสงค์และกลยุทธต์ ่าง ๆ ของสหกรณ์มีความสมบูรณ์และมีความเป็นไปได้มากขึ้น และสอดคล้องกับ ระดับ
ความเสยี่ งที่ยอมรบั ได้

2) ส่งเสริมให้บุคลากรทุกระดับของสหกรณ์มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสาคัญของ การ
บรหิ ารความเสีย่ ง ซง่ึ จะส่งผลให้เกดิ ความระมดั ระวงั ในการทางานและลดโอกาสของการล้มเหลว หรือ โอกาสทจ่ี ะ
ทาให้เกดิ การสูญเสียจากการดาเนินงาน

4

บทที่ 2
หลักกำรและแนวคดิ กำรบรหิ ำรควำมเสีย่ ง

2.1 คำนิยำมและคำจำกดั ควำมของกำรบรหิ ำรควำมเสี่ยง

2.1.1 ควำมเสี่ยง (Risk) หมายถึงโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหายการรั่วไหลความสูญเปล่า
หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์หรือการกระทาใด ๆ ท่ีอาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอนซ่ึงอาจเกิดข้ึน ใน
อนาคตและมีผลกระทบหรือทาให้การดาเนินงานไมป่ ระสบความสาเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายของ องคก์ ร
ทงั้ ในดา้ นยทุ ธศาสตรก์ ารปฏิบัตงิ านการเงนิ และการบริหาร

2.1.2 ปัจจัยเส่ียง (Risk Factor) หมายถึง ต้นเหตุหรือสาเหตุที่มาของความเส่ียงท่ีจะทาให้ไม่บรรลุ
วัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ โดยต้องระบุไว้ด้วยว่าเหตุการณ์น้ันจะเกิดที่ไหน เม่ือใดและเกิดข้ึนได้อย่างไรและทาไม
ท้งั นี้สาเหตุของความเส่ียงทีร่ ะบคุ วรเป็นสาเหตุที่แท้จริง เพอ่ื จะไดว้ เิ คราะห์และกาหนดมาตรการลด ความเส่ียงใน
ภายหลังไดอ้ ย่างถกู ต้อง ปัจจัยเสย่ี งพิจารณาได้จาก ปัจจัยภายนอก เชน่ เศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง กฎหมาย ฯลฯ
ปัจจัยภายใน เชน่ กฎ ระเบยี บ ข้อบังคับ ภายในสหกรณ์ ประสบการณเ์ จ้าหน้าทรี่ ะบบการ ดาเนินงาน ฯลฯ

2.1.3 กำรประเมนิ ควำมเสี่ยง (Risk Assessment) หมำยถึง กระบวนการระบุความเสย่ี งการวเิ คราะห์
ความเสี่ยง และจัดลาดับความเส่ียง โดยการประเมินจากโอกาสที่จะเกิด (Likelihood) และผลกระทบ (Impact)
ซึ่งโอกาสที่จะเกิด หมายถึง ความถี่หรือโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ความเส่ียง และผลกระทบ หมายถึง ขนาดความ
รุนแรงของความเสียหายที่จะเกิดข้ึนหากเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยงเม่ือทาการประเมินแล้ว ทาให้ทราบระดับของ
ความเสย่ี ง (Degree of Risk) หมายถึง สถานะของความเสย่ี งที่ไดจ้ ากการประเมินโอกาสและผลกระทบของแต่ละ
ปัจจยั เสย่ี ง แบง่ ออกเป็น 5 ระดบั คอื สูงมาก สูง ปานกลาง ตา่ และตา่ มาก

2.1.4 กำรบริหำรควำมเสี่ยง (Enterprise Risk Management: ERM) หมายถึง กระบวนการ
ดาเนินงานของสหกรณ์ท่ีเป็นระบบและต่อเน่ือง เพื่อช่วยให้สหกรณ์ลดมูลเหตุของแต่ละโอกาสท่ีจะเกิดความ
เสียหาย ให้ระดับของความ เสียหายและขนาดของความเสียหายที่จะเกิดข้ึนในอนาคตอยู่ในระดับท่ีสหกรณ์
ยอมรับได้ประเมินได้ควบคุม ได้และตรวจสอบได้อย่างมีระบบ โดยคานึงถึงการบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย
ของสหกรณ์เป็นสาคัญ

2.1.5 วธิ กี ำรจดั กำรควำมเสีย่ งของ COSO
1) กำรยอมรับควำมเสี่ยง (Risk Acceptance) หมายถึง การที่ความเสี่ยงนั้นสามารถยอมรับได้

ภายใต้การควบคุมท่ีมีอยู่ จนปัจจุบัน ซึ่งไม่ต้องดาเนินการใด ๆ เช่น กรณีที่มีความเสี่ยงในระดับท่ีไม่รุนแรงและไม่
คมุ้ ค่าท่จี ะดาเนินการใด ๆ ให้ขออนุมตั ิหลักการรับความเสยี่ งไว้และไม่ดาเนนิ การใด ๆ

2) กำรลดควำมเส่ียง (Risk Reduction) หมายถึง เป็นการปรับปรุงระบบการทางานหรือการ
ออกแบบวธิ กี ารทางานใหม่ เพอ่ื ลดโอกาสท่จี ะเกิด หรือลดผลกระทบให้อย่ใู นระดบั ทีส่ หกรณย์ อมรับได้

3) กำรหลกี เลย่ี งควำมเส่ียง (Risk Avoidance) หมายถงึ การท่ีความเสย่ี งนนั้ ไมส่ ามารถยอมรับ
ได้ และต้องจัดการให้ความเส่ียงน้ันไปอยู่นอกเงื่อนไขของการดาเนินงาน เช่น การหยุดดาเนินงานหรือกิจกรรมที่
ก่อให้เกิดความเสีย่ งนน้ั การเปลีย่ นแปลงวตั ถุประสงค์ในการดาเนนิ งาน การลดขนาดของงานหรือกจิ กรรมลง

4) กำรแบ่งควำมเส่ียง (Risk Sharing)หมายถึง การโอนย้ายหรือแบ่งความเส่ียงไปให้ผู้อื่นช่วย
รับผดิ ชอบ เชน่ การจา้ งบุคคลภายนอกมาดาเนินการแทน การทาประกันภัย เป็นต้น

5

2.1.6 กำรควบคมุ (Control) หมายถึง นโยบาย แนวทาง หรอื ข้ันตอนปฏิบตั ติ า่ ง ๆ ซงึ่ ดาเนนิ การ เพื่อ
ลดความเสย่ี ง และทาใหก้ ารดาเนนิ การบรรลุวัตถุประสงค์ แบง่ ได้ 4 ประเภท คือ

1) กำรควบคุมเพ่ือกำรป้องกัน (Preventive Control) เป็นวิธีการควบคุมท่ีกาหนดข้ึนเพื่อ
ป้องกันไม่ให้ เกดิ ความเส่ียงและขอ้ ผิดพลาดต้งั แตแ่ รก

2) กำรควบคุมเพื่อให้ตรวจพบ (Detective Control) เป็นวิธีการควบคุมที่กาหนดข้ึนเพื่อ
คน้ พบ ขอ้ ผิดพลาดท่เี กดิ ข้นึ แลว้

3) กำรควบคุมโดยกำรช้แี นะ (Directive Control) เปน็ วิธีการควบคุมท่สี ่งเสริมหรือกระตุ้นให้
เกิด ความสาเร็จตามวตั ถุประสงค์ทต่ี ้องการ

4) กำรควบคุมเพ่ือกำรแก้ไข (Corrective Control) เป็นวิธีการควบคุมท่ีกาหนดข้ึนเพ่ือแก้ไข
ข้อผิดพลาด ทีเ่ กดิ ข้นึ ใหถ้ กู ต้อง หรือเพอื่ หาวิธกี ารแก้ไขไม่ให้เกดิ ข้อผดิ พลาดซ้าอีกในอนาคต

2.1.7 กำรประเมินควำมเส่ียง (Risk Assessment) หมายถึง กระบวนการท่ีใช้ในการวิเคราะห์และ
จัดลาดับ ความเสี่ยงท่ีส่งผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ ซ่ึงการกาหนดระดับความเส่ียงจะ
พิจารณาจาก ผลกระทบ (Impact/Impact) และโอกาสที่จะเกดิ (Likelihood/Frequency)

1) ควำมเบี่ยงเบนของระดับควำมเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Tolerance) หมายถึง ระดับความ
เบี่ยงเบนจาก เกณฑ์หรือประเภทของความเส่ียงที่ยอมรับได้ ซ่ึงค่าความเบ่ียงเบนจะเป็นช่วงที่ยอมให้ผลการ
ดาเนินงาน เบ่ียงเบนหรือคลาดเคล่ือนไปจากเป้าหมายท่ีกาหนด โดยจะต้องมีความสัมพันธ์กับระดับความเส่ียงที่
ยอมรบั ได้

2) ควำมเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) หมำยถึงประเภทและเกณฑ์ของความเสี่ยงหรือ
ความไม่ แน่นอนโดยรวมท่ีสหกรณ์ยอมรับไดโ้ ดยยังคงใหส้ หกรณ์สามารถบรรลเุ ปา้ หมายซ่ึงความเส่ียงทยี่ อมรับได้
น้ัน จะต้องสอดคล้องกับเป้าหมายของสหกรณ์ไม่ด้อยกว่าค่าเป้าหมายค่าเดียวหรือระบุเป็นช่วงก็ได้ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับ
ความเหมาะสมของปจั จยั เส่ยี งแตล่ ะตัว

2.2 ประเภทควำมเสย่ี ง

2.2.1 ควำมเสี่ยงด้ำนกลยุทธ์ หมำยถึง ความเส่ียงที่เกิดจากสหกรณ์กาหนดแผนกลยุทธ์ แผนการ
ดาเนินงานและการนาไปสู่การปฏิบัติไม่เหมาะสมหรือไปสอดคล้องกับปัจจัยภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก
อันส่งผลกระทบต่อรายได้ ทุนการดาเนินงาน หรือการดารงอยู่ของสหกรณ์ ท้ังนี้ สามารถพิจารณาความเส่ียงได้
จากปจั จัยเหตกุ ารณ์ทีม่ โี อกาสท่จี ะเกดิ ข้ึนร่วมกับความเสียหายที่อาจจะเกดิ ข้นึ

2.2.2 ควำมเสี่ยงด้ำนเครดิต หมำยถึง ความเสี่ยงในปัจจุบันหรือในภายหน้าที่มีต่อรายได้และส่วนของ
ทุน ของสหกรณ์ อันเกิดจากการที่สมาชิกผู้กู้ผิดนัดชาระหน้ี ตามเง่ือนไข และ/หรือข้อตกลงในสัญญาคืนแก่
สหกรณ์ ตามกาหนดเวลาทร่ี ะบุไว้ในสญั ญาเงนิ กู้

2.2.3 ควำมเสี่ยงด้ำนกำรตลำด หมายถึงความเส่ียงท่ีเกิดจากการเคล่ือนไหวของอัตราดอกเบ้ีย อัตรา
แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และราคาตราสารในตลาดเงินตลาดทุน ท่ีมีผลกระทบในทางลบต่อรายได้และ
เงนิ ทนุ ของสหกรณ์

2.2.4 ควำมเส่ียงดำ้ นสภำพคลอ่ ง หมำยถึง ความเส่ียงในปจั จบุ นั หรือในอนาคตท่สี หกรณอ์ าจไม่สามารถ
จัดหาเงินสดเพ่ือชาระภาระ ผูกพัน เมื่อถึงกาหนด และรวมไปถึงเพื่อรองรับการขยายตัวของสินทรัพย์(สินเช่ือ)
ตามการดาเนินกจิ กรรมปกติ

2.2.5 ควำมเสยี่ งด้ำนกำรปฏิบตั ิกำร หมำยถงึ ความเสี่ยงท่จี ะเกิดความเสียหาย อันเนือ่ งมาจากการขาด
การกากับดูแลกิจการที่ดี หรือขาดธรรมาภิบาลในสหกรณ์ และขาดการควบคุมที่ดี โดยอาจเก่ียวของกับ

6

กระบวนการปฏิบัติงานภายใน คน ระบบงาน หรือเหตุการณ์ภายนอก และส่งผลกระทบต่อรายได้หรือความอยู่
รอดของสหกรณ์

2.3 กระบวนกำรและข้นั ตอนกำรบรหิ ำรควำมเสีย่ ง

2.3.1 กำรกำหนดวัตถุประสงคค์ วำมเส่ยี ง (Set Objectives)
การกาหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนของสหกรณ์น้ัน เป็นข้ันตอนแรกสาหรับกระบวนการบริหาร ความเสี่ยงในการ
กาหนดวัตถุประสงค์ ควรจัดทาเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน มีความสอดคล้องกับ เป้าหมายเชิงกลยุทธ์และ
ความเสี่ยงท่สี หกรณ์ยอมรบั ได้รวมทัง้ ควรมีการส่อื สารให้แต่ละฝ่ายรบั ทราบเพือ่ ใหม้ คี วามเขา้ ใจท่ีตรงกนั

2.3.2 กำรระบุควำมเส่ียง (Risk Identification) การระบุความเส่ียงเป็นข้ันตอนของการบริหารความ
เส่ียงในการระบุเหตุการณ์หรือปัจจัยที่สหกรณ์เผชิญอยู่หรือแฝงอยู่ในกิจกรรม หรือกระบวนการปฏิบัติงาน โดย
เป็นเหตุการณ์ทีส่ ามารถเกดิ ขึ้นจากทง้ั ปัจจยั ภายในและปจั จยั ภายนอกและเหตุการณน์ ั้น สามารถสง่ ผลกระทบ ทา
ให้งานไมส่ ามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ / เปา้ หมายทว่ี างไว้

วิธกี ำรใช้ในกำรระบคุ วำมเสี่ยง

1) การใช้ประสบการณ์ของผปู้ ระเมินในการระบุเหตกุ ารณ์ทเ่ี คยเกิดขึ้น (Experience) หรอื พจิ ารณาแล้ว
ว่ามีโอกาสท่ีจะเกิดขึ้นได้หรือใช้การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับปัญหา/ข้อผิดพลาดในกระบวนการท างานที่เคยเกิดข้ึนใน
อดีตและได้มีการบันทึกไว้หรือเป็นข้อมูลท่ีบันทึกอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์สามารถนามาใช้เป็นแนวทางและ เป็น
ขอ้ มูลเบ้อื งต้นได้

2) การใช้คู่มือปฏิบัติงาน (Work procedure Manual) เพ่ือลดขั้นตอนของกระบวนการทางานและ
พิจารณาว่าในแต่ละขั้น ตอนอาจจะเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ ซึ่งอาจจะทาให้กิจกรรมน้ัน ๆ หยุดชะงักหรือผิดพลาด
จนก่อให้เกิดความเสยี หายข้ึนได้หรือไม่

3) การระดมความคิด (Brainstorming Group) จากผูบ้ ริหารและเจ้าหน้าท่ี ท่ีมสี ่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรม
ดังกล่าวท้ังภายในและภายนอกสหกรณ์เพื่อร่วมกันพิจารณาว่ามีเหตุการณ์ใดบ้างท่ีเกิดขึ้นแล้วส่งผลกระทบ
เสยี หายตอ่ งานทีด่ ูแล

4) การใช้แบบสอบถามความคิดเห็น (Questionnaires) ไปยังผู้รับผิดชอบกิจกรรมต่าง ๆว่ามีปัญหา
ข้อผิดพลาดหรือความเสี่ยงในลักษณะใดก่อให้เกิดความเสียหายมากน้อยแค่ไหนอย่างไรก็ดีควรระลึกว่าการ
สอบถามควรกระทากับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ซึ่งเป็นผู้ทราบข้อมูลต่าง ๆ อย่างแท้จริงนอกจากนี้คาตอบท่ี
ได้รับอาจจะไม่ใช้ข้อเท็จจริงทั้งหมด เพราะการตอบคาถามอาจจะรวมข้อคิดเห็น ความรู้สึกและทัศนคติส่วนตัว
ดงั น้ันผู้ประเมินควรใชว้ ธิ อี นื่ ควบคกู่ นั ไปด้วย

5) การใช้แบบตรวจสอบรายการ (Checklists) โดยผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ในฝ่ายสามารถตรวจสอบ
วิธีการทางาน ขั้นตอนการทางานและมาตรฐานการทางานตาม Checklist ท่ีจัดทาได้ด้วยตนเองและควรกาหนด
ระยะเวลาในการประเมนิ ผลภายในสหกรณด์ ว้ ย Checklist ท่ชี ดั เจน เช่น ทกุ 3 เดอื น 6 เดือน หรือ 12 เดอื น

2.3.3 กำรประเมินควำมเสี่ยง (Risk Assessment) การประเมินความเส่ียงเป็นกระบวนการที่ควร
ดาเนินการ หลังจากทาการระบุความเส่ียงแล้วการ ประเมินความเส่ียง ประกอบด้วย 2 มิติ คือ โอกาสท่ีจะเกิด
ความเสยี่ ง(Likelihood) และผลกระทบของความเส่ียง (Impact)

7

2.3.3.1 เกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมเส่ียง
1) โอกำสทีจ่ ะเกดิ ควำมเสี่ยง (Likelihood) กาหนดเกณฑ์ไว้ 5 ระดับ ดังน้ี

ระดับโอกาสในการเกดิ เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ(Likelihood) เชิงปรมิ าณ

ระดับ โอกาสทจี่ ะเกดิ คาอธบิ าย

5 สูงมาก 1 เดอื นต่อครัง้ หรือมากกว่า

4 สงู 1 - 6 เดือนต่อครงั้ แต่ไม่เกนิ 5 คร้ัง

3 ปานกลาง 1 ปีต่อครั้ง

2 นอ้ ย 2 -3 ปตี ่อคร้ัง

1 น้อยมาก 5 ปีต่อครั้ง

ระดับโอกาสในการเกดิ เหตุการณต์ า่ ง ๆ (Likelihood) เชงิ คณุ ภาพ

ระดับ โอกาสทีจ่ ะเกดิ คาอธบิ าย

5 สงู มาก มโี อกาสในการเกดิ เกือบทกุ ครั้ง

4 สูง มีโอกาสในการเกดิ คอ่ นข้างสูงหรอื บ่อย ๆ

3 ปานกลาง มโี อกาสเกิดบ้างเป็นบางครัง้

2 นอ้ ย อาจมีโอกาสเกดิ แต่นาน ๆ คร้ัง

1 นอ้ ยมาก แทบไม่มโี อกาสเกดิ ขนึ้ เลย

2) ระดับควำมรนุ แรงของผลกระทบของควำมเส่ียง (Impact) กาหนดเกณฑ์ไว้
5 ระดบั ดงั น้ี

ตวั อยำ่ งควำมรนุ แรงทไี่ มส่ ำมำรถวดั เปน็ ตวั เงนิ ได้

ระดบั ผลกระทบ คาอธิบาย

5 รุนแรงที่สุด มีการสูญเสยี ทรัพยส์ นิ อยา่ งมหันต์ มกี ารบาดเจ็บถึงชีวติ

4 ค่อนข้างรนุ แรง มีการสูญเสียทรัพยส์ ินมาก มีการบาดเจบ็ สาหัสถงึ ข้นั พักงาน

3 ปานกลาง มีการสญู เสียทรัพย์สนิ มาก มีการบาดเจบ็ สาหสั ถงึ ขนั้ หยุดงาน

2 นอ้ ย มกี ารสญู เสยี ทรัพยส์ นิ พอสมควร มีการบาดเจ็บรุนแรง

1 น้อยมาก มกี ารสูญเสยี ทรัพย์สนิ เลก็ นอ้ ย ไม่มีการบาดเจบ็ รนุ แรง

ตัวอย่ำงควำมรนุ แรงท่ีสำมำรถวดั เป็นตวั เงินได้

ระดบั ผลกระทบ คาอธบิ าย

5 สงู มาก มากกว่า 10 ล้านบาท

4 สูง มากกวา่ 2.5 แสนบาท -10 ล้านบาท

3 ปานกลาง มากกวา่ 50,000 บาท -2.5 แสนบาท

2 น้อย มากกว่า 10,000 บาท – 50,000 บาท

1 น้อยมาก ไมเ่ กิน 10,000 บาท

8

กรณีเป็นควำมรนุ แรงทส่ี ง่ ผลกระทบดำ้ นกลยทุ ธ์

ระดับความรุนแรงของผลกระทบของความเสย่ี ง (ตอ่ เปา้ หมายขององค์กร)

ระดับ ผลกระทบ คาอธบิ าย

5 สงู มาก มผี ลกระทบต่อเปา้ หมายและชอ่ื เสียงขององค์กรในระดบั สูงมาก

4 สงู มผี ลกระทบต่อเป้าหมายและชือ่ เสียงขององคก์ รในระดบั สูง

3 ปานกลาง มีผลกระทบต่อเป้าหมายบางอยา่ งและชอ่ื เสียงขององค์กรบา้ ง

2 น้อย มผี ลกระทบต่อเป้าหมายและช่ือเสียงขององค์กรน้อย

1 น้อยมาก แทบไม่มผี ลกระทบต่อเปา้ หมายและชือ่ เสียงขององค์กรเลย

กรณีเป็นควำมรุนแรงท่สี ่งผลกระทบดำ้ นกำรดำเนนิ งำน (ระบบเทคโนโลยสี ำรสนเทศ)

ระดบั ความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ยี ง (ต่อระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ)

ระดับ ผลกระทบ คาอธิบาย

5 สูงมาก เกิดความสญู เสยี ต่อระบบ IT ทีส่ าคญั ท้ังหมด และเกิดความเสียหาย

อย่าง มากตอ่ ความปลอดภยั ของข้อมลู ต่าง ๆ

4 สูง เกดิ ปัญหากับระบบ IT ท่สี าคัญ และระบบความปลอดภัยซง่ึ ผลตอ่

ความ ถกู ต้องของข้อมูลบางส่วน

3 ปานกลาง ระบบมปี ญั หาและมีความสญู เสยี ไมม่ าก

2 นอ้ ย เกดิ เหตุทีแ่ กไ้ ขได้

1 น้อยมาก เกิดเหตทุ ่ีไมม่ ีความสาคญั

ตัวอยา่ งระดบั ความรนุ แรงของผลกระทบของความเสี่ยง (ต่อบุคลากร)

ระดับ ผลกระทบ คาอธิบาย

5 สงู มาก ถกู เลกิ จา้ งหรือออกจากงานเนอื่ งจากเปน็ อนั ตรายต่อร่างกายและชวี ิต

ผอู้ ่นื โดยตรง

4 สูง ถูกลงโทษทางวินยั ตดั เงินเดือน ไม่ได้ข้ึนเงินเดือน

3 ปานกลาง ถูกทาทัณฑบ์ น ความรุนแรงส่งผลต่อคณุ ภาพชีวติ ของผู้อืน่ และสร้าง

บรรยากาศการปฏิบตั ิงานที่ไม่เหมาะสม

2 นอ้ ย สรา้ งความไมส่ ะดวกต่อการปฏิบัตงิ านบ่อยคร้งั

1 นอ้ ยมาก สรา้ งความไมส่ ะดวกต่อการปฏิบัติงานนาน ๆ ครงั้

9

กรณเี ปน็ ควำมรุนแรงท่สี ง่ ผลกระทบดำ้ นกำรดำเนนิ งำน (กระบวนกำร)

ระดบั ความรนุ แรงของผลกระทบของความเสี่ยง (ต่อการดาเนินงาน)

ระดบั ผลกระทบ คาอธบิ าย

5 สงู มาก มผี ลกระทบต่อกระบวนการและการดาเนินงานรนุ แรงมาก เช่น หยดุ

ดาเนินการมากกว่า 1 เดือน

4 สงู มผี ลกระทบต่อกระบวนการและการดาเนนิ งานรนุ แรง เช่น หยุด

ดาเนินการ 1 เดือน

3 ปานกลาง มกี ารชะงักงนั อยา่ งมนี ัยสาคัญของกระบวนการและการดาเนนิ งาน

2 น้อย มผี ลกระทบเล็กนอ้ ยต่อกระบวนการและการดาเนินงาน

1 น้อยมาก ไม่มีการชะงักงันของกระบวนกรและการดาเนนิ งาน

3) ระดับของควำมเสีย่ ง (Degree of Risk)

โอกาสทจ่ี ะเกดิ 1 = น้อย ผลกระทบความเส่ยี ง 5 = สูงมาก
ความเสย่ี ง มาก 2 = นอ้ ย 3 = ปาน 4 = สูง
5 25
5 = สูงมาก 4 กลาง 20
4 = สูง 3 10 15 20 15
3 = ปานกลาง 2 8 12 16 10
2 = นอ้ ย 1 6 9 12 5
1 = น้อยมาก 468
234

ระดับความเสี่ยง แทนสี ความหมาย
โดยรวม
ระดบั ความเสี่ยงทย่ี อมรับได้มาตอ้ งควบคมุ ความเส่ียง
ตา่ ระดับความเส่ยี งที่พอยอมรบั ได้ แต่ตอ้ งควบคมุ เพ่อื
ปานกลาง ไมใ่ หเ้ ป็นความเสย่ี งท่ยี อมรบั ไม่ได้
ระดบั ความเส่ยี งที่ยอมรบั ไม่ได้ ตอ้ งจดั การความเสี่ยง
สูง เพอ่ื ให้อย่ใู นระดับท่ยี อมรบั ได้
ระดับความเสีย่ งท่ยี อมรับไมไ่ ด้ ต้องเร่งจัดการความ
สงู มาก เสยี่ ง

2.3.3.2 กำรประเมนิ โอกำสและผลกระทบของควำมเสี่ยง
เป็นการนาความเส่ียงและปัจจัยเสี่ยงแต่ละปัจจัย ท่ีระบุไว้มาประเมินโอกาสท่ีจะเกิดเหตุการณ์ความเส่ียงต่าง ๆ
และประเมินระดับความรุนแรงหรือมูลค่าความเสียหายจากความเส่ียง เพื่อให้เห็นถึงระดับของความเสี่ยงท่ี
แตกต่างกนั ทาให้สามารถกาหนดการควบคมุ ความ เสี่ยงได้อย่างเหมาะสม ซึง่ จะชว่ ยให้หนว่ ยงานสามารถวางแผน
และจัดสรรทรพั ยากรได้อย่างถูกต้องภายใต้ งบประมาณ กาลังคน หรือเวลาที่มีจากัด โดยอาศัยเกณฑ์มาตรฐานท่ี
กาหนดไว้ข้างต้น ซ่ึงมขี ั้นตอนดาเนินการดงั น้ี

10

1) พิจารณาโอกาสและความถี่ในการเกดิ เหตุการณ์ต่าง ๆ วา่ มีโอกาสและความถี่ท่ีจะเกิดนั้นมาก
น้อย เพียงใด ตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนด

2) พิจารณาความรุนแรงของผลกระทบของความเส่ียงท่ีมีผลต่อองค์กรหรือหน่วยงานว่ามีระดับ
ความ รนุ แรง หรือมีความเสยี หายเพยี งใดตามเกณฑม์ าตรฐานทกี่ าหนด

3) การวิเคราะห์ระดับความเสี่ยง เมื่อพิจารณาโอกาสและความถี่ท่ีจะเกิดเหตุการณ์และความ
รุนแรง ของผลกระทบของแต่ละปัจจัยเสี่ยงแล้ว ให้นาผลที่ได้มาพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างโอกาสท่ีจะเกิด
ความเสี่ยง และผลกระทบของความเสยี่ งตอ่ องคก์ รหรือหนว่ ยงานว่ากอ่ ใหเ้ กดิ ระดบั ของความเส่ยี งในระดับใด

4) การจดั ลาดับความเสี่ยง เม่ือได้ค่าระดับความเส่ียงแล้ว จะนามาจดั ลาดับความรุนแรงของความ
เสี่ยง ที่มีผลต่อองค์กร เพ่ือพิจารณากาหนดกิจกรรมการตอบสนองในแต่ละสาเหตุของความเสี่ยงที่สาคัญให้
เหมาะสม โดยพิจารณาจากระดับของความเสี่ยงท่ีเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง และ
ผลกระทบ ของความเสย่ี งทีป่ ระเมนิ ได้ตามตารางการประเมนิ ความเสี่ยงโดยจดั เรยี งตามลาดับ

2.3.4 กำรกำหนดมำตรกำรและแผนบรหิ ำรควำมเสี่ยง

การกาหนดแผนบริหารความเสี่ยงมุ่งเน้นให้สหกรณ์สามารถบริหารความเสี่ยงให้อยู่ ในระดับท่ี
ยอมรับได้ โดยการกาหนดแนวทางการตอบสนองความเส่ียงสามารถทาได้หลายวิธี และสามารถปรับเปล่ียนให้
เหมาะสม กับสถานการณ์ ข้ึนอยู่กับดุลยพินิจของผู้รับผิดชอบ แต่อย่างไรก็ตามแนวทางการบริหารจัดการความ
เส่ียงต้อง คุ้มค่ากับการลดระดับผลกระทบความเสี่ยง ซ่ึงทางเลือกหรือกลยุทธ์ในการจัดการความเส่ียงแบ่งได้
4 แนวทางหลกั

1) การยอมรับ (Take, Accept) หมายถึง การท่ีความเสี่ยงนั้นสามารถยอมรับได้ภายใต้การ
ควบคุมท่ีมี อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งไม่ต้องดาเนินการใด ๆ เช่น กรณีท่ีมีความเสี่ยงในระดับไม่รุนแรงและไม่คุ้มค่าที่จะ
ดาเนินการใด ๆ ให้ขออนมุ ตั หิ ลกั การรบั ความเสย่ี งไวแ้ ละไม่ดาเนินการใด ๆ

2) การลด (Reduction) หมายถึง เป็นการปรับปรุงระบบการทางานหรือการออกแบบวิธีการ
ทางาน ใหม่ เพือ่ ลดโอกาสทีจ่ ะเกดิ หรือลดผลกระทบใหอ้ ยู่ในระดบั ที่สหกรณย์ อมรบั ได้

3) การยกเลิก (Terminate) หรือ หลีกเล่ียง (Avoid) คือ ความเส่ียงที่ไม่สามารถยอมรับและตอ้ ง
จัดการให้ความเส่ียงน้ันไปอยู่นอกเงื่อนไขการดาเนินงาน โดยมีวิธีการจัดการความเส่ียงในกลุ่มน้ี เช่น การหยุด
ดาเนินงานหรอื กจิ กรรมที่ก่อใหเ้ กดิ ความเสยี่ งน้นั การเปลีย่ นแปลงวัตถปุ ระสงค์ในการดาเนินงานการลดขนาดของ
งานที่จะดาเนินการหรือกิจกรรมลง เปน็ ตน้

4) การถ่ายโอนความเสี่ยง (Transfer) หรือ แบ่ง (Share) คือ ความเส่ียงท่ีสามารถโอนไปให้ผู้อ่ืน
ได้ เช่น การทาประกันภัย/ประกันทรัพย์สินกับบริษัทประกัน การจ้างบุคคลภายนอกหรือการจ้างบริษัทภายนอก
มา จดั การในงานบางอย่างแทน เช่น งานรกั ษาความปลอดภัย เป็นต้น

ตัวอยำ่ ง

ประเดน็ ความเสยี่ ง (ความเสี่ยงที่ การบรหิ ารความเส่ียง (การ มาตรการจดั การความเสีย่ ง (แนว

อาจเกดิ ขึน้ ) ตอบสนองความเส่ียง) ทางแก้ไข)

สมาชกิ บางรายไม่ได้รบั ขา่ วสาร การยอมรับ - ควรเพ่ิมความถีใ่ นการประชาสัมพันธ์ตาม

ขอ้ มูลที่เป็น ปจั จุบนั เนอ่ื งจากยา้ ย ช่องทางต่าง ๆ

ทอี่ ยู่ / ระบบไปรษณีย์ ลา่ ชา้ ทาให้ - ควรแก้ไขข้อมูลสมาชิกให้เป็นปัจจุบัน

สมาชกิ เสยี โอกาส เสมอ

ข้อมูลสญู หายหรือถูกทาลาย การลด - เพ่ิมการสารองข้อมลู อีก 1 ชุด

11

อาจเกิดอคั คีภยั เพลงิ ไหม้อาคาร การถา่ ยโอนความ เสีย่ ง - ทาประกนั อัคคภี ัยตวั อาคารสหกรณ์
หอ้ งเคร่ืองแมข่ ่ายไฟฟ้าลดั วงจร - มถี งั ดบั เพลงิ ตามจุดต่าง ๆ
- ควรมกี ารซ้อมแผนอคั คภี ัย
การเปลี่ยนแปลงข้อมูลต่าง ๆ ของ การยอมรบั
สมาชิก คลาดเคล่ือนโดยบคุ ลากร/ - ควรเพมิ่ การระมดั ระวังในการทางาน
สมาชกิ /หนว่ ยงาน ต้นสังกัด เชน่ - ควรมีการตรวจสอบตามสายงานจาก
การย้ายหน่วยงานต้นสงั กัด การ หัวหนา้ ฝา่ ย, รอง ผจก. และ ผจก.
ลาออกจากหน่วยงาน เปน็ ตน้ - เพ่ิมการประชาสัมพันธ์ถึงหน่วยงานต้น
สังกัด หากมีการ เปลี่ยนแปลงข้อมูลใด ๆ
ของสมาชกิ ใหแ้ จง้ สหกรณ์โดยดว่ น

2.3.5 กำรติดตำมประเมนิ ผลกำรบริหำรควำมเสี่ยง

การบริหารความเส่ียงของสหกรณ์ออมทรัพย์ครูพัทลุง จากัด กาหนดให้ต้องได้รับการ ติดตาม
ประเมินผล เน่ืองจากความเสี่ยงอาจมีการเปล่ียนแปลงตามสถานการณ์ท่ีเปลีย่ นแปลงไป การจัดการความ เสี่ยงที่
เคยมีประสิทธิผลอาจเปล่ยี นแปลงเปน็ กิจกรรมที่ไม่เหมาะสม กจิ กรรมการควบคุมอาจมีประสิทธิผลน้อยลง ระดับ
ความเสี่ยงท่ียอมรับได้ไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับกลยุทธ์และเป้าหมายของสหกรณ์ดังนั้น การติดตามความ
เสี่ยงกเ็ พ่อื ให้เกิดความม่ันใจไดว้ ่าแผนบริหารความเสี่ยงได้มีการดาเนินงานไปอย่างถูกต้องและเหมาะสม ตลอดจน
การบริหารความเส่ียงท่ีสหกรณ์ฯ ได้ดาเนินการยังมีประสิทธิผล ทั้งนี้ การติดตามประเมินผลโดยท่ัวไป อาจจะ
ดาเนินการโดยคณะกรรมการดาเนินการ, คณะอนุกรรมการบริหารความเส่ียง หรือ หน่วยงานภายนอก อน่ึงการ
ติดตามประเมินผล สามารถกาหนดตามความเหมาะสมกับภารกิจของสหกรณ์ฯ โดย คณะกรรมการดาเนินการ
สหกรณ์

12

บทท่ี 3
แผนบริหำรควำมเสี่ยงของสหกรณ์ออมทรพั ย์ครพู ทั ลุง จำกัด
3.1 แผนบริหำรควำมเสีย่ งด้ำนกลยุทธ์ (Strategic Risk)

3.1.1 คำนยิ ำมควำมเสี่ยงด้ำนกลยทุ ธ์ (Strategic Risk)
ควำมเสี่ยงด้ำนกลยุทธ์ (Strategic Risk) คือ ความเสี่ยงท่ีเกิดจากการท่ีสหกรณ์กาหนดแผนกลยุทธ์

แผนดาเนินงาน และแผนนาไปปฏิบัติ ไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับปัจจัยภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก
อันส่งผลกระทบ ต่อรายได้ ทุน การดาเนินการ หรือการดารงอยู่ของสหกรณ์ ท้ังนี้ สามารถพิจารณาความเส่ียงได้
จากปัจจัยของ เหตุการณ์ท่ีมีโอกาสท่ีจะเกิดขึ้นร่วมกับผลความเสียหายท่ีอาจเกิดขึ้น ดังน้ัน คณะกรรมการ ต้อง
วางแผนกลยุทธ์ และแผนดาเนินงานอย่างรอบคอบ ส่งเสริมการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล พร้อมทั้งจัดให้มี
โครงสร้างพ้ืนฐาน ภายในที่เหมาะสมสาหรับการนาไปปฏิบัติ เช่น การจัดองค์กร บุคลากร งบประมาณ ระบบ
ข้อมูลสารสนเทศ ระบบติดตามและควบคุมการปฏิบัติงาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจและจัดการกับปัญหา
ของสถาบันการเงนิ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

แผนกลยุทธ์ (strategic plan) คือ แผนที่แสดงทิศทางการดาเนินงาน และสะท้อนวิสัยทัศน์หรือ
เป้าหมายของสหกรณ์ โดยท่ัวไปจะมีระยะเวลา 3 – 5 ปี ซึ่งแผนกลยุทธ์ที่เหมาะสมจะต้องมีความชัดเจน
สอดคลอ้ ง กบั เปา้ หมาย ยดื หยนุ่ และสามารถปรบั เปลีย่ นใหส้ อดคล้องกับสภาพแวดลอ้ มท่ีเปล่ยี นแปลงได้

แผนดำเนินงำน (business plan) คือ แผนที่กาหนดกรอบการดาเนินงานโดยรวมของสหกรณ์ เพื่อ
สนับสนุนการปฏิบัติงานให้สาเร็จตามแผนกลยุทธ์ข้างต้น และเป็นแนวทางให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ ในการกาหนด
แผนปฏิบัติการ (action plan) โดยท่ัวไปจะเปน็ แผนระยะส้ันไม่เกิน 1 ปี ประกอบด้วย เป้าหมาย ผลกาไร หน้าท่ี
ความรับผิดชอบ งบประมาณ ระยะเวลาการดาเนินงาน และเกณฑ์ในการติดตามผลการปฏิบัติงาน ซ่ึงสอดคล้อง
กบั งบประมาณของสหกรณด์ ว้ ย

ปัจจัยเสี่ยงจำกภำยนอก หมำยถึง ปัจจัยภายนอกที่สหกรณ์ควบคุมได้ยากหรือไม่สามารถควบคุมได้ อัน
ส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์เพื่อให้บรรลุเป้าหมายปัจจัยดังกล่าวได้แก่ ภาวการณ์แข่งขัน การ
เปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมลกู ค้าเป้าหมาย การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยี ปัจจยั ทางเศรษฐกจิ เปน็ ต้น

ปัจจัยเส่ียงภำยใน หมายถึง ปัจจัยที่สหกรณ์ควบคุมได้ แต่สามารถส่งผลกระทบหรืออุปสรรคต่อการ
ปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ซ่ึงได้แก่ โครงสร้างองค์กร กระบวนการวิธีการปฏิบัติงาน ความ
เพยี งพอและคณุ ภาพของบุคลากร ความเพยี งพอของขอ้ มูล เทคโนโลยีทร่ี องรบั การทางานของสหกรณ์ เป็นตน้

13

3.1.2 ตวั อยำ่ งควำมเส่ียงดำ้ นกลยทุ ธ์ (Strategic Risk)

ปัจจยั ภายนอก ปจั จัยภายใน

1. ภ า ว ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ร ะ ดั บ ผ ล 1. แผนกลยุทธไ์ ม่สอดคล้องกับสถานการณ์

ประกอบการและฐานเงนิ ของสหกรณ์ เปลี่ยนแปลงไป

2. สถาบันการเงินมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ 2. การวางแผนกลยทุ ธแ์ ละแผนดาเนินงานไม่

ใหม่ๆ อย่างต่อเนือ่ ง เพอ่ื ดงึ ดดู ลกู คา้ เหมาะสมกบั การแขง่ ขันในปัจจุบันและอนาคต

3. การจัดทาแผนงานและงบประมาณประจาปีไม่

สอดคลอ้ งกับแผนกลยทุ ธ์

4. แผนกลยทุ ธ์กาหนดการสรา้ งรายไดไ้ มส่ อดคลอ้ ง

กบั ค่าใชจ้ ่ายแผนงาน/โครงการในแต่ละปี

5. การดาเนินงานตามวัตถปุ ระสงค์เชงิ กลยุทธ์

ไม่สอดคลอ้ งกบั แผนงาน/โครงการ

6. การกาหนดแผนกลยทุ ธไ์ ม่ครอบคลุม ความ

ตอ้ งการ/ความคาดหวังของสมาชิก

7. การแปลงนโยบายไปสู่การปฏบิ ตั ิผดิ พลาด

8. ไม่มีการติดตาม ประเมินผลและทบทวน

แผนงานอยา่ งต่อเน่ือง

9. ไมม่ ีการศึกษาความเปน็ ไป ได้ของโครงการและ

ขอ้ มูลที่ เกีย่ วข้องอย่างละเอียด รอบคอบ

10. ไม่มแี ผนพฒั นากรรมการให้ มีความรูท้ เี่ พยี งพอ

ตอ่ การ บริหารกจิ การ

11. ไม่มแี ผนการสร้างเจ้าหนา้ ที่ ระดับบริหารและ

พัฒนา เจ้าหนา้ ทร่ี ะดบั บรหิ ารใหม้ ี ความรู้

เพยี งพอ

14

แผนบรหิ ำรควำมเส่ียงด

ขอ้ วัตถปุ ระสงค์ ปจั จัยเสยี่ ง ประเมนิ ค
โอกำส ผลกระทบ

1. เพือ่ ใหส้ หกรณ์ฯ เปน็ 1. ไมม่ กี ารบริหารจดั การท่ีมี 11

องค์กรทม่ี ีคุณภาพมาตรฐาน ประสทิ ธภิ าพตามหลักธรรมาภิบาล

ตามหลกั ธรรมาภิบาล เป็นที่ ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน

รจู้ ักทงั้ ภายในและภายนอก

2. นโยบายจากภาครัฐและ 33
หน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้อง

3. การดาเนนิ งานไม่เป็นไปตาม 2 5
แผนงานที่กาหนดไว้

ดำ้ นกลยทุ ธ์ (Strategic Risk)

ควำมเสยี่ ง มำตรกำร/แนวทำงจดั กำรควำมเส่ียง ผูร้ บั ผดิ ชอบ กำรตดิ ตำม
ระดับควำมเสี่ยง ประเมินผล
1. พัฒนาประสิทธภิ าพ คณะกรรมการ
L ประสิทธผิ ล ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพตาม ดาเนินการ ตรวจสอบผล
หลักธรรมาภิบาล ผา่ นเกณฑ์ การดาเนนิ งาน
มาตรฐาน ตามหลกั
แนวทาง
2. ปรับโครงสร้าง ภารกจิ งานให้ ธรรมาภบิ าล
เหมาะสม สนองตอ่ ผลสัมฤทธิ์ของ
งาน

M 1. ติดตามและตรวจสอบนโยบาย คณะกรรมการ ติดตามนโยบาย

กฎหมาย ระเบยี บ ข้อบงั คับ จาก ดาเนนิ การ ของภาครัฐและ

หน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง ผ้จู ัดการ และ หน่วยงานที่

2. ปรับปรุง ระเบียบ ข้อบังคับ ฝา่ ยกฎหมาย เกีย่ วขอ้ ง

ของสหกรณใ์ ห้เปน็ ปจั จบุ ัน

H 1. ควรมีการเขยี นแผนงาน และ คณะกรรมการ ทบทวน

โครงสรา้ งการทางานทช่ี ัดเจน ดาเนนิ การ แผนงานตาม

และผู้จดั การ โครงสรา้ งการ

ทางาน

15

3.2 แผนบริหำรควำมเสีย่ งดำ้ นเครดติ (Credit Risk)

3.2.1 คำนิยำม

3.2.1.1 ควำมเสย่ี งดำ้ นเครดติ หมำยถึง ความเสีย่ งในปัจจบุ นั หรือในอนาคตทมี่ ตี ่อรายไดแ้ ละ
ส่วนของทุน ของสหกรณ์ อนั เกดิ จากการท่ีสมาชิกผู้กผู้ ิดนัดชาระหน้ี ตามเงื่อนไข และ/หรอื ข้อตกลงในสญั ญาคนื
แก่สหกรณ์ ตามกาหนดเวลาท่รี ะบไุ วใ้ นสญั ญาเงนิ กู้

3.2.1.2 ประเภทของควำมเส่ยี งด้ำนเครดิต (Credit Risk)
1) ความเสย่ี งจากคุณภาพของลกู หนี้
2) ความเสย่ี งจากกระบวนการใหส้ ินเช่อื ของสหกรณ์
3) ความเส่ียงจากหลักประกนั

3.2.2 ตวั อยำ่ งปจั จัยท่ีชว่ ยลดควำมเสี่ยงดำ้ นสนิ เชื่อ

1) มีการประเมินคุณภาพของสินเช่ือ เช่น การจัดชั้นลูกหนี้ โดยอาจประเมินจากความถี่ในการกู้
จานวนเงินท่ีขอกู้ การผดิ นัดชาระหนี้ เป็นตน้

2) คณะกรรมการและเจ้าหน้าท่ีสินเช่ือ ต้องเข้าใจระเบียบ ข้อบังคับของสหกรณ์ ตลอดจน เข้าใจ
ถึงทีม่ าของระเบยี บน้ัน ๆ ว่า มหี ลักเกณฑใ์ นการกาหนดอยา่ งไร

3) มีการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ใช้ในการวิเคราะห์สินเชื่อ ให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง และ
รวดเร็ว พร้อมท้ังสามารถพิมพ์รายงานข้อมูลต่าง ๆ ท่ีต้องเสนอคณะกรรมการได้อย่างครบถ้วน และรวดเร็ว เช่น
จานวนสินเช่อื ทย่ี ่ืนขออนมุ ตั ิ ประเภทและมลู ค่ารวมของสนิ เช่ือที่อนมุ ัติ จานวนและสถานะของสนิ เชือ่ ทีผ่ ิดนัดชาระ
หน้ี เป็นตน้

4) สหกรณ์ต้องมีการพัฒนาจัดทาแผนกลยุทธ์ในด้านสินเชื่อ เทคนิคการวัดความเสี่ยง และ การ
วดั ผลการดาเนินงานและแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการจัดการความเสย่ี ง

5) บุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับสินเชื่อ ต้องได้รับทราบถึงระเบียบ ข้อบังคับท่ีเกี่ยวข้อง ท่ีกระทบต่อ
สินเชื่อ อย่างท่วั ถงึ และรวดเรว็

6) สหกรณ์มีผู้ตรวจสอบกิจการท่ีเป็นอิสระ เพ่ือมาตรวจสอบทุกกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องด้านสนิ เชื่อ ซึ่ง
หากเกิดปัญหาที่อาจก่อให้ความเสี่ยงต่อสหกรณ์ เพื่อรายงานข้อมูลต่อคณะกรรมการเพ่ือ หาวิธีแก้ไข ได้ถูกต้อง
และโปร่งใส

7) มีผู้ตรวจสอบกิจการ ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารสัญญากู้ทุกประเภทที่อนุมัติและ
ตรวจสอบเอกสารหลักประกนั

16

3.2.3 ตัวอย่ำงปจั จยั เสย่ี งดำ้ นเครดติ

ปัจจยั ภำยนอก ปจั จัยภำยใน

1. การเสนอโปรโมชนั่ สนิ เชือ่ จากสถาบันการเงนิ เชน่ 1. มีการจา่ ยเงินกเู้ กนิ กวา่ ระเบียบท่ีสหกรณ์กาหนด

จานวนเงินให้กู้สงู อตั ราดอกเบีย้ ต่าการผอ่ นชาระ 2. การลดลงของมูลคา่ หลักประกันท่ีสมาชกิ นามาใช้

ท่ีนานขึ้น เปน็ หลักประกนั

2. ความถี่ในการกูเ้ งินของสมาชิกแตล่ ะรายเพมิ่ ขน้ึ 3. การขยายเพดาน วงเงินกู้ และ/หรอื งวดผอ่ น

3. จานวนการลาออก ถูกไล่ออกจากงานของ ชาระมากเกนิ ไป

ข้าราชการ ลูกจ้าง พนกั งานราชการ เพิ่มขนึ้ 4. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โปรแกรมสาเร็จรูปทใี่ ช้

4. การหดตวั ของธุรกจิ ดา้ นอสังหารมิ ทรพั ย์ เสื่อมสภาพ ระบบสารสนเทศทีข่ าด

5. การปรับเพิ่มอัตราดอกเบ้ยี เงินกู้ยืม หรือเรียกคืน ประสทิ ธิภาพ อาจสง่ ผลใหเ้ จ้าหน้าท่วี ิเคราะห์

เงนิ กคู้ นื กอ่ นกาหนดจากสถาบันการเงนิ อนื่ สินเชื่อ ผิดพลาดได้

6. การเพ่ิมค่าเบี้ยประกันภัยประเภทตา่ ง ๆ และการ 5. เจ้าหนา้ ที่ติดตามหนี้ ไมต่ ดิ ตามทวงถาม ไม่

ลดผลประโยชน์ในการคุม้ ครองของ บริษัทประกนั รายงานผลให้คณะกรรมการทราบ

7. การไมเ่ ข้าถึงข้อมูลหนี้ของสมาชิกทมี่ กี บั สถาบนั 6. การเปล่ียนแปลงระดับและร้อยละของคณุ ภาพ

การเงินตา่ ง ๆ เชน่ จานวนหน้ี สถานะ ของหน้ี ลกู หน้ใี นแตล่ ะชนั้

การถกู อายดั หรือการถูกพทิ ักษ์ทรพั ย์ของสมาชกิ 7. การเพ่ิมขน้ึ ของการตง้ั ค่าเผ่ือหนี้สงสยั จะสูญ

และหน้ีสูญ

8. การไมน่ าสง่ เงินเพือ่ ชาระหน้ีตามกาหนดเวลา

9. จานวนเงนิ และจานวนสมาชกิ ทีผ่ ิดนัดชาระหน้ี

เพ่มิ ขึ้น

17

แผนบรหิ ำรควำมเส่ียง

ข้อ วตั ถุประสงค์ ปัจจยั เสี่ยง ประเมนิ ควำมเสยี่ ง
โอกำส ผลกระทบ ระดบั ควำม

1. เพ่อื ใหส้ หกรณ์ 1. ระเบียบวา่ ดว้ ยการใหเ้ งินกู้ 2 4 M

ไดร้ บั ชาระหนเ้ี งินกู้ แกส่ มาชิกไม่ละเอยี ดรอบคอบ

จากสมาชิกอยา่ ง ชัดเจน และ/หรือ ไม่ปฏบิ ัติ

ครบถ้วนตามกาหนด ตามระเบยี บท่ีกาหนดไว้

สัญญา

2. ให้ความสาคัญกบั 2 4 M
ความสามารถในการชาระหนี้
และมูลคา่ ของหลกั ประกนั

งด้ำนเครดติ (Credit Risk)

มเสยี่ ง มำตรกำร/แนวทำงจดั กำรควำมเส่ียง ผรู้ บั ผิดชอบ กำรตดิ ตำมประเมินผล

1. ปรบั ปรุงระเบียบวา่ ด้วยการให้ คณะกรรมการ 1. รายงานการประชมุ
อนกุ รรมการเงนิ กู้
เงนิ กแู้ ก่สมาชิก ใหม้ ีความรอบคอบ ดาเนนิ การ 2. รายงานการ
วิเคราะห์การให้เงินกู้
และชดั เจนเพ่ิมขึ้น ของเจ้าหนา้ ท่ี
3.ติดตามตรวจสอบการ
2. มกี ารวิเคราะห์ข้อมลู ตามหลกั 5c ประชาสัมพันธ์

3. จัดทาสญั ญาเงนิ กู้และค้าประกัน

ใหถ้ กู ต้องครบถ้วน

4. การอนุมตั ใิ หเ้ ป็นไปตามระเบียบ

โดยเครง่ ครัด

5. ประชาสมั พนั ธ์ระเบียบให้เปน็

ปจั จบุ นั อยู่เสมอ

1. ตรวจสอบการใหเ้ งินกู้ ฝา่ ยสนิ เชื่อ/ 1. รายงานการประชุม
อยู่บนพ้ืนฐานความสามารถในการ อนุกรรมการ อนุกรรมการเงนิ กู้ต้องมี
ชาระหนี้ โดยพจิ ารณาจากรายไดเ้ งิน เงินกู้ รายละเอยี ดในการชาระ
คงเหลอื ภายหลงั จากสถาบนั การเงนิ หน้ขี องสมาชิกทุกราย
อ่ืนหักแล้ว และมเี งนิ เพียงพอในการ
ดารงชพี
2. ตรวจสอบกับต้นสังกัดโดยตรง
ก่อนการพิจารณาให้กู้

18

3. ขอ้ มูลไมเ่ พียงพอในการ 3 3 M
บริหารลกู หนีท้ ีม่ หี ลักประกนั
หรือผดิ นดั ชาระหนี้

4. ผกู้ ู้ยา้ ยสถานท่ีทางาน/ 2 4 M
สงั กัด ไม่แจ้งให้สหกรณ์ทราบ
ตามระเบยี บ

5. สมาชิกทีห่ ัก ณ ที่จา่ ยชาระ 4 3 H
ไม่ครบตามท่ีเรยี กเกบ็ ไม่
ทราบวนั ทีช่ าระ และยอด
ชาระท่แี น่นอน

1. จดั ทาฐานข้อมูลลูกหนี้ทถ่ี ูกต้อง ฝ่ายสนิ เชอื่ ฐานขอ้ มูลของสหกรณ์
รายงานการประชมุ
ครบถว้ นเปน็ ปัจจบุ ัน รายละเอยี ดหลักประกนั
และการติดตามหน้ี
2. รายงานข้อมลู ความสมบูรณ์ของ ฝ่ายสนิ เช่อื /
รายงานการจดั ชั้นลูกหน้ี
หลักประกัน และผู้คา้ ประกนั และการ อนกุ รรมการ
ระเบยี บว่าดว้ ยการให้
ติดตามหนท้ี ี่ผดิ ชาระหนเ้ี ชน่ รายช่ือ เงนิ กู้ เงนิ กู้

ลกู หน้ี จานวนเงนิ สาเหตุการผดิ นดั

ฯลฯ

3. สหกรณม์ ีการจดั ช้ันลกู หนี้ท่ีตา่ กว่า ฝา่ ยสนิ เชือ่ /

คณุ ภาพ อนุกรรมการ

เงนิ กู้

1. แจง้ สมาชิกดาเนนิ การใหห้ ักผ่าน ฝา่ ยสนิ เชอื่ /

บญั ชธี นาคารหรือใหต้ น้ สังกดั หัก ณ ท่ี อนุกรรมการ

จ่ายให้สหกรณ์ เงินกู้

2. ประสานความร่วมมือกับต้นสงั กัด

ในการขอข้อมลู การย้ายสถานทที่ างาน

1. แจ้งลว่ งหนา้ ภายใน 3 วันทาง ฝ่ายเรง่ รดั หน้ี ตดิ ตามผลการชาระหนี้
โทรศพั ท์/ขอ้ ความ หลังสน้ิ เดอื น
2. ส่งหนังสอื ติดตามทวงถามใหม้ า
ชาระหนภ้ี ายใน 7 วนั
3. แจ้งสมาชกิ ใหห้ กั ผ่านบัญชีธนาคาร
ในสว่ นทเ่ี หลอื

19

6. สมาชกิ ปรับโครงสรา้ งหนี้ 4 3 H
กรณคี ่าครองชีพไมเ่ พยี งพอ 4 VH
และสมาชิกถูกบงั คบั คดี ไม่
สามารถนาเงินเหลือมาชาระ
หน้ีได้

7. หลักประกนั ของผกู้ ดู้ ้อยค่า 4

2. เพ่ือเพิม่ 1.การบรหิ ารจดั การหน้ที ่ี 1 1 L

ประสทิ ธภิ าพในการ สงสยั จะสญู

บรหิ ารจัดการหน้ี

สงสยั จะสญู ลดลง

นาเงินปนั ผลและเฉลี่ยคืนแกส่ มาชิก ฝา่ ยเรง่ รัดหนี้ รายงานจานวนสมาชิก
กลุ่มนี้คือนาเงนิ ปนั ผลชาระหนไี้ มน่ อ้ ย ปรับโครงสร้างบังคับคดี
กวา่ รอ้ ยละ 70 ต่อกรรมการ

1. ดาเนนิ การตรวจสอบหลกั ทรพั ย์ อนุกรรมการ ลงพน้ื ที่จรงิ เพ่ือ
ค้าประกนั ของผ้กู ู้ 4 ปี/ครั้ง เงนิ ก/ู้ ผู้จัดการ ประเมินหลักทรัพย์/
2. ออกระเบยี บว่าดว้ ยหลักประกัน สภาพหลักทรัพย์ใน
ดอ้ ยคา่ ปัจจบุ นั

1. เรง่ จดั ระบบการบรหิ ารจัดการหนี้ ฝา่ ยเร่งรัดหนี้/ ติดตามลูกหนท้ี ่ีมีความ
ของสมาชิกเชิงรกุ ด้วยการกาหนด คณะกรรมการ เสีย่ ง
มาตรการป้องกัน และแกป้ ัญหาตาม ดาเนินการ
มาตรการอย่างจริงจัง
2. พฒั นากระบวนการบริหารสินเชือ่
ให้เกดิ ประสิทธิภาพ และลดต้นทนุ การ
บรหิ ารจัดการ

20

3.3 แผนบรหิ ำรควำมเสยี่ งด้ำนกำรตลำด(Market Risk)

3.3.1 คำนิยำมควำมเส่ียงดำ้ นกำรตลำด

3.3.1.1 ควำมเส่ียงด้ำนกำรตลำด (Market Risk) หมายถึง ความเส่ียงท่ีสหกรณ์อาจได้รับ
ความเสียหาย เนอื่ งจาก การเปล่ยี นแปลงมูลค่าของสนิ ทรัพย์ หนส้ี ิน และภาระผูกพันท่ีเกดิ จากการเคล่ือนไหวของ
อัตราดอกเบยี้ (Interest Rate) ราคาตราสารในตลาดเงินตลาดทุน (Equity Price) และอตั ราแลกเปลี่ยน (Foreign
Exchange Rate) ทีม่ ผี ลกระทบในทางลบต่อรายได้ของสหกรณ์

3.3.2 ประเภทของควำมเสี่ยงด้ำนตลำด

3.3.2.1 ควำมเสี่ยงจำกอัตรำดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) ธรุ กรรมท่อี าจไดร้ บั ผลกระทบจาก
การเปล่ียนแปลงของอัตราดอกเบ้ีย เช่น ตราสารหนี้ อนุพันธ์ทางการเงินท่ีอ้างอิงตราสารหน้ีหรืออัตราดอกเบ้ีย
(Interest Rate Derivatives) และหลักทรัพย์ทมี่ ีลกั ษณะคล้ายตราสารหนี้

3.3.2.2 ควำมเส่ียงจำกรำคำ (Equity Price Risk) ธุรกรรมที่อาจได้รับผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลง ของราคาตราสารหนี้และตราสารทุน อนุพันธ์ทางการเงินที่อ้างอิงตราสารทุน และหลักทรัพย์ที่มี
ลักษณะคล้าย ตราสารทนุ

3.3.2.3 ควำมเสี่ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยน (Foreign Exchange Risk) เป็นความเส่ียงท่ีรายได้
ของ สหกรณไ์ ด้รับผลกระทบในทางลบ เนอ่ื งมาจากความผันผวนของอัตราแลกเปลย่ี น

3.3.3 แหล่งทมี่ ำของควำมเสี่ยงด้ำนตลำดของสหกรณ์

สหกรณอ์ อมทรัพย์ครูพัทลุง จากัด เป็นองค์กรทางการเงินท่มี ีลกู ค้าเฉพาะกลุ่ม ดาเนนิ งานเฉพาะ
ภายในราชอาณาจักรไทย และใช้สกุลเงินไทยเท่าน้ัน สหกรณ์จึงไม่มีผลกระทบทางตรงกับความเสี่ยงที่เกิดจาก
อัตราแลกเปล่ียน ดังนั้น สหกรณ์จะขอกล่าวถึงเพียงความเสี่ยงจากอัตราดอกเบ้ีย ซึ่งจะมีผลกระทบต่อรายรับ
รายจา่ ยของสหกรณโ์ ดยตรง หากมีการเปลย่ี นแปลงของอตั ราดอกเบี้ยในตลาดเพยี ง 2 ประเภท

3.3.3.1 ควำมเส่ียงจำกอัตรำดอกเบยี้ หมายถงึ ความเสียหายต่อรายไดด้ อกเบี้ยของสหกรณ์
จากการ เปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบ้ียของรายการต่าง ๆ ในงบการเงินท่ีมีความสัมพันธ์ต่ออัตราดอกเบี้ย ซ่ึงมี
แหล่งทีม่ า ได้แก่ อัตราดอกเบีย้ นโยบาย

3.3.3.2 ควำมเส่ยี งจำกรำคำ เปน็ ความเส่ียงทร่ี ายได้ ได้รับผลกระทบในทางลบ

3.3.4 ผลกระทบนโยบำยอัตรำดอกเบ้ยี โดยตรงกับรำยงำนในงบกำรเงนิ ของสหกรณ์ หรือ
กำรดำเนินงำนของสหกรณ์

รำยกำร ดอกเบย้ี นโยบำย (Policy Rate)
1. อัตราดอกเบ้ียจา่ ยเงินกูย้ ืม
เพมิ่ ขน้ึ ลดลง
2. อตั ราดอกเบย้ี จา่ ยเงินฝาก
– ทาใหส้ หกรณ์อาจตอ้ งรับภาระจาก ดอกเบ้ียจ่ายเงนิ – สหกรณ์อาจลดภาระดอกเบ้ยี จ่าย เงนิ

กยู้ ืมทส่ี หกรณก์ ้ยู มื เงินจากสถาบนั การเงิน เน่อื งจาก ก้ยู ืม ทาให้ต้นทุนของสหกรณ์ตา่ ลง

สถาบนั การเงินอาจปรบั อัตรา ดอกเบ้ยี ดอกเบี้ยเงิน

กู้ยมื เพิม่ ขึน้ ตามดอกเบ้ยี นโยบายท่เี พ่มิ ข้ึน

– หากดอกเบ้ยี นโยบายเพมิ่ ขึ้น สถาบันการเงินอาจมี – สหกรณอ์ าจไมจ่ าเปน็ ต้องปรบั ลด

การปรบั อตั ราดอกเบยี้ เงนิ ฝากสูงตามไปด้วย เพ่อื อตั ราดอกเบยี้ เงนิ รบั ฝากลงตาม

ระดม เงนิ ฝากจากลกู คา้ จะสง่ ผลทาให้ สหกรณ์อาจ ดอกเบี้ยนโยบาย หากสหกรณ์

ต้องปรับอัตราดอกเบย้ี เงนิ รับฝากเพม่ิ ข้นึ ด้วย เพ่ือให้ ต้องการระดมเงินฝากจากสมาชิก ซึ่ง

การปรบั ลดอัตราดอกเบยี้ นโยบาย จะ

21

เปน็ ไปตามแผลกลยทุ ธข์ องสหกรณ์คือ มีอัตรา ทาให้สมาชกิ นาเงินมาฝากกับสหกรณ์

ดอกเบ้ยี เงินรบั ฝากสูงกวา่ สถาบนั การเงิน เพิ่มขน้ึ เน่ืองจากไดร้ บั ผลตอบแทน

ดกี ว่าสถาบันการเงิน

3. อัตราดอกเบ้ียรับจากเงนิ ให้ – อัตราดอกเบย้ี เงนิ กู้พเิ ศษโครงการเพอื่ การศกึ ษา – เมอื่ ธปท.ประกาศลดอตั ราดอกเบย้ี

กู้แก่สมาชกิ ตนเองและบุคคลในครอบครวั และเงนิ กพู้ ิเศษ ซึ่ง นโยบายลง อาจทา ให้สถาบนั การเงนิ

หากมกี ารปรบั เพ่มิ ขน้ึ ของดอกเบย้ี นโยบายอาจทาให้ ปรับอตั ราดอกเบี้ยเงนิ กยู้ มื ลดลง ตาม

สมาชิกหนั มาใช้บรกิ ารเงนิ กู้ของสหกรณม์ ากขน้ึ จงึ ไปด้วย จงึ เปน็ ช่องทางทาใหส้ ถาบนั

เปน็ โอกาสของสหกรณใ์ นการท่ีจะปรับนโยบายการ การเงิน อาจมีการส่งเสริมการขาย

ให้เงนิ กู้ 2 ประเภทน้ี เพ่อื ให้เป็นไปตามความ ใหก้ ับลกู ค้า สมาชิกสหกรณ์ อาจมีการ

ต้องการของสมาชิกไม่ว่าจะเป็นอตั ราดอกเบ้ียคงท่ี ทา Refinance ไปยัง สถาบันการเงิน

หรืออัตราดอกเบ้ยี ลอยตัว ส่วนดอกเบี้ยเงินกฉู้ กุ เฉนิ ต่าง ๆ เพอ่ื ให้ได้ ดอกเบยี้ ตา่ ซึ่งจะ

หรือ สามญั อาจปรบั ตวั สูงขน้ึ ตามอัตราดอกเบย้ี เงนิ สง่ ผลกบั ดอกเบีย้ รับเงนิ ก้ยู ืมแบบ

รับฝาก เพ่อื ให้มคี วามสมดลุ ระหวา่ งอัตราดอกเบยี้ ลอยตัว สหกรณ์ อาจตอ้ งปรบั อตั รา

เงนิ กู้ และเงนิ ฝาก จะส่งผลทาใหร้ ายรับจากดอกเบีย้ ดอกเบยี้ ลอยตัวลงเพือ่ รักษาสมาชกิ ผ้กู ู้

เงนิ ใหก้ ู้เพ่ิมมากขน้ึ ดว้ ย เงินไว้ ทาให้รายไดจ้ ากดอกเบ้ียเงนิ ให้

– การปรบั เพมิ่ ขึน้ ของดอกเบี้ย นโยบาย อาจส่งผลกบั กยู้ ืมลดลง ตามไปดว้ ย

ดอกเบย้ี รบั จากเงนิ กยู้ ืมแบบดอกเบีย้ คงที่ ทใี่ หเ้ งินกู้

แก่สมาชกิ ไปแลว้ ซงึ่ สหกรณจ์ ะไมส่ ามารถปรบั

เพ่มิ ขึ้นได้ ทาใหส้ หกรณ์เสยี โอกาสจากดอกเบย้ี

แบบคงท่ี โดยปรบั ไปตาม สถานการณข์ องภาวะ

ตลาดการเงิน

3.3.5 ตัวอยำ่ งปัจจยั เสย่ี งด้ำนกำรตลำด

ปจั จยั ภำยนอก ปจั จัยภำยใน

1. อตั ราดอกเบยี้ ท่ีธนาคารแหง่ ประเทศไทย กาหนดขึน้ 1. ความเส่ียงจากอตั ราดอกเบย้ี นโยบาย “เพ่มิ ขึ้น” ตอ่
เป็น ดอกเบยี้ อ้างองิ คร้งั

2. การปรบั อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก เงินกู้ยืมของธนาคาร 2. ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบ้ยี นโยบาย “ลดลง” ตอ่ ครงั้
พาณชิ ย์ สบื เน่อื งมาจากการปรบั อตั รา ดอกเบ้ยี
นโยบาย ทาให้ธนาคารพาณชิ ย์จะตอ้ งปรับอตั รา
ดอกเบยี้ โดยอ้างองิ จากดอกเบยี้ นโยบาย ซง่ึ ส่งผล
กระทบทาให้สหกรณอ์ าจต้องรบั ภาระต้นทนุ ทส่ี งู ข้ึน
หรอื ลดลง กไ็ ด้

22

แผนบรหิ ำรควำมเสี่ยงด

ขอ้ วตั ถุประสงค์ ปัจจยั เสี่ยง ประเมินควำมเส่ยี ง
โอกำส ผลกระทบ

1. เพ่ือให้ผลตอบแทน อตั ราดอกเบ้ียตามประกาศ 5 2

ต้นทนุ และรายไดข้ อง ของธนาคารแห่งประเทศไทย

สหกรณฯ์ ลดลง ไม่ สงู ขึน้ ทาให้ดอกเบย้ี จ่ายของ

เกดิ ผลกระทบในทาง สหกรณ์สูงข้ึน แต่ไมส่ ามารถ

ลบจากการ ขึ้นอัตราดอกเบ้ยี รบั ได้

เปลยี่ นแปลงอัตรา

ดอกเบ้ีย และราคาตรา

สารในตลาดเงนิ และ

ตลาดทนุ

ด้ำนกำรตลำด (Market Risk)

ระดับควำมเสี่ยง มำตรกำร/แนวทำงจดั กำรควำมเสีย่ ง ผู้รับผดิ ชอบ กำรตดิ ตำม
ประเมินผล
H 1. ลดจานวนเงนิ กู้ยมื จาก ผู้จัดการ
สถาบนั การเงนิ พร้อมกับไป รายงานผลการ
รณรงคใ์ หส้ มาชกิ ฝากเงินกบั ดาเนินงาน
สหกรณ์ฯ ประจาเดอื น
2. สง่ เสรมิ ใหส้ มาชกิ เพ่ิมทุน
เรือนหุ้นกบั สหกรณ์ ฯ

23

3.4 แผนบริหำรควำมเสย่ี งด้ำนสภำพคลอ่ ง (Liquidity Risk)

3.4.1 คำนยิ ำมควำมเสย่ี งด้ำนสภำพคล่อง

3.4.1.1 ควำมเสี่ยงดำ้ นสภำพคลอ่ ง หมำยถงึ ความเสี่ยงในปจั จบุ นั หรือในอนาคตท่สี หกรณ์อาจ
ไม่สามารถจัดหาเงินสด หรือไม่สามารถเปล่ียนแปลงสินทรัพย์เป็นเงินสด หรือไม่สามารถจัดหาเงินทุนได้เพียงพอ
หรือสามารถจัดหาเงินทุนได้ แต่ด้วยต้นทุนท่ีสูง เพื่อชาระภาระผูกพันเมื่อถึงกาหนด ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อความ
เช่ือม่ันของสมาชิก จนสมาชิกผู้ฝากเงิน มาถอนเงินเป็นจานวนมาก หรือสถาบันการเงินอาจเรียกหนี้สินที่เกิดจาก
การกยู้ ืมคนื กอ่ น กาหนด ซงึ่ จะทาให้เกิดการขาดสภาพคลอ่ งมากข้นึ

3.4.2 มมุ มองของควำมเสีย่ งดำ้ นสภำพคล่อง

3.4.2.1 ความเสย่ี งด้านการขาดสภาพคล่อง
3.4.2.2 ความเส่ียงด้านสภาพคล่องมากไป

3.4.3 ตวั อยำ่ งปจั จัยที่ช่วยลดควำมเส่ยี งดำ้ นสภำพคลอ่ ง

1) การวางแผนด้านสภาพคล่องให้เพียงพอ สหกรณ์มีการวางแผนด้านสภาพคล่องที่เหมาะสม
กับสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น ตลอดจนมีการกาหนดกรอบของแหล่งที่ได้มา และแหล่งท่ีใช้ไปของเงินทุนให้เหมาะสม
เชน่ การจัดหาแหลง่ เงนิ กูย้ ืม และการทาวงเงินกเู้ บิกเกนิ บัญชี (O/D) ไว้ เพอ่ื รองรบั ปญั หาสภาพคล่อง

2) ความมั่นคงทางการเงินของสหกรณ์ความมั่นคงของสหกรณ์เป็นส่ิงสาคัญท่ีจะทาให้สมาชิก
ของสหกรณ์มั่นใจว่า การใช้บริการของสหกรณ์มีความปลอดภัยสูง และสามารถให้บริการสมาชิกได้อย่างรวดเร็ว
หากสหกรณ์มีผลการดาเนินงานท่ีดีเป็นไปตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ สมาชิกก็จะไม่ถอนเงินออกจากสหกรณ์ ก็อาจ
ลดความเสย่ี งที่อาจเกดิ จากสภาพคล่องได้

3) การจัดหาแหล่งเงินทุน และการกระจายความเสี่ยง แหล่งเงินทุน เป็นเร่ืองสาคัญที่สหกรณ์
ไมค่ วรมองขา้ ม โดยสหกรณ์จะตอ้ งจัดแหล่งเงนิ ทนุ ท่ีมคี วามมน่ั คง น่าเช่อื ถอื ตลอดจนให้ประโยชน์สงู สุดแก่สหกรณ์
และสหกรณ์ควรมีการกระจายความเส่ียงของเงินทุน ไม่กระจุกตัวอยู่ในแหล่งเงินทุนเดียว เพื่อกระจายความเส่ียง
และลงทนุ ในสนิ ทรพั ย์ท่มี สี ภาพคลอ่ งคอ่ นข้างสูง

4) การประชาสัมพันธ์ข่าวสารของสหกรณ์ สหกรณ์ควรมีช่องทางการให้ข่าวสารแก่สมาชิกใน
หลายช่องทาง เพ่ือให้สมาชิกสามารถรบั รู้ข่าวสารและสถานการณ์ของสหกรณ์ไดแ้ ละสหกรณ์จะต้องมีการนาเสนอ
ขอ้ มูลท่เี ปน็ ข้อเทจ็ จริงให้แกส่ มาชิกทราบอย่างตรงไปตรงมา

5) การจัดทาแผนฉุกเฉิน เพื่อรองรับเหตุการณ์ท่ีไม่อาจคาดการณ์ได้ เช่น การถอนเงินรับฝาก
ของสมาชิกจานวนมาก ซ่ึงสหกรณ์จะต้องมีการหาแหล่งเงินกู้ระยะสั้นเพ่ือเหตุฉุกเฉิน เช่น การทาวงเงินกู้เบิกเกิน
บญั ชี (O/D) การกูย้ มื เงนิ โดยตว๋ั สัญญาใช้เงนิ

6) การวางแผนด้านสภาพคล่องให้เพียงพอ สหกรณ์มีการวางแผนด้านสภาพคล่องที่เหมาะสม
กับสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น ตลอดจนมีการกาหนดกรอบของแหล่งที่ได้มา และแหล่งที่ใช้ไปของเงินทุนให้เหมาะสม
เชน่ การจัดหาแหล่งเงินก้ยู มื และการทาวงเงินกู้เบกิ เกินบัญชี (O/D) ไว้ เพอ่ื รองรับปญั หาสภาพคล่อง

7) ความม่ันคงทางการเงินของสหกรณ์ความม่ันคงของสหกรณ์เป็นสิ่งสาคัญท่ีจะทาให้สมาชิก
ของสหกรณ์มั่นใจว่า การใช้บริการของสหกรณ์มีความปลอดภัยสูง และสามารถให้บริการสมาชิกได้อย่างรวดเร็ว
หากสหกรณ์มีผลการดาเนินงานที่ดีเป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ สมาชิกก็จะไม่ถอนเงินออกจากสหกรณ์ ก็อาจ
ลดความเส่ยี งทีอ่ าจเกิดจากสภาพคลอ่ งได้

24

8) การวางแผนด้านสภาพคล่องให้เพียงพอ สหกรณ์มีการวางแผนด้านสภาพคล่องที่เหมาะสม
กับสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน ตลอดจนมีการกาหนดกรอบของแหล่งท่ีได้มา และแหล่งที่ใช้ไปของเงินทุนให้เหมาะสม
เช่น การจดั หาแหลง่ เงนิ กู้ยมื และการทาวงเงนิ ก้เู บิกเกินบัญชี (O/D) ไว้ เพอื่ รองรบั ปญั หาสภาพคล่อง

9) ความม่ันคงทางการเงินของสหกรณ์ความมั่นคงของสหกรณ์เป็นส่ิงสาคัญท่ีจะทาให้สมาชิก
ของสหกรณ์ม่ันใจว่า การใช้บริการของสหกรณ์มีความปลอดภัยสูง และสามารถให้บริการสมาชิกได้อย่างรวดเร็ว
หากสหกรณ์มีผลการดาเนินงานท่ีดีเป็นไปตามเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ สมาชิกก็จะไม่ถอนเงินออกจากสหกรณ์ ก็อาจ
ลดความเสยี่ งทีอ่ าจเกดิ จากสภาพคลอ่ งได้

10) การจดั หาแหลง่ เงินทนุ และการกระจายความเสี่ยง แหล่งเงนิ ทุน เป็นเร่ืองสาคัญท่สี หกรณ์ ไม่
ควรมองข้าม โดยสหกรณ์จะต้องจัดแหล่งเงินทุนที่มีความมั่นคง น่าเช่ือถือ ตลอดจนให้ประโยชน์สูงสุดแก่สหกรณ์
และสหกรณ์ควรมีการกระจายความเสี่ยงของเงินทุน ไม่กระจุกตัวอยู่ในแหล่งเงินทุนเดียว เพ่ือกระจายความเสี่ยง
และลงทนุ ในสินทรัพย์ท่ีมสี ภาพคล่องคอ่ นข้างสูง

11) การประชาสัมพันธ์ข่าวสารของสหกรณ์ สหกรณ์ควรมีช่องทางการให้ข่าวสารแก่สมาชิกใน
หลายช่องทาง เพ่ือให้สมาชิกสามารถรบั รู้ข่าวสารและสถานการณ์ของสหกรณ์ไดแ้ ละสหกรณ์จะต้องมีการนาเสนอ
ข้อมลู ทเี่ ป็นข้อเท็จจรงิ ให้แก่สมาชิกทราบอย่างตรงไปตรงมา

12) การจัดทาแผนฉุกเฉนิ เพ่ือรองรับเหตุการณ์ท่ีไมอ่ าจคาดการณ์ได้ เชน่ การถอนเงนิ รบั ฝาก ของ
สมาชกิ จานวนมาก ซึ่งสหกรณจ์ ะต้องมีการหาแหลง่ เงินกรู้ ะยะสัน้ เพื่อเหตุฉุกเฉิน เช่น การทาวงเงินกเู้ บิกเกิน บญั ชี
(O/D) การกู้ยมื เงนิ โดยตว๋ั สญั ญาใชเ้ งิน

3.4.4 ตวั อย่ำงปจั จัยเสยี่ งสภำพคล่อง ปจั จยั ภำยใน

ปจั จัยภำยนอก 1. สมาชกิ มีการถอนเงินในจานวนเงินท่สี ูงหรอื ไม่
และความถีใ่ นการถอนเงนิ มมี ากน้อย เพียงใด
1. สถานการณด์ อกเบ้ยี ของตลาด
2. การลดความนา่ เชื่อถือของขบวนการสหกรณ์ 2. การปรบั เปลี่ยนอตั ราดอกเบ้ยี เงนิ รบั ฝาก เงินกู้
3. การลดวงเงินกยู้ มื ทใี่ หแ้ ก่สหกรณ์ เป็นไปตามแผนกลยุทธห์ รือไม่ ซ่งึ จะมี
4. เงินเฟ้อ หรือ เงนิ ฝืด ภายในประเทศ ผลกระทบต่อกระแสเงินสดรับ จา่ ย ตลอดจน
5. การเปลยี่ นแปลงของกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง และ ผลการดาเนินงานของสหกรณ์

การออกเกณฑก์ ารกากบั ดูแลสหกรณ์ ออม 3. การเปลย่ี นแปลงของโครงสร้างเงินทนุ ของ
ทรัพยแ์ ละสหกรณ์เครดติ ยเู นียนของกรม สหกรณ์ ไม่ว่าจะเปน็ หนีส้ ิน หรือทนุ ของ
ส่งเสรมิ สหกรณ์ สหกรณ์ มีการฝากเงนิ หรือระดมห้นุ ผิดปกติ
หรือไม่

4. กระแสเงินสดรบั – จา่ ย ผดิ ปกตหิ รือไม่
5. การผดิ นัดชาระหนข้ี องสมาชิก มีเพ่ิมข้ึน หรือ

ลดลงเพยี งใด
6. การดารงสนิ ทรัพย์สภาพคล่อง เป็นไปตาม

เกณฑ์ท่กี รมส่งเสรมิ สหกรณ์กาหนดหรอื ไม่

25

แผนบริหำรควำมเส่ียงดำ้ น

ขอ้ วตั ถปุ ระสงค์ ปจั จัยเส่ียง ประเมนิ ควำมเสีย่ ง
โอกำส ผลกระทบ ระดับควำมเส่ียง

เพื่อใหส้ ามารถชาระ 1. ขาดการจัดทางบ 4 3 H

1. หนี้สนิ และภาระผูกพัน แสดงสถานะทางการเงิน

เมอื่ ถึงกาหนด หรือ ล่วงหนา้ ในระยะ 3

สามารถจดั หาทนุ ให้ เดือน

เพียงพอด้วยตน้ ทุนทไี่ ม่

สูงเกินไป

2. แผนการจัดหาทนุ 3 4 H
และการใช้ทนุ ไม่สัมพนั ธ์
กัน

นสภำพคล่อง (Liquidity Risk)

มำตรกำร/แนวทำงจดั กำรควำมเสี่ยง ผ้รู ับผดิ ชอบ กำรตดิ ตำมประเมนิ ผล

1. จดั ทาประมาณการลว่ งหน้า 3 ผู้จดั การ/หวั หน้า 1. ประมาณการเงินสดรบั จา่ ยคา่
เดอื น ฝา่ ยการเงนิ และ (Cash Flow projection)
บญั ชี ลว่ งหนา้ ของสหกรณ์
2. มกี ารนาข้อมูลจรงิ ทุกสิ้นเดือน 2. รายงานสถานะสนิ ทรพั ย์
มาพัฒนาปรบั ปรุงปรมิ าณการเงินสด สภาพคลอ่ งประจาวันเสนอต่อ
รับจ่าย (Cash Flow projection) ผ้จู ัดการ
3. ประมาณการเงนิ สดรับจ่าย
Cash Flow projection ท่ี
ปรับปรงุ แลว้

1. เร่งรัดการเพ่มิ หุน้ ผจู้ ัดการ/ แผนการจัดหาเงนิ ทุนและการใช้
ทุน
2. ระดมเงนิ ฝาก คณะกรรมการ

3. หาแหล่งเงินกดู้ อกเบยี้ ต่า ชดเชย ดาเนินการ

อัตราดอกเบี้ยสูง

26

3. กระแสข่าวท่ี 2 4 M
กระทบตอ่ ความเชื่อมั่น
ต่อองค์กร

2. เพอ่ื ใหส้ หกรณ์ฯ มีทุน 1. ขาดการวางแผนการ 1 1 L
เพ่มิ ขึน้ และมีสภาพ เพม่ิ ทนุ ข้ึนและไม่มี
คล่องในการบริหาร สภาพคลอ่ งในการ
กิจการ และลดหนีส้ ิน บริหารและลดหน้สี ิน
การกยู้ มื จากภายนอก การกู้จากภายนอก

1. สรา้ งการรับรู้แกส่ มาชิกโดยการ คณะกรรมการ 1. ตรวจสอบการใช้สอื่
ประชาสัมพันธผ์ ่านเว็บไซต์ , Line ดาเนนิ การ/ ประชาสมั พันธ์
สหกรณ์ , Facebook สหกรณ์ อนุกรรม 2. สภาพความเปน็ จริงของ
การศึกษา/ เจา้ หนา้ ท่ี กรรมการ
2. สร้างภาพลกั ษณท์ ด่ี ใี ห้องคก์ ร เจ้าหน้าท่ี 3. สอบถามความพึงพอใจของ
สมาชิก
1. สง่ เสรมิ ให้สมาชกิ ออมทรัพย์ คณะกรรมการ
ดว้ ยการเพ่มิ ทุนเรอื นห้นุ ด้วยการ ดาเนินการ แผนการจัดหาเงนิ ทนุ และการใช้
สรา้ งแรงจงู ใจและการประชาสัมพันธ์ ทุน

2. ส่งเสรมิ ใหส้ มาชิกฝากเงินดว้ ย
การสร้างแรงจงู ใจ และการ
ประชาสัมพนั ธ์เชิงรกุ แบบมืออาชพี

27

3.5 แผนบรหิ ำรควำมเส่ียงดำ้ นปฏบิ ตั กิ ำร (Operational Risk)

3.5.1 คำนิยำมควำมเส่ยี งดำ้ นปฏิบตั ิกำร(Operational Risk)

3.5.1.1 ควำมเส่ียงด้ำนปฏิบัติกำร (Operational Risk) หมายถึง ความเส่ียงของการขาด
การกากับดูแลกิจการท่ีดี หรือขาดธรรมาภิบาลในองค์กรที่เก่ียวข้องกับกระบวนการปฏิบัติงานภายใน บุคลากร
ระบบงาน หรือ เหตกุ ารณ์ภายนอก และสง่ ผลกระทบต่อรายได้จากการดาเนินงาน รวมถึงความเสี่ยงด้านกฎหมาย
เช่น ความเสี่ยง ต่อการถูกฟ้องร้อง หรือดาเนินคดีตามกฎหมาย ซึ่งความเส่ียงด้านปฏิบัติการ จะมีผลกระทบต่อ
ความเสี่ยงด้านอื่นโดยเฉพาะความเสย่ี งด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) และดา้ นช่อื เสยี ง (Reputation Risk)

3.5.2 ตวั อย่ำงปัจจยั เส่ยี งด้ำนปฏิบัตกิ ำร

ปัจจัยภายนอก ปัจจยั ภายใน

1. ความไมแ่ นน่ อนของนโยบายของรฐั และหนว่ ยงานที่ 1. การเงินและการบญั ชี
1.1. การปฏบิ ัติงานดา้ นการเงนิ ไม่เหมาะสม
เกี่ยวข้อง 1.2. รับเงนิ แลว้ ไม่บันทึกบัญชี
1.3. จ่ายเงนิ โดยไมม่ ีหลกั ฐานการจ่าย หรอื จา่ ยเงินชา้
2. การสญู เสยี ที่เกิดขน้ึ กับทรัพยส์ นิ หรอื รายไดอ้ นั หรอื จา่ ยเงินเกิน
1.4. การเกบ็ รักษาเงิน ไม่ปลอดภยั
เนอ่ื งมาจากอบุ ตั ิภยั ต่าง ๆ ที่ไมค่ าดคดิ เช่น ไฟไหม้ น้า 1.5. การจัดทาบญั ชี ไมถ่ กู ต้อง
ทว่ ม แผน่ ดนิ ไหว 1.6. การใชโ้ ปรแกรมระบบบัญชี

3. ความเสยี หายจากการท่สี มาชิกหรอื คูส่ ัญญาขององคก์ ร 2. สนิ เชื่อ

ใชอ้ งคก์ รเป็นเครอ่ื งมือ ในการฟอกและกระทาผดิ 2.1. การดาเนินงาน ไม่เป็นไปตามแผนงาน หรอื
กฎหมาย
เป้าหมายท่กี าหนดไว้
4. การขาดแผนรองรับเหตกุ ารณ์ฉุกเฉนิ ต่าง ๆ
5. ไม่มีการทาประกนั ภยั ในธรุ กรรมใด ๆ ที่มคี วามเสี่ยง 2.2. เจ้าหน้าท่ีสนิ เชื่อทาหนา้ ทรี่ ับ – จา่ ยเงิน และจดั ทา
6. ขอ้ มลู ท่เี ผยแพรภ่ ายนอกองคก์ รไม่ถกู ต้อง ไมส่ อดคล้อง
บัญชยี อ่ ย
กนั ก่อใหเ้ กิดความไม่น่าเชือ่ ถือ โดยเฉพาะกรณีท่ีมีการ
นาขอ้ มูลไปใชอ้ ้างอิง 2.3. การจ่ายเงินกู้ โดยไม่ไดร้ ับอนมุ ตั ิ
2.4. การจ่ายเงนิ กู้ เกนิ กวา่ วงเงินทไี่ ดร้ บั อนุมตั ิ

28

ปัจจยั ภายนอก ปัจจัยภายใน

2.5. การจา่ ยเงนิ กู้ โดยไม่มหี ลกั ประกนั หรอื หลกั ประกนั ไม่

เป็นไปตามระเบียบ

2.6. การบนั ทกึ บัญชเี กีย่ วกับการรับชาระหนี้
2.7. การต้ังค่าเผ่อื หนส้ี งสัยจะสูญ ไมเ่ พยี งพอ
2.8. คานวณดอกเบย้ี เงินให้กู้ ผิดพลาด
2.9. การปลอมลายมือชอ่ื ผู้กู้และผคู้ ้าประกันสาหรบั สนิ เชือ่

ท่ใี ชบ้ ุคคล คา้ ประกัน

2.10. การประเมนิ ราคาหลักประกนั ทไี่ มเ่ ป็นมาตรฐานกรณี

เงนิ กู้พิเศษ

2.11. ไมไ่ ดร้ ับชาระหน้กี รณผี กู้ พู้ ้นจากสมาชกิ ภาพ
2.12. การเปลย่ี นแปลงกฎหมายการค้าประกัน

3. เงินฝำก

3.1. การดาเนนิ งาน ไม่เป็นไปตามแผน หรอื เป้าหมายที่

กาหนดไว้

3.2. เจา้ หน้าทรี่ บั ฝากเงนิ ทาหนา้ ที่รบั
3.3. จ่ายเงิน และจดั ทาบญั ชียอ่ ย
3.4. ปฏบิ ตั ิผดิ ระเบียบ ข้อบงั คบั
3.5. การรับฝากและออมเงนิ ไมต่ รงกับหลักฐาน
3.6. การถอนเงนิ ฝากโดยทจุ รติ
3.7. การคานวณดอกเบย้ี เงนิ รับฝากผดิ พลาด

4. สำนกั งำน
4.1. การจัดซอื้ หรือกอ่ สรา้ ง ไม่เปน็ ไปตามระเบียบหรอื มตทิ ี่
ประชุมใหญ่ หรอื มติทปี่ ระชมุ คณะกรรมการ
4.2. ทรพั ยส์ ินของสหกรณเ์ สื่อมชารดุ หรือเสยี หาย หรือสูญ
หาย
4.3. การดูแล บารงุ รกั ษาทรัพยส์ นิ ไม่เหมาะสม
4.4. โอนทรัพยส์ ินออกจากทะเบยี นคุม โดยไมม่ เี หตผุ ล
4.5. ซอ้ื ทรพั ยส์ นิ ในราคาสงู กวา่ ทีค่ วร
4.6. บนั ทึกมลู คา่ ทรพั ยส์ ินในบญั ชี ไมถ่ ูกต้อง
4.7. ไม่สามารถปฏบิ ัตงิ าน หรอื ให้บรกิ ารสมาชกิ ไดก้ รณี
ไฟฟา้ ดบั
4.8. เกิดอคั คภี ัย

29

ปจั จัยภายนอก ปัจจยั ภายใน

4.9. บคุ คลภายนอก สามารถเขา้ ถงึ พนื้ ทก่ี ารปฏิบัติงาน
เก่ยี วกบั การเงิน และการเกบ็ เอกสารสาคญั

4.10. เกิดโจรกรรม ทาให้ทรัพยส์ นิ สูญหาย
4.11. เกิดภยั พบิ ตั ิอ่นื
4.12. บคุ ลากรไดร้ ับอบุ ัตเิ หตรุ ะหว่างการเดินทางไป

ปฏบิ ตั งิ าน ทาให้สหกรณไ์ มส่ ามารถบรกิ ารสมาชิกได้
5. เจา้ หนเี้ งนิ กู้

5.1. กูเ้ งนิ โดยไม่ผ่านการอนมุ ตั ิจากคณะกรรมการหรือท่ี

ประชมุ ใหญ่

5.2. น าเงนิ กู้ไปใช้ผดิ วัตถปุ ระสงค์
5.3. จ่ายเงนิ ชาระหนเี้ จ้าหน้ี เกินกวา่ หน้ที ม่ี ีอยู่

6. สมาชกิ และทุนเรอื นหุน้
6.1. การดาเนินงานไมเ่ ปน็ ไปตามแผนงานและเปา้ หมายท่ี
กาหนดไว้
6.2. การรับสมัครสมาชกิ ไม่เปน็ ไปตามหลักเกณฑใ์ น
ข้อบังคับ
6.3. บนั ทกึ ทุนเรอื นหุน้ ไม่ครบถว้ น
6.4. สมาชกิ ลาออก โดยยงั มีภาระผูกพนั กับสหกรณ์
6.5. จา่ ยเงินปนั ผล ไมถ่ กู ตอ้ ง
6.6. ขอ้ มลู สมาชิก ไม่ถกู ต้อง

7. การจดั เกบ็ เอกสาร
7.1. การจัดเก็บเอกสารสหกรณ์ ไมเ่ หมาะสม

8. ระบบข้อมลู สารสนเทศและ การสอ่ื สาร
8.1. ขอ้ มูลขา่ วสาร
8.2. ระบบสารสนเทศ
8.3. การปอ้ งกนั ดแู ลรักษาข้อมลู สารสนเทศ

30



แผนบริหำรควำมเสี่ยงด้ำน

ขอ้ วตั ถุประสงค์ ปจั จยั เสีย่ ง ประเมนิ ควำม
โอกำส ผลกระทบ

1. เพ่อื ให้สหกรณ์ 1. เจ้าหน้าท่ีขาดองคค์ วามรู้ใน 2 5

เปน็ องค์กรท่มี ี การปฏบิ ัตงิ าน

การบริหาร

จดั การท่ีมี 2. การขาดแผนรองรบั เหตุการณ์ 2 3
คุณภาพ ฉุกเฉนิ ตา่ ง ๆ
มาตรฐานตาม

หลักธรรมาภบิ าล

3. การปฏิบตั ิงานด้านบริการไม่ 3 3
เหมาะสม

4. กระแสไฟฟ้าขดั ข้อง 43

5. การเปดิ -ปิดประตูสานักงานมี 4 4
บุคคลรับผดิ ชอบแค่ 1 คน

นปฏิบัตกิ ำร (Operational Risk)

มเสย่ี ง มำตรกำร/แนวทำงจดั กำรควำมเส่ยี ง ผรู้ ับผิดชอบ กำรติดตำม
ระดับควำมเส่ียง ประเมนิ ผล
1. พัฒนาเจา้ หน้าที่เกีย่ วกบั ผจู้ ดั การ
H ความรใู้ นการปฏบิ ตั ิงาน และ ประเมินผลการ
ระเบียบกฎหมายท่ีเกยี่ วข้อง ผู้จดั การ ปฏิบตั ิงาน

M 1. จัดทาแผนและซักซอ้ มแผน ตดิ ตามแผนรองรบั
เหตกุ ารณฉ์ ุกเฉินตา่ ง ๆ เหตุการณ์ฉุกเฉิน
2. ซักซอ้ มแผนฉกุ เฉนิ ปีละ 1 ครง้ั ตา่ ง ๆ

M 1. อบรม ปลูกฝงั งานด้านบริการ ผจู้ ัดการ อบรมปลกู ฝัง

แก่เจ้าหนา้ ท่สี หกรณ์ เจ้าหนา้ ที่ในท่ี

ประชมุ

ประจาเดือน

H 1. ติดต้ังเครอื่ งสารองไฟฟ้า และ ผจู้ ดั การ ตรวจสอบความ
UPS พร้อมเครือ่ งสารอง
ไฟฟ้า และ UPS

VH 1. มีการกาหนดผรู้ ับผดิ ชอบใน ผจู้ ดั การ การตรวจบนั ทกึ

การเปดิ -ปดิ ประตูสานกั งาน อยา่ ง การปฏิบตั งิ าน

น้อยจานวน 2 คน

31

6. การนาสง่ เงินของสหกรณ์ 25
ประจาวัน

7. ขาดแผนปอ้ งกนั กรณเี กดิ ภัย 1 5
อบุ ัตภิ ยั เช่น ไฟไหม้ น้าท่วม ฯลฯ

2. เพอื่ พัฒนาระบบ 1. ขาดระบบเทคโนโลยที ท่ี ันสมยั 3 2

เทคโนโลยี และระบบป้องกนั ท่ีไดม้ าตรฐาน

สารสนเทศและการ 2. การตดิ ตามประเมินผลการ

สอ่ื สารใหม้ ี ดาเนินงานตามแผน

ประสิทธิภาพและ 3. การถ่ายทอดตัวชว้ี ัดตามแผน

ทันสมยั สู่การปฏิบัตติ ามโครงสร้างของ

สหกรณ์

H 1. จดั ทาประกนั การขนส่งเงิน ผจู้ ัดการ การตรวจบนั ทึก
หรอื จา้ งธนาคาร หรือบริษัท การปฏิบตั งิ าน
ขน–สง่ เงนิ

M 1. มกี ารซกั ซ้อมกรณเี กดิ ภัยพิบตั ิ ผู้จัดการ ตรวจสอบแผน

ปลี ะ 1คร้ัง ปอ้ งกันกรณีเกดิ

2. มีอปุ กรณ์ดบั เพลิงอยา่ ง อุบตั ภิ ยั

เพียงพอ และมีความพร้อมในการ

ใช้งานตลอดเวลา

M 1. พัฒนาระบบเทคโนโลยีที่ ผูจ้ ัดการ และ ตดิ ตามผลการ

ทนั สมัยมรี ะบบการป้องกนั ทไ่ี ด้ ฝา่ ยคอมพิวเตอร์ ปฏบิ ตั งิ านของ

มาตรฐาน เจ้าหนา้ ที่

2. ตรวจสอบและบารงุ รักษา คอมพิวเตอร์

อุปกรณส์ านักงานที่เสอื่ มสภาพ

และเปลี่ยนอุปกรณ์ท่ีมี

ประสทิ ธิภาพมากย่ิงขนึ้

3. ตรวจสอบการทางานของ

ระบบ Fire wall และ Anti

Virus

32

4. การสูญหายของข้อมูล ซ่ึงไม่ 2 5
สามารถกู้คนื ได้

5. การทจุ ริตในปฏิบตั งิ านของ 2 3
เจา้ หน้าที่ และความปลอดภยั ใน
การการเขา้ ถึงระบบข้อมูล
สารสนเทศ

6. ระบบโปรแกรมปฏบิ ตั กิ ารและ 1 4
ประยุกต์ไม่ถูกลิขสทิ ธ์ิ

7. เจ้าหน้าท่ีปฏบิ ัติงานขาดการ 2 3
ฝกึ อบรม

H 1. จดั ให้มกี ารสารองข้อมูลการใช้ ผ้จู ัดการและ ตดิ ตามผลการ

งานประจาวันท้งั 3 ระบบงาน หัวหน้าฝ่าย ปฏบิ ัติงานของ

2. เพ่ิม External harddisk เพือ่ คอมพิวเตอร์ เจา้ หนา้ ท่ี

ใชใ้ นการสารองข้อมลู คอมพวิ เตอร์

M 1. มกี ารกาหนดสิทธิก์ ารใช้งาน ผู้จัดการ /ฝ่าย ตรวจสอบสิทธ์กิ าร

ของเจ้าหนา้ ที่ คอมพวิ เตอร์ เข้าใชง้ าน โดยผูม้ ี

2. มีการตรวจสอบ สอบทาน อานาจ

โดยหัวหน้าฝา่ ย

3. มกี ารอนมุ ตั โิ ดยผมู้ ีอานาจ

4. มกี ารเปล่ยี นรหสั ของผู้ใช้งาน

อยา่ งน้อยเดอื นละ 1 คร้ัง

5. มีการตงั้ รหัสผา่ นในการเข้า

ใชง้ านของคอมพิวเตอร์

M 1. จัดซ้ือแผ่นโปรแกรมสาเร็จรูป ผจู้ ัดการ /ฝ่าย เสนอเข้าที่ประชุม

ให้ถกู ลิขสทิ ธิ์ คอมพวิ เตอร์ เพอื่ จัดซื้อ

แผ่นโปรแกรมท่ีถูก

ลิขสิทธ์ิ

M 1. ส่ง หรอื จดั ฝึกอบรมให้แก่ คณะกรรมการ ประเมนิ ความรูข้ อง

เจ้าหนา้ ท่ีสหกรณใ์ ห้เหมาะสมกับ ดาเนนิ การและ เจา้ หน้าท่เี กยี่ วกบั

ฝ่ายงาน ผู้จดั การ ฝา่ ยงานท่ี

รบั ผิดชอบ

33

บทท่ี 4 กำรตดิ ตำมประเมินผล

4.1 กำรติดตำมและรำยงำนผลกำรบรหิ ำรควำมเสี่ยง

ให้คณะอนุกรรมการบริหารความเส่ียงของสหกรณ์ออมทรัพยค์ รูพัทลุง จากัด ดาเนินการตามกจิ กรรมที่ระบุ
ในแผนปฏิบัตกิ ารบริหารความเสีย่ งและรายงานผลตาม แบบรายงานผลการบรหิ ารความเสีย่ ง รอบ 12 เดือนรายงาน
ตอ่ คณะกรรมการดาเนินการ

4.2 กำรจดั ทำรำยงำนสรุปผลกำรบริหำรควำมเส่ยี งประจำปี

ใหเ้ ลขานุการคณะอนุกรรมการบรหิ ารความเสี่ยง จัดทารายงานสรุปผลการบริหารความเสี่ยงประจาปี
โดยระบผุ ลการดาเนินการดาเนนิ การในแต่ละกิจกรรมตามที่ระบใุ นแผนบรหิ ารความเสี่ยงวา่ ด้วยการจัดการกับปจั จัย
เส่ียงต่าง ๆ ได้มากน้อยเพยี งใด สามารถลดหรือควบคุมให้อยู่ในระดับท่ยี อมรบั ไดห้ รือไม่ และจดั ทาสรปุ และ
ประเมนิ ผลการบริหารความเส่ยี ง ปัญหาอปุ สรรคที่พบ พร้อมทง้ั ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการบริหารความเส่ยี งในปีถัดไป
นาเสนอคณะกรรมการดาเนินการเพ่ือพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบรายงานผลการบริหารความเส่ยี งประจาปี

34



แบบรำยงำนผล

การรายงานผลการดาเนนิ งานตามแผนบริหารความเส่ยี ง

ฝา่ ย.......................................................................................

ควำมเส่ียง กจิ กรรม ผลกำรดำเนนิ

ประเภทควำมเสย่ี ง ปจั จัยเส่ียง ระดบั

1. แผนบรหิ ารความ 1. การดาเนินงานไม่ H 1. ควรมีการเขียนแผนงาน
เสยี่ งดา้ นกลยทุ ธ์ เป็นไปตามแผนงานที่ และโครงสรา้ งการทางานที่
(Strategic Risk) กาหนดไว้ ชัดเจน

2. แผนบรหิ ารความ 1. สมาชกิ ทหี่ กั ณ ทจ่ี ่าย H 1. แจ้งลว่ งหน้าภายใน 3

เสี่ยงด้านเครดติ ชาระไมค่ รบตามทเ่ี รียก วนั ทางโทรศพั ท/์ ข้อความ

(Credit Risk) เกบ็ ไมท่ ราบวันท่ีชาระ 2. ส่งหนงั สอื ติดตามทวง

และยอดชาระท่ีแนน่ อน ถามให้มาชาระหน้ภี ายใน 7

วนั

3. แจง้ สมาชกิ ให้หักผ่าน

บญั ชีธนาคารในสว่ นท่เี หลอื

2. สมาชิกปรบั โครงสรา้ ง H 1. นาเงินปนั ผลและเฉลี่ย
หนก้ี รณคี า่ ครองชีพไม่ คืนแกส่ มาชิกกลมุ่ นี้คือนา
เพียงพอ และสมาชกิ ถกู เงนิ ปนั ผลชาระหนไี้ ม่นอ้ ย
บังคบั คดี ไมส่ ามารถนา กว่าร้อยละ 70
เงินเหลือมาชาระหนไี้ ด้
VH 1. ดาเนินการตรวจสอบ
3. หลักประกันของผกู้ ู้ หลักทรัพย์คา้ ประกันของผู้
ด้อยค่า กู้ 4 ปี/ครง้ั
2. ออกระเบยี บว่าดว้ ย
หลกั ประกนั ด้อยค่า


Click to View FlipBook Version