The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา วษท.เชียงใหม่ ปีการศึกษา 2565

จัดทำโดย ศศิวิมล ชัยนันทนาพร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by qa.cmcat, 2022-05-10 10:08:04

คู่มือนักศึกษา วษท.เชียงใหม่

คู่มือนักศึกษา วษท.เชียงใหม่ ปีการศึกษา 2565

จัดทำโดย ศศิวิมล ชัยนันทนาพร

คมู่ อื นกั ศึกษา ก

คำนำ

คู่มือนักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2565 นี้ เป็น
เอกสารที่ได้จัดทำขึ้น เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยชี้นำทางให้นักศึกษาได้ประพฤติปฏิบัติตน
ให้ถูกต้องตามข้อบังคับ กฎ ระเบียบ และประกาศต่างๆ ของวิทยาลัย อีกทั้งยังเป็นคู่มือ
เพื่อให้นักศึกษาทราบข้อมูลพื้นฐานของวิทยาลัย ใช้เป็นประโยชน์ในการวางแผนการ
เรียน การลงทะเบียน การใช้บริการ และสวัสดิการของวิทยาลัย ตลอดจนใช้เป็น
เอกสารอ้างอิง ตา่ งๆ นอกจากนี้ ยงั ใชเ้ ปน็ คู่มอื สำหรับครทู ่ีปรึกษาในการให้คำแนะนำแก่
นักศึกษาในที่ปรกึ ษาไดเ้ ป็นอยา่ งดี

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือนักศึกษาฉบับนี้
จะเป็นแนวทางให้นักศึกษาปฏิบัติตนในขณะที่ศึกษาอยู่ในวิทยาลัย จนกระทั่งสำเร็จการ
ศึกษา หากมีปัญหาหรือข้อสงสัย ให้ติดต่อครูที่ปรึกษา หรือติดต่อฝ่าย แผนก งาน
ที่เกี่ยวข้อง กับเรื่องนั้นๆ โดยตรง ขอขอบคุณฝ่าย แผนก และงานต่างๆ ที่ได้ให้ข้อมูลใน
การจัดทำคู่มอื นกั ศกึ ษาฉบบั น้ี จนประสบความสำเร็จดว้ ยดี

นายสุรศักดิ์ เทยี บรตั น์
ผูอ้ ำนวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี ชยี งใหม่

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่

ข หนา้

Student Handbook ข
1
สารบัญ 3
5
คำนำ 5
สารบัญ 6
ขอ้ มูลทวั่ ไปของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่ 7
ประวัติวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่ 8
ขนาดและท่ตี ้งั 12
วสิ ยั ทศั น์ ปรัชญา พนั ธกิจ อตั ลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา 14
สถาพปจั จบุ ันของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี ชยี งใหม่ 16
การบรหิ ารงานของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชยี งใหม่
ครแู ละบุคลากรของสถานศกึ ษา 18
แนวการเรียนระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) 21
แนวการเรียนระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้ันสงู (ปวส.) 22
แนวการเรียนระดับปรญิ ญาตรี หลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑิต (ทล.บ) 23
24
- สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลติ สัตว์ (ตอ่ เนื่อง) 25
- สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลิตพืช (ตอ่ เนือ่ ง) 26
ระเบียบการแต่งกายของนกั ศึกษา 27
- การแตง่ กายชุดนกั เรยี น ชายและหญิง ระดับ ปวช.
- การแตง่ กายชดุ ซาฟารี ชายและหญิง ระดับ ปวช. 28
- การแตง่ กายชุดพละ ชายและหญงิ ระดับ ปวช. 29
- การแตง่ กายชดุ นกั ศกึ ษา ชายและหญงิ ระดับ ปวส. 30
- การแตง่ กายชุดซาฟารี ชายและหญิง ระดับ ปวส.
- การแตง่ กายสำหรับการเขา้ รว่ มกิจกรรมเสริมหลกั สตู ร ระดับ ปวช. 33
- การแตง่ กายสำหรบั การเข้ารว่ มกจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร ระดับ ปวส.
35
ระเบยี บทนี่ ักศกึ ษาและผปู้ กครองควรทราบ
งานปกครอง
- ประกาศวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชยี งใหม่ เรอ่ื งระเบยี บปฏบิ ัติ

ของนกั ศกึ ษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่ พ.ศ.2556 แก้ไขเพม่ิ เตมิ 2565
- ประกาศวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี ชยี งใหม่ ว่าด้วย ระเบียบการใช้

ยานพาหนะของนกั ศกึ ษาในสถานศกึ ษา พ.ศ.2565
- หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารตดั คะแนนความประพฤติของนกั เรยี น นักศกึ ษา

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คมู่ อื นักศึกษา ค

สารบญั (ตอ่ )

งานทะเบียน หน้า
- ประกาศวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่ เรอ่ื งขอ้ กำหนดและแนวปฏิบตั ิ 38
39
ของงานทะเบียน
41
งานหลักสูตร 42
แผนการเรยี นระดับช้ัน ปวช. ประเภทวชิ าเกษตรกรรม พ.ศ.2562 53
แผนการเรียนระดบั ชัน้ ปวส. ประเภทวิชาเกษตรกรรม พ.ศ.2563 62
แผนการเรยี นระดับชน้ั ปวส. ประเภทวิชาประมง พ.ศ.2563 63
แผนการเรยี นระดบั ช้ัน ปวส. ประเภทวชิ าบรหิ ารธุรกจิ พ.ศ.2563 (เพมิ่ เตมิ พ.ศ.2564)
64
งานการเงิน 65
- กำหนดการเกบ็ เงินบำรุงการศึกษาวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่
67
งานกิจกรรมเสริมหลกั สตู ร 68
- การเข้าร่วมกจิ กรรมตามหลกั สตู ร 69
- หลกั เกณฑใ์ นการปฏบิ ตั ิ เรือ่ ง การฝึกวิชาทหาร 70
- คุณลกั ษณะและคุณสมบตั ขิ องผูส้ มคั รเรียนรักษาดนิ แดน (วชิ าทหาร) 74
- สทิ ธแิ ละการขอใชส้ ทิ ธนิ กั ศึกษาวชิ าทหาร
75
งานแนะแนวอาชพี และการจดั หางาน 76
- การกู้ยมื เงินกองทุนใหก้ ยู้ มื เพือ่ การศกึ ษา (กยศ.) 80
- ระเบียบการขอทนุ การศึกษา
81
งานหอพัก 82
- ระเบียบวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่ วา่ ดว้ ยหอพกั พ.ศ.2565
86
ภาคผนวก

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่

1

Student Handbook

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่

ขอ้ มูลวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชยี งใหมฉ่ บับย่อ

ชอ่ื วทิ ยาลัย (ไทย) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชยี งใหม่

(อังกฤษ) Chiang Mai College of Agriculture and Technology.

อกั ษรย่อ (ไทย) วษท.เชียงใหม่

(อังกฤษ) CMCAT

สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

(สถานศึกษาของ รฐั บาล)

สปี ระจำวิทยาลยั เขียว ขาว เหลอื ง

ความหมายของสีประจำวิทยาลยั

สเี ขยี ว หมายถึง ความอุดมสมบรู ณ์ของพชื พรรณธญั ญาหาร

ซ่งึ หมายถงึ เกษตรกรรมพนื้ ฐาน เศรษฐกจิ และการพัฒนาประเทศ

ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม

สีขาว หมายถงึ นำ้ น้ำเป็นจดุ ใหก้ ำเนิดส่ิงมีชีวติ ในโลก

สีเหลือง หมายถงึ รวงขา้ ว ซ่ึงเป็นพืชหลกั ของไทย หรอื สขี องเมล็ดธญั พืช

ทเ่ี ป็นอาหารหลกั ของพลโลก

ปรชั ญา ทักษะเด่น เนน้ คณุ ธรรม สงั คมพฒั นา ก้าวหน้าเทคโนโลยี

ธงประจาํ วทิ ยาลยั ธงสี เขียว ขาว เหลอื ง

ตราสัญลักษณ์

สัญลกั ษณต์ ราวทิ ยาลยั ลักษณต์ ราสํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

ทอ่ี ยปู่ จั จุบนั เลขท่ี 249 หมู่ 11 ต.บ้านกลาง อ.สนั ป่าตอง จ.เชยี งใหม่ 50120

หมายเลขโทรศพั ท์ เขตปกครองของเทศบาล ต.บ้านกลาง
ท่ีอยู่เว็บไซต์
0 5331 1392 หมายเลขโทรสาร 0 5331 1359

http://www.cmcat.ac.th

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คูม่ ือนกั ศึกษา 2

ภาคการศกึ ษา จดั การศกึ ษา เปน็ 3 ภาคเรียน
ภาคเรียนที่ 1 เปดิ เรียนประมาณกลางเดอื นพฤษภาคม ถึง ปลายเดอื น
เวลาเรียน
การจัดการศกึ ษา กันยายน
คณุ ภาพการศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 2 เปดิ เรียนประมาณเดือนตุลาคม ถึง เดอื นมนี าคม
ภาคฤดูรอ้ น เปิดเรียนประมาณเดือนเมษายน

(เฉพาะผู้ทส่ี อบไม่ผ่านต้องการเรยี นซำ้ )
เปิดเรยี นวันจนั ทร์ - ศุกร์ เวลา 08.00 – 16.30 น.
ปดิ เสาร์ - อาทิตย์ และวนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์
ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.)
ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสูง (ปวส.)
ระดบั ปรญิ ญาตรี (ตอ่ เน่อื ง) หลกั สตู รวชิ าชพี ระยะสน้ั ตามความต้องการ
ของชุมชนท้องถน่ิ
ไดร้ ับการรบั รองด้านคุณภาพการศกึ ษาจากสำนักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) รอบทส่ี องคะแนน 4.32
ในระดบั ดี รอบท่สี าม คะแนน 4.32 ระดับดี

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่

3

Student Handbook

ประวัติสถานศึกษา

ว ิ ท ย า ล ั ย เ ก ษ ต ร แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี เพื่อพัฒนาคุณลักษณะสมาชิกใน ว ิ ท ย า ล ั ย เ ก ษ ต ร แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี
รูปแบบการฝึกทักษะและกิจกรรม
เ ช ี ย ง ใ ห ม่ ส ั ง ก ั ด ส ำ น ั ก ง า น เสริมคณุ ลกั ษณะอื่นๆ โดยจดั ให้มีการ เชียงใหม่ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) จัดงานประชุมวิชาการองค์การ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ก ร ะ ท ร ว ง ศ ึ ก ษ า ธ ิ ก า ร เ ด ิ ม ช่ื อ เกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย สยามบรมราชกุมารี มาเป็นองค์
วิทยาลัยเกษ ตรก รรมเช ีย ง ใ ห ม่ ในระดับหน่วย ระดับภาค และ ป ร ะ ธ า น ใ น ก า ร เ ป ิ ด ง า น ปร ะ ชุ ม
ประกาศจัดตั้งเมื่อวันที่ 1 มกราคม ระดบั ชาติ วิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคต
พ.ศ. 2522 เพื่อสนองนโยบายของ ในปี พ.ศ. 2533 คณะกรรมการ แห่งประเทศไทยระดับชาติ ครั้งที่ 12
รัฐบาลที่กำหนดในปี พ.ศ. 2522 เป็น อกท.ระดบั ชาติ ได้กราบบงั คมทูลเชิญ ระหว่างวันที่ 25 - 27 กุมภาพันธ์
ปีเกษตรกรและเพื่อเป็นการขยาย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ พ.ศ. 2534 ณ วิทยาลัยเกษตรกรรม
การศกึ ษา ดา้ นชีวเกษตรให้กว้างขวาง สยามบรมราชกุมารี มาเป็นองค์ เชียงใหม่ (ชื่อเดิม) โดยมีนายบวร
ยิ่งขึ้น ตามความในข้อ 23 แห่ง ป ร ะ ธ า น ใ น ก า ร เ ป ิ ด ง า น ปร ะ ชุ ม เมืองสุวรรณ ผู้อำนวยการวิทยาลัยฯ
ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 216 ลง วิชาการ อกท. ระดับชาติ ครงั้ ที่ 11 ใน เปน็ ประธานจัดงาน
วันที่ 29 กันยายน 2515 ให้จัดตั้ง ปี พ.ศ.2533 ณ วทิ ยาลยั เกษตรกรรม พ.ศ. 2539 กระทรวงศึกษาธิการได้
วิทยาลัยเกษตรกรรมเชียงใหม่ ใน อุดรธานี ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ ป ร ะ ก า ศ เ ป ล ี ่ ย น ช ื ่ อ ว ิ ท ย า ลั ย
สังกัดกองวิทยาลัยเกษตรกรรม กรม เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็น องค์ เกษตรกรรมเชยี งใหม่ เปน็ “วทิ ยาลัย
อาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ประธานในพิธีเปิดงานเป็นครั้งแรกยงั
เปิดสอนครั้งแรกในระดับหลักสูตร ความปลื้มปติ ิตืน่ เต้นยินดีแก่ชาวอาชีว เก ษต รแ ละเท ค โน โ ลย ีเ ช ี ยง ใ ห ม่ ”
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เกษตรทุกคน หลังจากการเสด็จพระ เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตร
สาขาวิชาเกษตรกรรม เมื่อวันที่ 22 ราชดำเนนิ ทรงเปน็ องค์ประธานในพิธี วิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชา เกษตรและ
มกราคม 2524 เริ่มเปิดสอนหลักสูตร เปิดงานประชุมวิชาการ อกท. เทคโนโลยี รับนักเรียนตามโครงการ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระดับชาติ ครั้งที่ 11 เป็นต้นมา อกท. ปฏิรูปการศึกษาเกษตรเพื่อชีวิต โดย
สาขาวิชาเกษตรกรรม และเปิดสอน ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จ ใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ห ล ั ก ส ู ต ร ป ร ะ ก า ศ น ี ย บ ั ต ร ว ิ ช า ชี พ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราช พุทธศักราช 2538 (เพิ่มเติม พ.ศ.
เทคนคิ (ปวท.) สาขาวิชา เกษตรกรรม กุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็น 2541) ป ร ะ เ ภ ท ว ิ ช า เ ก ษ ต ร แ ล ะ
ในปี พ.ศ. 2531 องค์ประธานในพิธีเปิดงานประชุม เทคโนโลยี โดยยึดถือปรัชญา “เรียน
ว ิ ท ย า ล ั ย เ ก ษ ต ร แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี วิชาการ อกท. ระดับชาติ ทุกคร้ังจวบ ฟรี อยู่ประจำ ทำโครงการเกษตร”
จนปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2545 สมเด็จ และเปิดรับนักศึกษา ปวส. ระบบทวิ
เชียงใหม่ มีการจัดกิจกรรมเสริม พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ภาคี สาขาวิชาเกษตรกรรม ในปี พ.ศ.
หลักสูตรเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของ ราชกุมารี ได้ทรงรบั อกท. 2542
ผู้เรียน โดยสถานศึกษากลุ่มอาชีพ ให้อยใู่ นพระราชูปถัมภ์
เกษตร กำหนดให้ผู้เรียนทุกคนเป็น
สมาชิกองค์การเกษตรกรในอนาคต
แห่งประเทศไทย (อกท.) จัดกิจกรรม

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คู่มือนักศกึ ษา 4

ปีการศึกษา 2545 วิทยาลัยไดข้ ยายการจดั การเรียนระดบั ปวส.
เปิดสอนหลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้นั สงู (ปวส.)
ภาคในเกษตร สาขาธุรกจิ เกษตร และภาคนอกเกษตร สาขาคอมพวิ เตอร์ธุรกจิ

ปีการศึกษา 2546 เปิดรบั ปวส. สาขาอุตสาหกรรมเกษตร และ ปวส. สาขาเทคโนโลยสี มนุ ไพร

ปกี ารศกึ ษา 2551 เปดิ สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ (เสาร์ - อาทิตย์)

ปีการศึกษา 2553 เปดิ สอนประเภทวิช บรหิ ารธรุ กจิ สาขาวชิ าการบญั ชี

ปกี ารศึกษา 2556 เปดิ สอนระดับปรญิ ญาตรี หลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑิต
- สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารผลติ พืช (ตอ่ เนือ่ ง)

ปกี ารศึกษา 2557 เปดิ สอนสาขาวิชาชา่ งกลเกษตร และ
เปิดสอน ระดบั ปรญิ ญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑิต
- สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารผลิตสตั ว์ (ตอ่ เนือ่ ง)

ปกี ารศึกษา 2558 เปิดสอนสาขาวชิ าเทคโนโลยีภมู ทิ ัศน์

ปีการศกึ ษา 2559 วทิ ยาลัยมีการจดั การเรียนการสอน ดงั น้ี
1) ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพ สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พุทธศักราช 2556
2) ระดบั ประกาศนยี บตั ร วชิ าชพี ช้นั สงู หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี
ชน้ั สูง พทุ ธศกั ราช 2557 รวม 3 ประเภทวชิ า ได้แก่
- ประเภทวิชาเกษตรกรรม ในสาขาวชิ าพชื ศาสตร์ สาขาวชิ าสตั วศาสตร์
สาขาวชิ าชา่ งกลเกษตร สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวชิ า
เทคโนโลยีภมู ิทัศน์ และสาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ (เสาร์-อาทติ ย)์
- ประเภท วิชาประมง สาขาวชิ าเพาะเลี้ยงสตั ว์นำ้ และ
- ประเภทวชิ าบริหารธรุ กิจ สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ
สาขาวชิ าการบญั ชี

จัดการศึกษาร่วมกับสถานประกอบการในระบบทวิภาคี จัดการศึกษาแบบเรียนร่วมทวิศึกษากับ
สถานศึกษาระดับมธั ยม 3 ระดบั ปรญิ ญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ตั กิ าร หลกั สตู ร เทคโนโลยีบณั ฑติ
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช (ต่อเนื่อง) สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ (ต่อเนื่อง) นอกจากนี้ ยังจัด
การศึกษาตามโครงการอาชีวศึกษาเพื่อการพัฒนาชนบท (อศ.กช.) และการจัดการศึกษานอกระบบ
เพอ่ื เผยแพร่ความรดู้ ้านการเกษตรให้กับเกษตรกรชมุ ชน ใน จ.เชียงใหม่ และ จ.แมฮ่ อ่ งสอน อาทิ โครงการ
ฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้น ฝึกอบรม 108 อาชีพ และงานสนองนโยบายของรัฐบาลตา่ งๆ

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่

5

Student Handbook

ขนาดและทตี่ ้งั

ตั้งอยู่เลขที่ 249 หมู่ 11 ต.บ้านกลาง อสันป่าตอง จ.เชียงใหม่ ตั้งอยูใ่ นเขตปกครองของ เทศบาล ต.
บ้านกลาง อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ ประมาณ 35 กิโลเมตร ทางเข้า ใช้ทางเข้า
รว่ มกับโรงพยาบาลสนั ปา่ ตอง ร.ร.สันปา่ ตองวทิ ยาคม ท่ดี นิ อำเภอสนั ป่าตอง และปศุสัตว์จงั หวัดเชียงใหม่

วิสัยทัศน์ ปรัชญา พนั ธกิจ อตั ลักษณข์ องสถานศกึ ษา

วิสัยทัศน์
“วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่ เป็นสถานศึกษาที่ผลิตนักศึกษาให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน

การอาชีวศึกษา เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนมศี ักยภาพในการสร้างงาน สร้างรายได้ มีจิตสำนึกท่ีดีต่อสังคม
และสงิ่ แวดลอ้ ม”

ปรัชญา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษา “ทกั ษะเด่น เนน้ คณุ ธรรม นำสังคมพฒั นา ก้าวหนา้ เทคโนโลยี”

พันธกจิ
1. จัดการศึกษาระดับ ปวช. และ ปวส. ทั้งในระบบและนอกระบบ ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการ

อาชีวศึกษา สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการและตลาดแรงงาน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ
นำไปประกอบอาชีพอย่างมปี ระสิทธิภาพ

2. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรสำหรับประชาชนที่หลากหลายสาขาวิชา
สอดคล้องกบั ความต้องการของชุมชนและการศึกษาตลอดชวี ติ

3. สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยดี ้านการเกษตรเพื่อสนับสนุนการประกอบ
อาชีพของชุมชน

4. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบวินัยและสร้างจิตสำนึกที่ดีต่อสังคม สิ่งแวดล้อม เพื่อให้
สามารถใช้ชีวิตอยรู่ ่วมกบั ผู้อ่นื อย่างมคี วามสุข

5.สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรมและสบื สานภูมิปัญญาท้องถนิ่

อัตลักษณ์
“ทกั ษะดี มีอาชพี "

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คู่มอื นักศึกษา 6

สภาพปัจจุบันของวทิ ยาลยั

1. การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนทงั้ ในและนอกระบบ
1.1 การจดั การศึกษาในระบบ หลกั สตู รทีเ่ ปิดสอนในปีการศกึ ษาปจั จบุ นั ไดแ้ ก่
1.1.1 หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี พ.ศ.2562 ประเภทวชิ าเกษตรกรรม สาขาวิชา

เกษตรศาสตร์ และนกั เรียนโครงการอาชีวศึกษาเพื่อการพฒั นาชนบท (อศ.กช.)
1.1.2 หลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันสงู พ.ศ. 2563
1) ประเภทวชิ าเกษตรกรรม สาขาวิชาพชื ศาสตร์ สาขาวิชาสตั วศาสตร์ สาขาวิชาชา่ ง

กลเกษตร สาขาวชิ าอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวชิ าเทคโนโลยีภมู ิทัศน์ และสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ (เสาร์-
อาทติ ย)์

2) ประเภทวิชาประมง สาขาวิชาเพาะเลยี้ งสตั วน์ ำ้
3) ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กจิ สาขาวิชาเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั สาขาวชิ าการบญั ชี
1.1.3 หลกั สตู รปรญิ ญาตรี หลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑิต (ทล.บ.)
1) สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารผลิตพชื (ต่อเนอ่ื ง)
2) สาขาวชิ าเทคโนโลยีการผลติ สัตว์ (ต่อเนอื่ ง) จัดการศึกษาในระบบทวิภาคี
1.2 การจัดการศกึ ษานอกระบบ ไดแ้ ก่ โครงการฝึกวชิ าชพี เกษตรกรรมระยะส้ัน ฝกึ อบรม 108
อาชีพ และงานสนองนโยบายของรฐั บาลตา่ ง ๆ
2. วิทยาลัยได้ใช้กิจกรรมองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เป็นเครอื่ งมอื ในการพฒั นาคุณภาพนักศึกษา ทกุ ดา้ น ได้แก่ ด้านทักษะ
ชวี ิต ดา้ นวิชาการ ด้านการบริการสงั คม และดา้ นการส่งเสรมิ ระบอบประชาธปิ ไตย

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่

7

Student Handbook

การบริหารงานของวิทยาลัย

แผนภมู ิการบริหารงานวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่

ผู้อาํ นวยการวิทยาลัยฯ
นายสรุ ศักดิ์ เทยี บรัตน์

รองฯ ผอู้ ํานวยการ รองฯ ผู้อาํ นวยการ ผอู้ าํ นวยการ ทาํ หน้าท่ี ครเู ชี่ยวชาญ ทําหน้าท่ี
ฝา่ ยบรหิ ารทรพั ยากร
นายจุมพล จรรยาศิริ ฝ่ายแผนงานและความรว่ มมือ รองฯ ผูอ้ าํ นวยการ รองฯ ผอู้ าํ นวยการ

- งานบรหิ ารงาน นายดิถี วงศ์สวาสด์ิ ฝา่ ยพฒั นากิจการนักเรยี น ฝา่ ยวชิ าการ
ท่ัวไป นักศกึ ษา
- งานบคุ ลากร - งานวางแผนและ นางปรศิ นา อัครพงษ์สวัสดิ์
- งานการเงิน งบประมาณ นายสุรศักด์ิ เทยี บรัตน์
- งานการบญั ชี - งานศูนย์ขอ้ มลู - แผนกวิชา
- งานพสั ดุ สารสนเทศ - งานกิจกรรม - งานพฒั นา
- งานอาคารสถานที่ - งานความร่วมมือ นักเรยี นนักศึกษา หลกั สตู รการเรยี น
- งานทะเบียน - งานวจิ ัยพฒั นา - งานครูทป่ี รึกษา การสอน
- งานประชาสมั พนั ธ์ นวตั กรรม และ - งานปกครอง - งานวัดผลและ
ส่งิ ประดษิ ฐ์ - งานแนะแนวอาชพี ประเมินผล
- งานประกนั และการจดั หางาน - งานศูนย์วทิ ย
คณุ ภาพและ - งานสวัสดกิ าร บรกิ ารและห้องสมุด
มาตรฐานการศึกษา นักเรยี นนกั ศึกษา - งานอาชวี ศกึ ษา
- งานส่งเสรมิ - งานโครงการพิเศษ ระบบทวภิ าคี
ผลติ ผลการคา้ และ และการบรกิ ารชมุ ชน - งานส่ือการเรียน
ประกอบธรุ กิจ การสอน
- งานฟาร์มและ
โรงงาน

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คู่มือนักศึกษา 8

ครแู ละบคุ ลากรของสถานศกึ ษา

รายชอื่ ผบู้ ริหาร ครู - อาจารย์

ท่ี ช่อื - สกลุ ตำแหนง่ วฒุ ิการศกึ ษา สาขาวชิ าเอก หนา้ ท่ี
ฝา่ ยบริหาร
1 นายสุรศกั ด์ิ เทยี บรัตน์ ผอู้ ำนวยการ ปริญญาโท (วศ.ม.) เทคโนโลยีพลังงาน -ผ้อู ำนวยการ
2 นายจมุ พล จรรยาศริ ิ ชำนาญการพเิ ศษ ปริญญาตรี (ค.อ.บ.) เคร่ืองกล -รองผู้อำนวยการฝา่ ยพัฒนา
3 นายดิถี วงศ์สวาสดิ์ กจิ การนกั เรยี นนกั ศกึ ษา
4 นางปริศนา อัครพงษ์สวัสดิ์ รองผู้อำนวยการ ปริญญาตรี (วท.บ.) เกษตรศาสตร์ -รองผ้อู ำนวยการ
ชำนาญการพเิ ศษ ฝ่ายบริหารทรพั ยากร
แผนกวิชาสามญั สมั พันธ์ รองผู้อำนวยการ ปรญิ ญาโท (ค.ม.) การบรหิ ารการศกึ ษา -รองผอู้ ำนวยการ
1 นางฐิติมน ทองพิมพ์ ปรญิ ญาตรี (วท.บ.) เกษตรศาสตรก์ ลวิธาน ฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมอื
2 นางจริ พันธ์ ณ สงขลา ชำนาญการ ปริญญาเอก (Ph.D.) -ปฏิบัติหน้าทร่ี องผู้อำนวยการฝ่าย
3 นางสาวกมลวรรณ ฤทธธ์ิ รรมเลศิ ครูเช่ยี วชาญ Animal Science วชิ าการ
4 นางสะใบทอง มาลาพุด ทำหน้าท่รี อง ปริญญาโท (MS.) (Animal Nutrition)
ผู้อำนวยการฝ่าย Animal Science
5 นางสาวกรรณกิ าร์ ปาลี ปรญิ ญาตรี (ทษ.บ.) (Poultry Production)
วชิ าการ
6 นายมทั นะ ธิหล้า สัตว์ปกี

7 นางสาวกนิษฐา บุญธิมา ครูชำนาญการพเิ ศษ ปรญิ ญาโท (ศษ.ม.) การสอนสังคมศึกษา -หวั หน้าแผนกวิชาสามัญสมั พนั ธ์
ครูชำนาญการพิเศษ ปรญิ ญาตรี (ศษ.บ.) สังคมศกึ ษา -หวั หน้างานวดั ผลและประเมนิ ผล
8 นางสาวการะเกด จนั ทร์หอม ครูชำนาญการพเิ ศษ ปริญญาตรี (ค.บ.) ภาษาอังกฤษ -หัวหน้างานประชาสมั พันธ์
9 นางสาววรศิ รา วฉิ ายา -ประจำแผนกวิชาสามัญสมั พันธ์
ครชู ำนาญการ ปริญญาตรี (ค.บ.) วทิ ยาศาสตรท์ ัว่ ไป -ผชู้ ่วยหวั หนา้ งานบรหิ ารงานทวั่ ไป
10 นายนิวฒั น์ สมัครจติ รพฒั นา ภาษาองั กฤษ -ประจำแผนกวิชาสามญั สัมพันธ์
11 นางสาวจารณุ ี สารขิ ิต ปริญญาตรี (ค.บ.) -หัวหน้างานความรว่ มมอื
ภาษาองั กฤษธุรกิจ -ผชู้ ่วยหวั หนา้ งานประกันคณุ ภาพ
ครู คศ.1 ปริญญาตรี (ศศ.บ.) และมาตรฐานการศึกษา
ภาษาไทย -ประจำแผนกวชิ าสามญั สมั พันธ์
ครู คศ.1 ปรญิ ญาตรี (ค.บ.) -หวั หนา้ งานวิทยบรกิ ารและ
คณติ ศาสตร์ หอ้ งสมดุ
ครู คศ.1 ปรญิ ญาตรี (กศ.บ.) -ประจำงานบคุ ลากร
ชวี วทิ ยา -ประจำแผนกวิชาสามัญสัมพนั ธ์
ครูผชู้ ว่ ย ปรญิ ญาตรี (ค.บ.) ชีววทิ ยา -หัวหน้างานตรวจสอบคุณภาพ
ครูผูช้ ว่ ย ปริญญาตรี (ค.บ.) อาหาร
รฐั ประศาสนศาสตร์ -ผชู้ ่วยหัวหน้างานประชาสมั พันธ์
ครูผชู้ ่วย ปริญญาตรี (ศศ.บ.) เคมี -ประจำแผนกวชิ าสามญั สัมพนั ธ์
ครู ปรญิ ญาตรี (วท.บ.) -ผู้ชว่ ยหวั หนา้ งานวดั ผลและ
ประเมนิ ผล
-ผชู้ ว่ ยหัวหนา้ งานครทู ป่ี รึกษา
-ประจำแผนกวิชาสามญั สัมพันธ์
-ประจำงานบุคลากร
-ประจำงานวัดผลและประเมนิ ผล
-ประจำแผนกวิชาสามัญสมั พันธ์
-ผู้ช่วยหวั หนา้ งานบุคลากร
-ประจำงานวดั ผลและประเมินผล
-ประจำงานทะเบยี น
-ประจำแผนกวชิ าสามญั สัมพนั ธ์
-หวั หนา้ งานนักศึกษาวชิ าทหาร
-หัวหน้างานลกู เสอื
-ประจำแผนกวิชาสามัญสมั พนั ธ์
-หัวหนา้ งานบรหิ ารงานท่วั ไป
-ประจำงานบุคลากร
-ประจำงานพฒั นาหลักสูตรการ
เรยี นการสอน
-ประจำแผนกวิชาสามญั สมั พนั ธ์

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชยี งใหม่

9

Student Handbook

รายชื่อผบู้ ริหาร ครู – อาจารย์ (ตอ่ )

ท่ี ชือ่ - สกลุ ตำแหน่ง วุฒิการศึกษา สาขาวชิ าเอก หน้าท่ี
แผนกวชิ าสามัญสัมพันธ์ (ตอ่ )
12 นางสาวศศิวิมล ชัยนันทนาพร ครู ปรญิ ญาตรี (วท.บ.) คณิตศาสตร์ -หัวหน้างานประกันคณุ ภาพและ

13 นายตลุ า พุกนา มาตรฐานการศกึ ษา
แผนกวิชาพชื ศาสตร์
1 นางจนั ทร์จิรา บญุ เป็ง -หวั หน้างานศูนยข์ ้อมลู สารสนเทศ
2 นางสภุ ัตรา แสงขำ
3 นายสว่าง ธนะขว้าง -หัวหน้างานบริการสนับสนุน

4 นางณชิ ารีย์ เผา่ พงศ์วนา นักเรียนนกั ศึกษาพกิ าร
5 นายอดิศักด์ิ อนิ ทนุ
-ประจำแผนกวิชาสามัญสมั พันธ์
6 นายทวี ปิงสแุ สน
ครู ปรญิ ญาตรี (ค.บ.) พลศึกษา -หัวหนา้ งานกฬี า
7 นางสาวภัคควดี พวงเงนิ มาก
8 นางสาวนภาวรรณ จันทรมลู -ประจำแผนกวชิ าสามัญสมั พันธ์

9 นางสาวกติ ติญา ยนื ธรรม ครชู ำนาญการ ปรญิ ญาตรี (วท.บ.) เกษตรศาสตร์ -หัวหน้าแผนกวชิ าพืชศาสตร์
-หัวหน้างานพฒั นาหลักสูตรการ
10 นางสาวจตุรพร เราเทา่ ครูชำนาญการพเิ ศษ ปรญิ ญาโท (วท.ม.) โรคพชื วิทยา เรียนการสอน
ครชู ำนาญการ ปรญิ ญาตรี (วท.บ.) โรคพชื -ประจำงานแนะแนวอาชีพและการ
11 นายกฤษฏิ์ เมฆลา จัดหางาน
12 นายสมชาย นนั ตา ปรญิ ญาโท (วท.ม.) การจดั การทรัพยากร -ประจำแผนกวิชาพชื ศาสตร์
การเกษตรและ -หัวหน้างานอาคารสถานที่
ครู คศ.1 ปริญญาตรี (ทษ.บ.) สง่ิ แวดลอ้ ม -หัวหน้างานดนตรแี ละนนั ทนาการ
ครู คศ.1 ปรญิ ญาโท (วท.ม.) เทคโนโลยีภูมทิ ัศน์ ประจำแผนกวิชาพชื ศาสตร์
ปริญญาตรี (วท.บ.) พืชศาสตร์
พืชศาสตร์ -ผชู้ ว่ ยงานส่งเสริมผลิตผล
ปรญิ ญาตรี (ศษ.บ.) (พชื สวนประดบั ) การคา้ และประกอบธุรกิจ
เกษตรกรรม -ประจำแผนกวิชาพชื ศาสตร์
ครู คศ.1 ปริญญาตรี (วท.บ.) -หัวหนา้ งานสวสั ดกิ ารนกั เรียน
เกษตรปา่ ไม้ นกั ศกึ ษา
ครู คศ.1 ปริญญาตรี (ศษ.บ.) -ผ้ชู ว่ ยหวั หน้างานแนะแนวอาชพี
ครู คศ.1 ปริญญาตรี (วท.บ.) เกษตรกรรม และการจัดหางาน
-ประจำแผนกวิชาพืชศาสตร์
ครู คศ.1 ปรญิ ญาตรี (ศษ.บ.) เกษตรกรรมศาสตร์ -ผชู้ ่วยหวั หนา้ งานดนตรี และ
(พืชสวน) นนั ทนาการ
ครูผู้ช่วย ปริญญาตรี (วท.บ.) -ประจำงานปกครอง
ครู ปริญญาตรี (กษ.บ.) เกษตรกรรม ประจำแผนกวชิ าพชื ศาสตร์
ครู -หัวหน้างานแนะแนวอาชพี และ
ปรญิ ญาตรี (ศษ.บ.) เกษตรศกึ ษา การจัดหางาน
ปริญญาตรี (กษ.บ.) การจัดการการเกษตร -ประจำแผนกวิชาพืชศาสตร์
-หัวหน้างานครทู ปี่ รึกษา
ปริญญาตรี (ทล.บ.) เกษตรกรรม -ประจำงานทะเบียน
การจดั การการเกษตร -ประจำงานแนะแนวอาชีพและการ
เทคโนโลยีการผลิตพืช จดั หางาน
-ประจำแผนกวิชาพชื ศาสตร์
-ผชู้ ว่ ยหัวหนา้ งานวางแผนและ
งบประมาณ
-ผชู้ ่วยหวั หนา้ งานพยาบาล
-ประจำแผนกวิชาพชื ศาสตร์
-ประจำงานครูที่ปรึกษา
-ประจำงานงานส่งเสรมิ ผลติ ผล
การคา้ และประกอบธุรกจิ
-ประจำแผนกวิชาพชื ศาสตร์
-หวั หนา้ งานวางแผนและ
งบประมาณ
-ประจำแผนกวชิ าพืชศาสตร์
-ประจำแผนกวชิ าพืชศาสตร์

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คูม่ ือนักศกึ ษา 10

รายชอ่ื ผบู้ รหิ าร ครู – อาจารย์ (ตอ่ )

ท่ี ชือ่ - สกุล ตำแหนง่ วฒุ ิการศึกษา สาขาวิชาเอก หน้าที่
แผนกวิชาสตั วศาสตร์
1 นายศราวฒุ ิ นามวงษ์ ครูชำนาญการพิเศษ ปรญิ ญาโท (วท.ม.) การผลติ สตั ว์ -หวั หน้าแผนกวชิ าสตั วศาสตร์
2 นางปริศนา อัครพงษ์สวสั ดิ์ ปริญญาตรี (ทษ.บ.) สตั วป์ ีก -ผูช้ ว่ ยหวั หน้างานฟารม์ และ
ครเู ชี่ยวชาญ โรงงาน
3 นายนพดล ตาแกว้ ทำหนา้ ที่รอง ปริญญาเอก (Ph.D.) Animal Science -ปฏิบัติหนา้ ทีร่ องผอู้ ำนวยการฝา่ ย
4 นางสาวพรนิภา กองลาแซ ผอู้ ำนวยการฝ่าย (Animal Nutrition) วิชาการ
5 ว่าท่ี ร.ต.หญิงปรางค์วลยั กองระบาง ปรญิ ญาโท (MS.) Animal Science -ประจำแผนกวิชาสตั วศาสตร์
6 นายธนาวทิ ย์ ชูดวง วชิ าการ (Poultry Production)
แผนกวชิ าเกษตรศาสตร์ ปริญญาตรี (ทษ.บ.) -หัวหน้างานปกครอง
1 นางสาวนุชศวิ ลนุ ศรที อง ครู คศ.1 ปรญิ ญาตรี (วท.บ.) สัตวป์ กี -ประจำแผนกวชิ าสตั วศาสตร์
โคนม - โคเน้อื -หัวหน้างานพยาบาล
2 นางสาวอรทัย แสงมณจี รสั ครู ปริญญาตรี (วท.บ.) -ผู้ชว่ ยหัวหนา้ งานปกครอง
เทคโนโลยกี ารผลติ -ประจำแผนกวชิ าสตั วศาสตร์
3 นางสาวมนทนว์ รชั ญ์ ศรใี จน้อย ครู ปรญิ ญาตรี (ทล.บ.) (สตั ว์ปกี ) -ประจำแผนกวชิ าสตั วศาสตร์
ครู ปรญิ ญาตรี (วท.บ.) -ประจำแผนกวิชาสัตวศาสตร์
4 นายสงัด แตเ่ ช้ือสาย เทคโนโลยีการผลติ สัตว์
5 วา่ ที่ ร.ต.วชั รินทร์ ปนิ ตา สัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ

แผนกวิชาประมง ครู คศ.1 ปรญิ ญาตรี (ค.บ.) เกษตรศาสตร์ -หวั หน้าแผนกวชิ าเกษตรศาสตร์
1 นายบรรชร กลา้ หาญ เกษตรศาสตร์ -หัวหนา้ งานการเรยี นการสอน
2 นางสาวกันณพัทธ ภูแข่งหมอก ครู คศ.1 ปรญิ ญาตรี (ค.บ.) อศ.กช.
เกษตรศาสตร์ -ประจำงานพฒั นาหลักสตู รการ
3 นางสาวสริ ริ ัตน์ ชาญศรี ครู ปรญิ ญาตรี การศึกษานอกระบบ เรียนการสอน
ครู ปรญิ ญาตรี (วท.บ.) -ผ้ชู ว่ ยหวั หนา้ งานวิทยบรกิ ารและ
แผนกวิชาช่างกลเกษตร ครู ปริญญาตรี (ศษ.บ.) ห้องสมดุ
1 นายประทีป ทองคำ -ประจำงานแนะแนวอาชพี และการ
2 นางสาวนฤมล วงคร์ ้อย จัดหางาน
-ประจำแผนกวิชาเกษตรศาสตร์
-ประจำงานแนะแนวอาชีพและการ
จดั หางาน
-ประจำงานพยาบาล
-ประจำแผนกวชิ าเกษตรศาสตร์
-ประจำแผนกวชิ าเกษตรศาสตร์
-ประจำงานกจิ กรรมนกั เรยี น
นกั ศกึ ษา
-ประจำงานแนะแนวอาชีพและการ
จัดหางาน
-ประจำแผนกวิชาเกษตรศาสตร์

ครชู ำนาญการพเิ ศษ ปรญิ ญาโท (ศษ.ม.) การศึกษานอกระบบ -หวั หนา้ แผนกวิชาประมง
ครู คศ.1 ปริญญาตรี (ศษ.บ.) การศึกษานอกระบบ -หัวหนา้ งานวจิ ยั พัฒนานวัตกรรม
ปริญญาตรี (ศษ.บ.) และสงิ่ ประดษิ ฐ์
ปริญญาตรี (วท.บ.) ประมงน้ำจืด -หวั หนา้ งานอาชีวศึกษาระบบ
ประมง ทวิภาค
ครู ปริญญาตรี (ศษ.บ.) -ผ้ชู ่วยหวั หนา้ งานพัสดุ
เกษตรศาสตร์ -ประจำแผนกวชิ าประมง
-ประจำงานพฒั นาหลกั สตู รการ
เรียนการสอน
-ประจำงานทะเบียน
-ประจำแผนกวชิ าประมง

ครู ปรญิ ญาตรี (คอ.บ.) วศิ วกรรมอตุ สาหการ -หวั หน้าแผนกวชิ าช่างกลเกษตร

-หัวหน้างานโครงการพิเศษและ

การบริการชมุ ชน

ครู ปรญิ ญาตรี (คอ.บ.) วศิ วกรรมโยธา -ผชู้ ว่ ยหัวหนา้ งานหอพกั หญงิ

-ประจำงานอาคารสถานที่

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่

11

Student Handbook

รายชื่อผบู้ รหิ าร ครู – อาจารย์ (ตอ่ )

ท่ี ชื่อ - สกุล ตำแหนง่ วุฒิการศึกษา สาขาวิชาเอก หน้าท่ี
แผนกวิชาช่างกลเกษตร (ต่อ)
3 นางสาวอารยา ติ๊บธง ครู ปริญญาตรี (วศ.บ.) วิศวกรรมเกษตร -ประจำงานอาคารสถานที่
4 นายนฤกบนิ ทร์ จันธิมา
5 นายวิเศษศักดิ์ มีหวงั -ประจำแผนกวชิ าช่างกลเกษตร
แผนกวิชาธุรกิจเกษตร
1 นางสาวอรพนิ จอมแปง ครู ปรญิ ญาตรี (คอ.บ.) เครอื่ งกลช่างยนต์ -ประจำงานอาคารสถานที่
2 นางธวลั รตั น์ วงศ์ประเสรฐิ
3 นางสาวเพ็ญนภา อรนิ ต๊ะ -ประจำแผนกวชิ าชา่ งกลเกษตร

4 นางสาวจีรนนั ต์ มูลสม ครู ปริญญาตรี (วศ.บ.) วศิ วกรรมไฟฟ้า -ประจำงานอาคารสถานที่

5 นางกนษิ ฐา ยาวิราช -ประจำแผนกวิชาชา่ งกลเกษตร

6 นายวุฒนิ นั ต์ แสงอา้ ย ครูชำนาญการพิเศษ ปริญญาตรี (วท.บ.) วิทยาการคอมพิวเตอร์ -หัวหน้าแผนกวชิ าธรุ กิจเกษตร
ครูชำนาญการ ปริญญาตรี (วท.บ.) วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ -หวั หนา้ งานการบญั ชี
7 นายจตุพล ภธู รแสวงกจิ ครชู ำนาญการ -ประจำแผนกวิชาธุรกิจเกษตร
แผนกวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ครผู ู้ชว่ ย ปรญิ ญาโท (ศษ.ม.) การบรหิ ารการศึกษา -ผู้ช่วยหัวหน้างานพัฒนาหลักสตู ร
1 นางเพญ็ ศรี ไชยวรรณ์ ปริญญาตรี (ศษ.บ.) บริหารธุรกจิ การเรียนการสอน
ครู ปรญิ ญาตรี (บธ.บ.) การบญั ชี -ประจำแผนกวิชาธรุ กจิ เกษตร
2 นางกรวิกา ต่นุ โนจา ครู ปริญญาตรี (บธ.บ.) การตลาด -หัวหน้างานสง่ เสริมผลติ ผลการคา้
และประกอบธุรกจิ
3 นางปิยฉัตร ระเบียบนา ครู ปริญญาตรี (ศศ.บ.) การจัดการทวั่ ไป -ผูช้ ่วยหัวหน้างานการเงนิ
(การบญั ช)ี -ประจำแผนกวชิ าธุรกิจเกษตร
4 นายปาณภัทร มณีวรรณ ปริญญาโท (บธ.ม.) -หัวหน้างานกิจกรรมนกั เรียน
การจดั การธุรกิจ นกั ศกึ ษา
5 นางสาวณฐั พัทธ์ คำภคิ ำ ปริญญาตรี (บธ.บ.) และการบริการ -ประจำแผนกวิชาธุรกิจเกษตร
ปรญิ ญาตรี (ศษ.บ.) การจัดการทวั่ ไป -ครทู ปี่ รกึ ษา อกท.
ครูประจำหอพกั ชาย ปริญญาตรี (บธ.บ.) การแนะแนว -ประจำแผนกวชิ าธุรกจิ เกษตร
1 นายฐานันดร มาลาตยุ๋ ปริญญาตรี (วศ.บ.)
2 วา่ ที่ ร.ต.อดิศักดิ์ ประพฤตดิ ี การตลาด -ประจำงานศนู ยข์ อ้ มูลสารสนเทศ
ครูประจำหอพกั หญิง วศิ วกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ -ประจำแผนกวชิ าธรุ กจิ เกษตร
1 นางสาวจีรวรรณ ฉันทจติ ร
ครชู ำนาญการพเิ ศษ ปริญญาโท (บธ.ม.) การจัดการอุตสาหกรรม -หัวหนา้ แผนกวชิ าอุตสาหกรรม
ปริญญาตรี (ทษ.บ. เกษตร เกษตร
ครชู ำนาญการพิเศษ ปรญิ ญาตรี (วท.บ.) -งานสวัสดกิ ารโรงอาหารโครงการ
ครูชำนาญการพเิ ศษ เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ปฏิรูปการศกึ ษาเกษตรเพ่ือชีวติ
ปริญญาตรี (วท.บ.) อาหาร -หวั หนา้ งานทะเบียน
ครู คศ.1 -ประจำแผนกวชิ าอตุ สาหกรรม
ครู ปริญญาตรี (ศษ.บ.) วทิ ยาศาสตรแ์ ละ เกษตร
เทคโนโลยกี ารอาหาร -หวั หนา้ งานบคุ ลากร
ปริญญาตรี (วท.บ.) -ประจำแผนกวชิ าอตุ สาหกรรม
เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม เกษตร
อาหาร -ผูช้ ว่ ยหัวหนา้ งานทะเบียน
-ประจำแผนกวชิ าอุตสาหกรรม
คหรรมศาสตร์ เกษตร
-หัวหนา้ งานการเรียนการสอน
วทิ ยาศาสตรแ์ ละ ภาคพิเศษ
เทคโนโลยีการอาหาร -ประจำงานพัฒนาหลักสูตรการ
เรียนการสอน
-ประจำแผนกวชิ าอตุ สาหกรรม
เกษตร

ครูพเ่ี ลย้ี ง ปรญิ ญาตรี (ทล.บ.) เทคโนโลยีการผลิตสตั ว์ ครพู ี่เล้ยี งหอพักชาย
ครูพี่เล้ียง ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชนั้ สงู สตั วศาสตร์ ครพู ีเ่ ล้ยี งหอพักชาย

(ปวส.)

ครูพีเ่ ลี้ยง ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชนั้ สูง สัตวศาสตร์ ครูพเ่ี ลี้ยงหอพกั หญิง
(ปวส.)

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คมู่ อื นกั ศกึ ษา 12

แนวการเรยี นระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.)

1. เวลาเรียน

1.1 หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี พ.ศ. 2562 ใช้เวลาเรียน โดยปกติ 3 ปี หรือ 6 ภาคเรียน

1.2 ในหนึ่งปีการศกึ ษา แบ่งเปน็ ภาคเรยี นปกติ 2 ภาคเรยี น ภาคเรยี นละ 18 สัปดาห์

1.3 หนึ่งสัปดาห์ ต้องเรียนไม่น้อยกว่า 5 วัน วันละ ประมาณ 7 ชั่วโมง รวมไม่เกิน 35 ชั่วโมง/

สปั ดาห์ นกั เรยี นตอ้ งมีเวลาเรียนในทุกรายวิชาในทกุ ภาคเรยี นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรยี นท้งั หมดใน

แต่ละรายวิชา ถ้าเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 จะไม่มีสิทธิ์เข้าสอบในรายวิชานั้นๆ และได้ผลการเรียน

เปน็ “ขร” (ขาดเรียน) และมีค่าเปน็ “0” ไม่สามารถสอบแกต้ วั ได้ ต้องลงทะเบียนเรียนใหมใ่ นรายวชิ า

1.4 ให้ผเู้ รียนเขา้ รว่ มกิจกรรมตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการ ตามท่ีสถานศกึ ษากำหนดในทุกภาค

เรียน และมีเวลารวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาทั้งหมด ถ้ามีเวลารวมต่ำกว่าร้อยละ 60 ได้ผลการ

เรียนเปน็ มผ. (ไม่ผ่าน) ต้องลงทะเบียนเรยี นใหม่

2. วธิ ีการประเมนิ ผลการเรยี น

2.1 ในการประเมินผลการเรยี นใช้ตวั เลขแสดงระดบั ผลการเรยี นในทกุ วชิ าดงั น้ี

4.0 หมายถงึ ผลการเรียนดเี ยีย่ ม ไดค้ ะแนนรวมตง้ั แต่ 80 คะแนนขน้ึ ไป

3.5 หมายถงึ ผลการเรียนดีมาก ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 75 – 79 คะแนนขนึ้ ไป

3.0 หมายถึง ผลการเรยี นดี ไดค้ ะแนนรวมระหว่าง 70 – 74 คะแนนข้นึ ไป

2.5 หมายถึง ผลการเรียนดพี อใช้ ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 65 – 69 คะแนนขนึ้ ไป

2.0 หมายถึง ผลการเรียนพอใช้ ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 60 – 64 คะแนนข้ึนไป

1.5 หมายถงึ ผลการเรียนออ่ น ได้คะแนนรวมระหว่าง 55 – 59 คะแนนขนึ้ ไป

1.0 หมายถึง ผลการเรยี นอ่อนมาก ไดค้ ะแนนรวมระหว่าง 50 – 54 คะแนนขึ้นไป(แก้)

0 หมายถงึ ผลการเรียนตก ได้คะแนนรวมตำ่ กวา่ 50 คะแนน

2.2 ผู้ที่ได้ผลการเรียนเป็น “0” สามารถลงทะเบียนสอบแก้ตัวได้ 1 ครั้ง ตามวันเวลาที่กำหนด

และมีสิทธิ์ได้รับผลการสอบแก้ตัวไม่เกิน “1” ถ้าสอบแก้ตัวไม่ผ่านและได้รับผลการสอบแก้ตัวเป็น “0” ต้อง

ลงทะเบียนเรียนใหม่

2.3 ถ้าได้รับผลการเรียนเป็น มส. (ไม่สมบูรณ์) ในรายวิชาใด นักเรียนไม่ต้องลงทะเบียนขอแก้ มส.

ให้ติดตอ่ อาจารยผ์ สู้ อนขอแกผ้ ลการเรียน ภายใน 10 วัน ที่ประกาศผลการเรยี น

2.4 รายวิชาใด ถ้าได้รับผลการเรียนเป็นตัวอักษร ได้แก่ ข.ร. , ข.ป. , ข.ส. , ถ.ล. , ท. , ม.ท.

ให้นบั วา่ ผลการเรยี น มคี า่ เท่ากบั “0” และไม่สามารถสอบแก้ตวั ได้ ตอ้ งลงทะเบียนเรียนใหม่

2.5 เมื่อลงทะเบียนเรียนตามกำหนดเวลาดังต่อไปนี้ นักเรียนต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า

เกณฑ์กำหนด ถ้าคะแนนเฉล่ียสะสมตำ่ กวา่ เกณฑ์กำหนด ให้สถานศึกษาพจิ ารณาว่าควรให้เรียนตอ่ ไปหรือ

ใหพ้ ้นสภาพนักเรยี น เกณฑก์ ำหนดมีดงั น้ี

1) เรียนครบ 2 ภาคเรียน (ปวช.1) และได้รับการประเมินใหม่แล้ว หากได้ค่าระดับคะแนน

เฉลยี่ สะสมตำ่ กว่า 1.50

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่

13

Student Handbook

2) เรียนครบ 4 ภาคเรียน (ปวช.2) และได้รับการประเมินใหม่แล้ว หากได้ค่าระดับคะแนน
เฉลี่ยสะสมต่ำกว่า 1.75

3) เรียนครบ 6 ภาคเรียน (ปวช.3) และได้รับการประเมินใหม่แล้ว หากได้ค่าระดับคะแนน
เฉลี่ยสะสมตำ่ กว่า 1.90

2.6 การจบหลกั สตู ร
1) ต้องมีหน่วยกติ สะสมไม่นอ้ ยกวา่ 103 หน่วยกิต แต่ไม่เกนิ 110 หน่วยกิต
2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่น้อยกว่า 2.00 ประเมินผ่านรายวิชาในหมวดวิชาต่างๆ ครบ

ตามท่กี ำหนดไวใ้ นหลักสตู รสถานศึกษา
3) ผ่านกจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร (ผ.) ทกุ ภาคเรียน (6 ภาคเรยี น)
4) ผา่ นการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพ

2.7 การเรียนภาคฤดูร้อน อนุญาตให้เฉพาะนักเรียนที่กำลังจะจบในระดับชั้น ปวช. 3 และ
ลงทะเบยี นเรียนไดไ้ มเ่ กิน 12 หน่วยกิต ท้ังนีข้ นึ้ อย่กู บั ดุลพนิ จิ ของสถานศกึ ษา
3. การเข้าแถวเคารพธงชาติ

นักศกึ ษาตอ้ งมาเข้าแถวให้ทันเวลาท่ีทางวิทยาลยั กำหนดไว้ คอื เวลา 07.45 น. และเชญิ ธงชาติข้ึนสู่
ยอดเสาเวลา 08.00 น. เรม่ิ เรียนวิชาแรกเวลา 08.30 น.

1. นักศกึ ษาทมี่ าถึงวิทยาลยั หลงั จากการทำกจิ กรรมหน้าเสาธงแลว้ ถือว่ามาสาย นกั ศึกษาท่ีมาสาย
จะไม่ไดร้ ับการเช็คชือ่ เขา้ ร่วมกจิ กรรมหนา้ เสาธงจากครูท่ีปรึกษา

2. นักศึกษาต้องเข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 จึงจะผ่าน
กจิ กรรม
4. การใช้สมุดบันทึกกิจกรรม

สมุดกิจกรรม นักศึกษาทุกคนต้องมีสมุดกิจกรรม 1 เล่ม ต่อ 1 ปีการศึกษา เพื่อบันทึกการเข้าร่วม
กิจกรรมตามทีว่ ทิ ยาลยั กําหนด

1. เมื่อสิ้นสุดภาคเรียน นักศึกษาต้องนำสมุดกิจกรรมไปตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรม โดยผ่าน
คณะกรรมการดำเนนิ งาน อกท. ครูท่ีปรึกษา หัวหนา้ งานกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร (สมุดกจิ กรรมจะเป็นสมุด
บันทึกการเข้าร่วมกิจกรรม ทุกๆ กิจกรรมที่วิทยาลัยกำหนดและเป็นหลักฐานการผ่านกิจกรรม (ผ) หรือ
ไมผ่ ่าน (มผ.) ใน กิจกรรมเสริมหลักสูตรทกุ ภาคเรียน หากนักเรยี นไม่บนั ทกึ การเข้ารว่ มกจิ กรรม ไม่ส่งสมุด
กจิ กรรม อาจสง่ ผลให้ไม่ผา่ นกจิ กรรมในภาคเรยี นนั้นๆ

2. นกั ศกึ ษาต้องลงชอื่ พร้อมสง่ สมุดกิจกรรมใหง้ านกิจกรรมเสริมหลกั สูตร ในวนั และเวลาทีก่ ําหนด
3. นักศึกษาที่ไม่ปฏิบัติตามข้อ 1 และ 2 จะได้รับผลการเรียน เป็น มผ. (ไม่ผ่านกิจกรรม) ในภาค
เรียนนนั้ หากลงทะเบียนเรยี นครบตามหลักสตู รกำหนดแตผ่ ลกจิ กรรม เปน็ มผ. ถือว่าไม่จบหลกั สูตร
4. นักศึกษาท่ีไดร้ ับผลการเรยี น เป็น มผ. จะต้องลงทะเบยี นเรยี นใหม่ ในภาคเรียนถัดไป

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คมู่ ือนักศกึ ษา 14

แนวการเรียนระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชนั้ สงู (ปวส.)

1. เวลาเรียน

1.1 หลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี ชนั้ สงู พ.ศ. 2563 ใชเ้ วลาเรียน โดยปกติ 2 ปี หรือ 4 ภาคเรยี น

1.2 ในหนงึ่ ปกี ารศึกษา แบ่งเปน็ ภาคเรยี นปกติ 2 ภาคเรียน ภาคเรยี นละ 18 สปั ดาห์

1.3 หนึ่งสัปดาห์ ต้องเรียนไม่น้อยกว่า 5 วัน วันละ 5 - 7 ชั่วโมง รวม 30 – 35 ชั่วโมง/สัปดาห์

นักเรียนต้องมีเวลาเรียนในทุกรายวิชาในทุกภาคเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในแต่ละ

รายวิชา ถ้าเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 จะไม่มีสิทธิ์เข้าสอบในรายวิชานั้นๆ และได้ผลการเรียนเป็น “ขร”

(ขาดเรยี น) และมีค่าเป็น “0” ตอ้ งลงทะเบียนเรยี นใหม่ในรายวิชานัน้

1.4 ให้ผู้เรยี นเขา้ ร่วมกจิ กรรมตามระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ าร ตามที่สถานศึกษากำหนดในทุกภาค

เรียน และมีเวลารวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาทั้งหมด ถ้ามีเวลารวมต่ำกว่าร้อยละ 60 ได้ผลการ

เรียนเปน็ มผ.(ไมผ่ า่ น) ตอ้ งลงทะเบียนเรยี นใหม่ในรายวชิ าน้นั

2. วิธีการประเมนิ ผลการเรยี น

2.1 ในการประเมนิ ผลการเรยี นใชต้ วั เลขแสดงระดบั ผลการเรียนในทุกวิชาดงั น้ี

4.0 หมายถงึ ผลการเรยี นดีเยย่ี ม ได้คะแนนรวมตง้ั แต่ 80 คะแนนข้ึนไป

3.5 หมายถึง ผลการเรียนดมี าก ได้คะแนนรวมระหว่าง 75 – 79 คะแนนข้ึนไป

3.0 หมายถงึ ผลการเรียนดี ได้คะแนนรวมระหว่าง 70 – 74 คะแนนขึ้นไป

2.5 หมายถงึ ผลการเรยี นดพี อใช้ ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 65 – 69 คะแนนขึ้นไป

2.0 หมายถึง ผลการเรียนพอใช้ ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 60 – 64 คะแนนขน้ึ ไป

1.5 หมายถงึ ผลการเรียนออ่ น ไดค้ ะแนนรวมระหวา่ ง 55 – 59 คะแนนขนึ้ ไป

1.0 หมายถึง ผลการเรยี นออ่ นมาก ได้คะแนนรวมระหว่าง 50 – 54 คะแนนข้ึนไป

0 หมายถึง ผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์(ตก) ไดค้ ะแนนรวมตำ่ กวา่ 50 คะแนน

2.2 ผทู้ ไี่ ดผ้ ลการเรียนเป็น “0” ไมส่ ามารถลงทะเบียนสอบแก้ตวั ได้ ต้องลงทะเบยี นเรยี นใหม่

2.3 ถ้าได้รับผลการเรียนเปน็ มส. (ไม่สมบูรณ์) ในรายวิชาใด นักเรียนไม่ต้องลงทะเบียนขอแก้ มส.

ใหต้ ิดตอ่ อาจารย์ผ้สู อนขอแก้ผลการเรยี น ภายใน 10 วัน ท่ีประกาศผลการเรียน

2.4 เมื่อลงทะเบียนเรียนตามกำหนดเวลาดังต่อไปนี้ นักศึกษาต้องมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า

เกณฑ์กําหนด ถ้าคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ำกวา่ เกณฑ์กำหนด ให้สถานศึกษาพิจารณาว่าควรใหเ้ รยี นตอ่ ไปหรือ

ให้พน้ สภาพนกั ศึกษา เกณฑก์ ำหนดมดี ังน้ี

1) เรยี นครบ 2 ภาคเรียน (ปวส.1) ตอ้ งมีคะแนนเฉล่ียสะสมไม่นอ้ ยกว่า 1.75

2) เรยี นครบ 4 ภาคเรยี น (ปวส.2) ต้องมคี ะแนนเฉลีย่ สะสมไม่น้อยกวา่ 1.90

2.5 การจบหลักสูตร

1) ต้องมีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า โครงสร้างหลักสูตรในแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา

กำหนด

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชยี งใหม่

15

Student Handbook

2) มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ไม่น้อยกว่า 2.00 ประเมินผ่านรายวิชาในหมวดวิชาต่างๆ ครบ
ตามที่ กำหนดไวใ้ นหลักสตู รสถานศึกษา

3) ผ่านกิจกรรมเสริมหลักสูตร (ผ.) ทุกภาคเรยี น (4 ภาคเรียน)
4) ผ่านการประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี
2.6 การเรียนภาคฤดูร้อน อนุญาตให้เฉพาะนักศึกษาที่กำลังจะจบในระดับชั้น ปวส. 2 และ
ลงทะเบียนเรียนไดไ้ มเ่ กนิ 12 หนว่ ยกิต ทงั้ น้ขี ึน้ อยู่กบั ดลุ พนิ ิจของสถานศกึ ษา
3. การเขา้ แถวเคารพธงชาติ
นักศกึ ษาต้องมาเขา้ แถวใหท้ นั เวลาทีท่ างวทิ ยาลยั กำหนดไว้ คอื เวลา 07.45 น. และเชิญธงชาติข้ึนสู่
ยอดเสาเวลา 08.00 น. เร่มิ เรียนวิชาแรกเวลา 08.30 น.
1. นักศกึ ษาทม่ี าถึงวทิ ยาลยั หลังจากการทำกิจกรรมหน้าเสาธงแล้ว ถอื ว่ามาสาย นกั ศกึ ษาท่ีมาสาย
จะไมไ่ ด้รับการเชค็ ช่ือเข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงจากครทู ่ปี รึกษา
2. นักศึกษาต้องเข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 จึงจะผ่าน
กิจกรรม
4. การใชส้ มดุ บันทกึ กิจกรรม
สมุดกิจกรรม นักศึกษาทุกคนต้องมีสมุดกิจกรรม 1 เล่ม ต่อ 1 ปีการศึกษา เพื่อบันทึกการเข้าร่วม
กิจกรรมตามทว่ี ทิ ยาลัยกําหนด
1. เมื่อสิ้นสุดภาคเรียน นักศึกษาต้องนำสมุดกิจกรรมไปตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรม โดยผ่าน
คณะกรรมการดำเนนิ งาน อกท. ครูท่ีปรกึ ษา หวั หน้างานกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร (สมุดกจิ กรรมจะเป็นสมุด
บันทึกการเข้าร่วมกิจกรรม ทุกๆ กิจกรรมที่วิทยาลัยกำหนดและเป็นหลักฐานการผ่านกิจกรรม (ผ) หรือ
ไม่ผ่าน (มผ.) ในกิจกรรมเสริมหลักสูตรทุกภาคเรยี น หากนักเรียนไม่บันทึกการเข้ารว่ มกิจกรรม ไม่ส่งสมดุ
กิจกรรม อาจส่งผลใหไ้ ม่ผา่ นกิจกรรมในภาคเรยี นน้นั ๆ
2. นกั ศกึ ษาต้องลงชือ่ พร้อมส่งสมุดกิจกรรมใหง้ านกจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร ในวันและเวลาที่กําหนด
3. นักศึกษาที่ไม่ปฏิบัติตามข้อ 1 และ 2 จะได้รับผลการเรียน เป็น มผ. (ไม่ผ่านกิจกรรม) ในภาค
เรยี นนน้ั หากลงทะเบียนเรยี นครบตามหลกั สูตรกำหนดแต่ผลกจิ กรรม เปน็ มผ. ถอื ว่าไม่จบหลักสูตร
4. นักศกึ ษาท่ีได้รบั ผลการเรียน เป็น มผ. จะตอ้ งลงทะเบยี นเรยี นใหม่ ในภาคเรยี นถัดไป

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

ค่มู ือนกั ศึกษา 16

แนวการเรยี นระดับปริญญาตรี หลกั สูตรเทคโนโลยบี ณั ฑติ (ทล.บ.)

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ (ตอ่ เน่อื ง)

1. เวลาเรียน
1.1 หลักสูตรระดบั ปรญิ ญาตรี ใชเ้ วลาเรยี น โดยปกติ 2 ปี หรอื 4 ภาคเรยี น
1.2 ในหนึง่ ปีการศึกษา แบ่งเปน็ ภาคเรียนปกติ 2 ภาคเรียน ภาคเรียนละ 18 สปั ดาห์
1.3 การจัดการเรียนการสอน เป็นระบบทวิภาคี จัดให้เรียนทฤษฎีในสถานศึกษาและฝึกปฏิบัติใน

สถานประกอบการ การจัดการเรียนการสอนในสถานประกอบการ ให้จัดทำในเวลาทำการของสถาน
ประกอบการ โดยจัดในเวลาทำการของสถานประกอบการท่ีลงนามความร่วมมอื จัดการศึกษาร่วมกัน โดย
จัดให้เข้ารับการฝึกอบรม ฝึกปฏิบัติงาน ตามแผนการฝึกอาชีพที่จัดร่วมกับสถานประกอบการและ
สถานศกึ ษา ให้สอดคลอ้ งกับรายวิชาท่ีกำหนดท้ังน้ขี ้นึ อยู่กับคณะกรรมการประจำหลักสูตรเปน็ ผพู้ ิจารณา

1.4 ให้ผ้เู รยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรมตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ ตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนดในทกุ ภาค
เรียน และมีเวลารวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาทั้งหมด ถ้ามีเวลารวมต่ำกว่าร้อยละ 60 ได้ผลการ
เรียนเปน็ มผ. (ไมผ่ ่าน) ต้องลงทะเบยี นเรียนใหม่
2. ระเบยี บอื่นๆ

ให้ดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ ที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการกำหนดขึ้น ได้แก่ มาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 หลักสูตร
เทคโนโลยีบณั ฑติ

สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารผลติ พืช (ตอ่ เนื่อง)

1.ระบบการจดั การศึกษา

1.1 ระบบ
ใชเ้ วลาเรยี น โดยปกติ 2 ปี หรือ 4 ภาคเรยี น การจัดการเรยี นการสอนเปน็ ระบบ ทวิภาคี

จัดให้เรียนทฤษฎีในสถานศึกษาและฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ โดยกำหนดให้ 1 ปีการศึกษา แบ่ง
ออกเปน็ 2 ภาคเรยี น ใน 1 ภาคเรยี น มรี ะยะเวลาศกึ ษาไมน่ ้อยกวา่ 18 สปั ดาห์
2. ดำเนนิ การหลักสูตร

2.1 วัน-เวลา ในการดำเนนิ การเรยี นการสอน
2.1.1 การจัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษา ให้จดั ในวันและเวลา ดังต่อไปนี้
- วัน เวลาราชการ วนั จนั ทร์-วันศุกร์ เวลา 08.00-17.00 น. ฝึกปฏบิ ตั ใิ นสถาน

ประกอบการ (การจัดการเรียนการสอนในสถานประกอบการ ให้จัดในเวลาทำการของสถานประกอบการ
โดยจดั ใหไ้ ดร้ บั การฝกึ อบรม ฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน ตามแผนการฝึกอาชีพทจ่ี ัดร่วมกับสถานประกอบการและ
สถานศึกษา ใหส้ อดคลอ้ งกบั รายวชิ าทกี่ ำหนด)

- นอกวนั เวลาราชการ วนั เสาร์และอาทิตย์ ระหว่างเวลา 08.30 น.-17.30 น.
เรยี นทฤษฎใี นสถานศึกษา

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่

17

Student Handbook
2.1.2 การจดั การเรยี นการสอนภาคเรียนปกติและภาคฤดรู ้อน กำหนดระยะเวลาการศึกษา
ดังนี้

ภาคเรียนที่ 1 ต้ังแตเ่ ดอื นพฤษภาคม ถึง เดือนกนั ยายน
ภาคเรียนท่ี 2 ตงั้ แตเ่ ดือนตลุ าคม ถงึ เดอื นมนี าคม
ฤดูร้อน (ถ้ามี ตั้งแต่เดือนเมษายน ถึง เดือนพฤษภาคม หรือมติที่คณะกรรมการ
หลกั สูตรพจิ ารณา)
2.1.3 การเขา้ ร่วมกจิ กรรม ให้ผู้เรียนเข้ารว่ มตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร ตามท่ี
สถานศกึ ษากำหนดในทกุ ภาคเรยี น และมเี วลารวมไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 ของเวลาทง้ั หมด ถา้ มเี วลารวมตำ่
กว่ารอ้ ยละ 60 ไดผ้ ลการเรียนเปน็ มผ. (ไม่ผ่าน) ต้องลงทะเบยี นเรยี นใหม่
2.2 ระเบยี บอน่ื ๆ
ให้ดำเนินงานตามกรอบคุณวุฒิวิชาชีพ ที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการกำหนดขึ้น ได้แก่มาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 หลักสูตร
เทคโนโลยบี ณั ฑิต
3. คุณสมบัติของผูเ้ ขา้ ศึกษา
3.1 สำเรจ็ การศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั้ สูง (ปวส.) สาขาวิชาพชื ศาสตร์
3.2 มีสุขภาพสมบูรณ์ทง้ั รา่ งกายและจติ ใจ ไมป่ ่วยเป็นโรครา้ ยแรงหรอื มคี วามผิดปกติท่ีเปน็ อปุ สรรค
ตอ่ การศึกษา

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คู่มอื นกั ศึกษา 18

ระเบียบการแตง่ กายของนกั ศึกษา

1. การแตง่ กาย
เสื้อ กางเกง กระโปรง เป็นไปตามระเบียบวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่ เรื่อง การปฏิบัติตนของ

นักศกึ ษาวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่ พ.ศ. 2540 แก้ไขเพม่ิ เติม พ.ศ.2553 ดงั น้ี
1.1 นกั ศึกษาชาย
- เสอ้ื เชิ้ตแขนสน้ั สีขาว สวมทับชายเสอ้ื ไวใ้ นกางเกงและสวมเขม็ ขัดตราวิทยาลัย
- เสอ้ื ซาฟารีสเี ขยี ว ใหใ้ สเ่ ฉพาะวันที่มวี ชิ าปฏบิ ตั งิ านเกษตรหรอื ตามทอี่ าจารย์สง่ั
- เสอ้ื ยดื ขาว (เสื้อกรีนแฮนด)์ และเสื้อแขนยาว (อกท.) ใหใ้ ส่เฉพาะวนั ทีม่ ีคาบกิจกรรมนักศกึ ษา
- กางเกงสีดำหรือกรมทา่ ไม่มีลวดลาย ไม่เป็นผ้ายีนส์ทุกชนิด ทรงสุภาพแบบสากล ไม่รัดรูป และ

ไมห่ ลวมเกนิ ไป
1.2 นกั ศกึ ษาหญงิ
- เสื้อเชิ้ตแขนสั้นสีขาว ผ้าขาวเกลี้ยงธรรมดาไม่มีลวดลายและไม่รัดรูปจนเกินไป ใช้กระดุม

เข็มกลดั หนา้ อก สวมเข็มขัดตราวทิ ยาลยั
- เสอ้ื ซาฟารีสีเขียว ให้ใสเ่ ฉพาะวันทีม่ วี ชิ าปฏิบตั ิงานเกษตรหรือตามทีอ่ าจารยส์ ่ัง
- เส้อื ยืดขาว (เส้ือกรนี แฮนด์) และเสือ้ แขนยาว (อกท.) ให้ใส่เฉพาะวนั ท่มี ีคาบกจิ กรรมนักศึกษา
- ปวช. กระโปรงสีกรมท่า ไม่มีลวดลาย ยาวใต้เข่าไม่เกิน 5 นิ้ว ด้านหน้า 7 จีบ ด้านหลัง 7 จีบ

เยบ็ เกลด็ ยาวประมาณ 3.5 นิ้ว
- ปวส. สีกรมทา่ ไม่มลี วดลาย ทรงตรง ด้านหลังผา่ ปา้ ยซ้อน ความยาวไดเ้ ขา่ ประมาณ 5 นิ้ว
- หา้ มไวเ้ ล็บ แตง่ เล็บ ทาสเี ล็บ

2. ทรงผม อนุญาตใหใ้ ชท้ รงต่าง ๆ ดงั น้ี
2.1 นักศึกษาชาย
ทรงผมแบบรองทรงแบบสุภาพผมด้านหน้าไม่ต่ำกว่าคิ้ว โชว์หู ห้ามไว้จอน และหนวดเคราไม่โกรก

หรือทำสผี ม หรอื ใส่อุปกรณ์แต่งผมทกุ ชนิด
2.2 นักศกึ ษาหญงิ
ไม่โกรกหรือทำสีผมหรือใส่อุปกรณ์แต่งผม ในกรณีไว้ทรงผมสั้น ให้ตัดผมตรง เสมอปกเสื้อ

หา้ ม ซอยผมสั้น ทรงแฟชนั่ ตา่ งๆ ในกรณีไวผ้ มยาวต้องเกบ็ รวบและผูกโบว์สสี ภุ าพใหเ้ รียบรอ้ ย
3. รองเท้า

3.1 นกั ศกึ ษาชาย
ให้ใช้รองเท้าผ้าใบหรือรองเท้าหนังหุ้มส้นสีดำ หากเป็นรองเท้าผ้าใบต้องเป็นชนิดที่มีเชือกผูก

รองเท้า และถุงเท้าสีดำ หา้ มใสร่ องเท้าสีอน่ื และมีลวดลายประกอบ
3.2 นกั ศึกษาหญิง
ใชร้ องเทา้ หนงั สีดำ ความสูงไมเ่ กิน 2 นิว้ ไม่สวมถงุ เทา้ หา้ มใส่รองเท้าสอี น่ื และมลี วดลายประกอบ

ในช่วั โมงปฏบิ ัติงานและชวั่ โมงพลศึกษา อนุญาตใหใ้ ช้รองเทา้ ผา้ ใบหุ้มส้น

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่

19

Student Handbook

การแต่งกายนกั ศึกษาชาย ระดับ ปวช. และ ปวส.

เสอื้ นกั เรียน/นกั ศกึ ษา

ปกเช้ติ แขนสน้ั , แขนยาว(สำหรับ ปวส.)

ดา้ นหน้า >> ปลอ่ ยธรรมดา

ด้านหลัง >> รอยตอ่ ไมม่ จี บี
ด้านซา้ ย >> กระเป๋า ไม่มีฝา

ดา้ นขวา
>> ปวช. ปกั ชือ่ ตัวบรรจง สูง 1 ซม. ด้ายสกี รมทา่
>> ปวส. ติดปา้ ยชื่อโลหะ พ้นื ดำ ชื่อขาว ขอบขาว

ด้านหลัง ด้านหน้า

ดา้ นหลงั

ดา้ นหน้า

กางเกงนกั เรียน/นักศกึ ษา

>> กางเกงสกี รมทา่ ไมม่ ลี วดลาย ไมม่ ีจีบ
>> เข็มขัดหนงั สีดำ หวั เข็มขัดตราวิทยาลัย
>> กระเป๋าขา้ งตรง เจาะเรยี บ ไมล่ วดลาย
>> กระเปา๋ หลงั เปน็ แบบเจาะ
>> ปลายกางเกงทรงตรง

ปวช. รองเทา้ ผ้าใบสดี ำ ไมม่ ลี วดลาย / ปวส. รองเท้าคชั ชสู ีดำ ไม่มลี วดลาย

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

ค่มู อื นกั ศกึ ษา 20

การแตง่ กายนักศึกษาหญิง ระดับ ปวช. และ ปวส.

ดา้ นหลงั เสอ้ื นกั เรยี น/นักศึกษา

ด้านหนา้ ปกเชติ้ แขนสน้ั
ด้านหนา้
>> ปลอ่ ยธรรมดา
>> เม็ดดุมตราวิทยาลยั 4 เมด็
>> สาบเสอื้ พับเขา้ ข้างใน
ด้านหลงั >> เรียบ ไม่มีรอยตอ่
ด้านขวา
>> ปวส. ติดปา้ ยชื่อโลหะ พน้ื ดำ ช่อื ขาว ขอบขาว

ด้านหนา้ ดา้ นหลัง

กระโปรงนกั เรยี น/นักศึกษา

ปวช.
>> กระโปรงสกี รมทา่ จบี รอบ
>> เข็มขัดหนงั สีดำ หวั เขม็ ขดั ตราวิทยาลัย
>> ความยาวใต้เข่าไมเ่ กนิ 5 นิ้ว
ปวส.
>> กระโปรงสีกรมทา่ ทรงเอ
>> เข็มขดั หนงั สดี ำ หัวเข็มขดั ตราวิทยาลัย
>> ความยาวใตเ้ ขา่ ไมเ่ กนิ 5 นวิ้

รองเท้าหนงั หุม้ สน้ หุม้ ปลายเท้า สดี ำ ไม่มีลวดลาย หวั มน ส้นสูงไมเ่ กนิ 2 น้ิว ไม่สวมถงุ เท้า

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่

21

Student Handbook

การแต่งกายชุดนกั เรยี น ชายและหญิง ระดับ ปวช.

หมายเหตุ : - ชุดนักเรยี น สำหรับสวมใสใ่ นเวลาเรียนปกติ ตามระเบียบที่กำหนด
- การสวมใสข่ ึน้ อยู่กับวัน เวลาที่สถานศึกษากำหนด

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คมู่ ือนกั ศึกษา 22

การแต่งกายชุดซาฟารี ชายและหญิง ระดับ ปวช.

หมายเหตุ : - ชดุ ซาฟารี สวมใส่ในวันลงปฏิบตั งิ านเพอื่ ความสะดวกสบายในการฝกึ ปฏบิ ัตวิ ชิ าชพี
- การสวมใสข่ ้ึนอยกู่ บั วัน เวลาทส่ี ถานศกึ ษากำหนด

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่

23

Student Handbook

การแตง่ กายชุดพละ ชายและหญิง ระดับ ปวช.

หมายเหตุ : - ชดุ พละ สำหรับสวมใสใ่ นวันเรียนวชิ าพละศกึ ษา และเลน่ กฬี า
- การสวมใสข่ ึ้นอยกู่ บั วัน เวลาทสี่ ถานศกึ ษากำหนด

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คู่มอื นกั ศกึ ษา 24

การแตง่ กายชุดนกั ศกึ ษา ชายและหญงิ ระดับ ปวส.

หมายเหตุ : - ชดุ นกั ศึกษา สำหรับสวมใส่ในเวลาเรยี นปกติ ตามระเบียบทก่ี ำหนด
- การสวมใสข่ ้นึ อยกู่ ับวัน เวลาที่สถานศกึ ษากำหนด

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชยี งใหม่

25

Student Handbook

การแต่งกายชุดซาฟารี ชายและหญิง ระดับ ปวส.

หมายเหตุ : - ชุดซาฟารี สวมใส่ในวนั ลงปฏบิ ัตงิ านเพ่ือความสะดวกสบายในการฝกึ ปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี
- การสวมใส่ข้นึ อยู่กบั วัน เวลาทส่ี ถานศึกษากำหนด

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คมู่ ือนักศกึ ษา 26

การแต่งกายสำหรับการเข้ารว่ มกจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร ระดับ ปวช.

กิจกรรมองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย หน่วยเชียงใหม่ (อกท.) เป็นกิจกรรมเสริม
หลักสูตร ที่กำหนดให้นักศึกษาทุกคนเป็นสมาชิกสมาชิกทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรม และดำเนินกิจกรรม
ตามท่ีกําหนดสัปดาห์ละ 2 ช่วั โมง

หมายเหตุ : สมาชกิ ใหม่ นกั เรยี นชาย - หญิง
1. เมื่อเริ่มเข้าศึกษาในระดับ ปวช.1 เรียกว่าเป็นสมาชิกใหม่ อกท. กำหนดให้สวมใส่ชุดกรีนแฮนด์ สวมใส่ในวันที่มี

ช่วั โมงกจิ กรรม เสื้อยืดสขี าว ตรา อกท.
ชาย >> สวมกางเกงนักเรยี น พร้อมเขม็ ขัดตราวทิ ยาลัย
หญิง >> สวมกระโปรงนกั เรยี น พร้อมเขม็ ขัดตราวทิ ยาลยั

2. ภายหลังผ่านกิจกรรมตามข้อกำหนด สมาชิกจะได้รับการเลื่อนระดับเป็นสมาชิกระดับหน่วย ระดับภาค
ระดับชาติ ผู้ผา่ นการเลื่อนระดบั มีสิทธสิ วมใสเ่ สือ้ แขนยาวสขี าว ผูกเนคไท และสวมเสือ้ แจ๊คแก็ต ทม่ี ีแบบและสัญลกั ษณ์ตามท่ี
อกท. กำหนด

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่

27

Student Handbook

การแต่งกายสำหรับการเข้าร่วมกิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร ระดับ ปวส.

กิจกรรมองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย หน่วยเชียงใหม่ (อกท.) เป็นกิจกรรมเสริม
หลักสูตร ที่กำหนดให้นักศึกษาทุกคนเป็นสมาชิกสมาชิกทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรม และดำเนินกิจกรรม
ตามที่กาํ หนดสัปดาห์ละ 2 ช่วั โมง

หมายเหตุ : สมาชิกใหม่ นกั ศกึ ษาชาย - หญิง
1. เมื่อเริ่มเข้าศึกษาในระดับ ปวส.1 เรียกว่าเป็นสมาชิกใหม่ อกท. กำหนดให้สวมใส่ชุดกรีนแฮนด์ สวมใส่ในวันที่มี

ช่ัวโมงกิจกรรม เสอ้ื ยดื สีขาว ตรา อกท.
ชาย >> สวมกางเกงนักศกึ ษา พรอ้ มเข็มขัดตราวิทยาลัย
หญงิ >> สวมกระโปรงนกั ศกึ ษา พรอ้ มเขม็ ขัดตราวิทยาลัย

2. ภายหลังผ่านกิจกรรมตามข้อกำหนด สมาชิกจะได้รับการเลื่อนระดับเป็นสมาชิกระดับหน่วย ระดับภาค
ระดับชาติ ผผู้ ่านการเลอื่ นระดบั มีสทิ ธิสวมใส่เส้อื แขนยาวสขี าว ผูกเนคไท และสวมเส้อื แจค๊ แกต็ ทมี่ แี บบและสัญลักษณต์ ามท่ี
อกท. กำหนด

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คมู่ อื นกั ศกึ ษา 28

ระเบยี บท่นี กั ศึกษาและผปู้ กครองควรทราบ

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่

29

Student Handbook

งานปกครอง

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คู่มอื นกั ศกึ ษา 30

ประกาศวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่
เร่ือง ระเบยี บปฏบิ ัตขิ องนกั ศกึ ษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่

พ.ศ. 2556 แกไ้ ขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2565
-----------------------------------------------------------
เพื่อให้การปฏิบัติตนของนักเรียนนักศึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่เป็นไปด้วย
ความถกู ต้องและเหมาะสม จงึ ขอช้แี จงดังตอ่ ไปน้ี
1. การเข้าแถวเคารพธงชาติ ให้นักศึกษาทุกคนร่วมเคารพธงชาติและฟังคำชี้แจง อบรมสั่งสอน
และประกาศต่างๆ ของวิทยาลัย ถ้าขาดเข้าแถว 3 ครั้งต่อสัปดาห์ งานปกครองจะแจ้งให้นักศึกษาไปติดต่อ
ทำกิจกรรม (ซ่อมงาน) ตามที่มอบหมาย หากไม่ไปติดต่อทำกิจกรรมจะถูกตัดคะแนนความประพฤติ 5 คะแนน
และแจง้ ให้ผูป้ กครองทราบ ถ้ายังขาดอีก 3 ครั้งตอ่ สัปดาห์ จะถกู ตัดคะแนนอกี 5 คะแนน เรื่อยๆ ไป
2. การแตง่ กาย เสื้อ กางเกง กระโปรง เปน็ ไปตามคำส่ังของวทิ ยาลัย ดงั น้ี
2.1 นักศกึ ษาชาย
- เส้อื เช้ิตแขนสนั้ สีขาว สวมทับชายเส้ือไว้ในกางเกงและสวมเขม็ ขดั ตราวิทยาลยั
- เสือ้ ซาฟารสี ีเขียว ให้ใสเ่ ฉพาะวันทมี่ วี ิชาปฏบิ ตั งิ านเกษตรหรือตามที่อาจารยส์ งั่
- เสอ้ื ยืดขาวและเส้ือแขนยาว (อกท.) ให้ใส่เฉพาะวนั ท่มี คี าบกิจกรรมนกั ศึกษา
- กางเกงสีดำหรือกรมท่าไม่มีลวดลาย ไม่เป็นผ้ายีนส์ทุกชนิด ทรงสุภาพแบบสากลไม่รัดรูปและ
ไม่หลวมเกินไป
2.2 นกั ศึกษาหญิง
- เส้ือเชติ้ แขนสนั้ สีขาว ผา้ ขาวเกล้ยี งธรรมดาไมม่ ลี วดลายและไม่รดั รปู จนเกนิ ไปใชก้ ระดมุ
เขม็ กลดั หนา้ อก สวมเข็มขัดตราวิทยาลยั
- เส้ือซาฟารสี เี ขียว ให้ใส่เฉพาะวันทีม่ ีวชิ าปฏบิ ตั ิงานเกษตรหรือตามทอ่ี าจารยส์ งั่
- เสื้อยดื ขาวและเส้ือแขนยาว (อกท.) ให้ใส่เฉพาะวนั ท่มี ีคาบกิจกรรมนักศึกษา
- ปวช. กระโปรงสีกรมท่า ไม่มลี วดลาย ยาวไดเ้ ข่าไม่เกิน 5 น้วิ ดา้ นหน้า 6 จบี ด้านหลงั
6 จบี เย็บเกล็ดยาวประมาณ 3.5 นิ้ว
- ปวส. สีกรมท่า ไม่มลี วดลาย ทรงตรง ดา้ นหลงั ผา่ ปา้ ยซอ้ น ความยาวใต้เข่าประมาณ
5 นว้ิ
- หา้ มไวเ้ ลบ็ แตง่ เล็บ ทาสเี ล็บ

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่

31

Student Handbook

2.3 เสื้อชมรมและเสื้อกจิ กรรมอืน่ ๆ นอกเหนอื จากทก่ี ำหนดไวใ้ นข้อ 2.1 และ 2.2
ใหส้ วมใส่ได้เฉพาะวนั ศุกร์เท่านน้ั
3. ทรงผม อนญุ าตใหใ้ ชท้ รงตา่ งๆ ดงั นี้
3.1 นกั ศึกษาชาย ทรงผมแบบรองทรงแบบสภุ าพผมดา้ นหน้าไม่ต่ำกวา่ คว้ิ โชวห์ ู หา้ มไว้จอน
และหนวดเครา ไม่โกรกหรอื ทำสผี ม หรือใส่อปุ กรณแ์ ตง่ ผมทุกชนดิ
3.2 นกั ศกึ ษาหญิง ไม่โกรกหรือทำสผี มหรอื ใสอ่ ปุ กรณ์แต่งผม
- ในกรณีไว้ทรงผมสั้น ให้ตดั ผมตรง เสมอปกเสอื้ หา้ มซอยผมสั้น ทรงแฟชน่ั ต่างๆ
- ในกรณีไวผ้ มยาวตอ้ งเกบ็ รวบและผูกโบวส์ ีสุภาพใหเ้ รียบร้อย
4. รองเทา้
4.1 นักศกึ ษาชาย ใหใ้ ชร้ องเทา้ ผ้าใบหรือรองเท้าหนงั หมุ้ ส้นสีดำ หากเป็นรองเท้าผา้ ใบ
ต้องเปน็ ชนดิ ที่มีเชือกผูกรองเทา้ และมถี งุ เทา้ สดี ำ ห้ามใส่รองเท้าสีอนื่ และมลี วดลายประกอบ
4.2 นกั ศึกษาหญิง ใช้รองเทา้ หนงั สดี ำ ความสงู ไม่เกนิ 6 น้วิ ไมส่ วมถุงเท้า หา้ มใส่
รองเทา้ สอี ืน่ และมลี วดลายประกอบ ในชัว่ โมงปฏิบตั ิงานและชวั่ โมงพลศึกษา อนุญาตให้
ใช้รองเท้าผ้าใบหุ้มสน้
บทลงโทษ การแต่งกาย ถ้านกั เรียนนักศกึ ษาปฏิบัติไม่ถูกตอ้ ง อาจารย์ทุกท่านมีอำนาจแจง้ นักศึกษา แต่งกาย
ให้เรียบร้อยหรือไม่อนญุ าตให้เข้าเรยี นจนกว่าจะปฏิบัติให้ถกู ต้องเรียบร้อย ถ้าอาจารย์ได้ตักเตือนแล้ว 3 ครั้ง และยัง
ฝ่าฝนื ผิดระเบยี บอกี จะถกู ตัดคะแนนความประพฤติ 5 คะแนน
5. การขับขี่ยวดยานพาหนะ
5.1 ใหป้ ฏบิ ัติตามระเบียบว่าด้วยการใช้ยานพาหนะ
5.2 หา้ มนกั ศกึ ษาขับ ซอ้ นทา้ ยจักรยานยนต์ 5 คน
5.3 หา้ มนกั ศึกษาขบั ขซี่ ้อนท้ายจกั รยานยนตใ์ นรปู ตา่ งเพศชาย - หญงิ เช่น
หญิง 1 คน ชาย 2 คน หรอื ชาย 1 คน หญงิ 2 คน หรืออ่ืน ๆ ท่ีถือวา่ ไมส่ ุภาพ
5.4 การขับขีย่ วดยานพาหนะภายในวทิ ยาลัย กำหนดใหใ้ ช้ความเรว็ ไม่เกนิ
40 กม. /ชวั่ โมง
5.5 เปดิ ไฟหนา้ และสวมหมวกนิรภัย
6. ความสะอาดภายในวทิ ยาลยั
6.1 นกั ศึกษาจะตอ้ งรกั ษาความสะอาด โดยทิง้ ขยะในภาชนะทีท่ างวิทยาลัยจดั ไว้

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คู่มือนกั ศกึ ษา 32

6.2 ในโรงประชมุ
- หา้ มเลน่ กีฬาในโรงอาหารและโรงประชมุ
- ช่วยกันรกั ษาความสะอาดบริเวณหอประชมุ และโรงอาหาร
7. ระเบียบการลา
การลากิจหรือลาป่วย ให้ใช้แบบฟอร์มการลาของวิทยาลัย การลากิจต้องลาล่วงหน้า
ส่วนการลาปว่ ย ใหล้ าวนั ทปี่ ่วยหรอื ยอ้ นหลงั หากปว่ ยติดต่อกันเกิน 5 วัน ให้ใชใ้ บรับรองแพทย์ประกอบการลา
ให้นักศึกษาปฏิบัติตามประกาศนี้อย่างเคร่งครัด หากฝ่าฝืนทางวิทยาลัย จะลงโทษตามระเบียบ
ว่าด้วยหลักการและวิธีการตดั คะแนนความประพฤตินักเรียนนักศกึ ษา พ.ศ. 2565

จึงประกาศมาให้ทราบและถือปฏบิ ตั ิโดยทั่วกนั

ประกาศ ณ วนั ท่ี 22 เดือน เมษายน พ.ศ. 2565

(นายสุรศกั ด์ิ เทยี บรตั น)์
ผอู้ ำนวยการวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่

33

Student Handbook

ประกาศวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่
ว่าด้วยระเบียบการใชย้ านพาหนะของนักศึกษาในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2565

-----------------------------------------------------------

เนื่องจากปัจจุบัน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่ มีจำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก โดยรับ
นักศกึ ษาเข้าเรียนในระดับประโยควิชาชีพ ตามนโยบายปฏิรปู การศึกษาเกษตรเพ่ือชวี ิต นกั ศึกษาเหล่านี้พัก อาศัยอยู่
ในหอพักทวี่ ทิ ยาลยั จดั สรา้ งขน้ึ ดงั นั้นเพ่อื ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและความปลอดภยั ในการใช้ ยานพาหนะตลอด
ปอ้ งกนั เหตุรา้ ยอ่ืน ๆ ทจี่ ะตามมา ดังน้นั วทิ ยาลยั จึงต้องวางระเบียบไวด้ ังน้ี

ข้อ 1 ระเบยี บนีเ้ รยี กวา่ “ระเบยี บวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม”่ ว่าดว้ ยการใชย้ านพาหนะ
ของนักศึกษาในสถานศกึ ษา พ.ศ.2553 (แก้ไขครั้งท่ี 6 พ.ศ. 2565)

ขอ้ 2 ระเบยี บนบ้ี ังคับต้ังแต่ปีการศึกษา 2565 เป็นต้นไป
ข้อ 3 ในระเบียบนี้ นกั ศกึ ษา” หมายความวา่ นกั ศกึ ษาของวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชยี งใหม่
"สถานศกึ ษา” หมายความวา่ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชยี งใหม่
ข้อ 4 นกั ศึกษาอนื่ ที่ไม่ใชน่ ักศึกษาตามโครงการปฏิรปู การศึกษาเกษตรเพ่ือชีวิตอนุญาตให้ใช้ รถจกั รยานยนต์
หรือรถยนต์ได้ และเมื่อเข้ามาในสถานศึกษาแล้วให้จอดรถไว้ในทีท่ ี่สถานศึกษากำหนดเท่าน้ัน และให้ล็อคกุญแจเพ่ือ
ปอ้ งกนั การสญู หาย
ข้อ 5 ให้นักศึกษาใช้เส้นทางจราจรที่สถานศึกษากำหนดเท่านั้น ห้ามนำรถจักรยานหรือจักรยานยนต์ หรือ
รถยนต์ เขา้ ไปในทหี่ ้ามผ่านหรอื ห้ามจอด
ข้อ 6 การใช้ยานพาหนะทุกชนิดของนักศึกษาทุกชั้นปี ทั้งที่เดินเรียนและอยู่หอพักหรือตามแผนกวิชา คณะ
วชิ าตา่ งๆ บา้ นพกั คนงานในบริเวณสถานศึกษา ให้งดใช้ตง้ั แตเ่ วลา 20.00น. เปน็ ตน้ ไป จนถึงเวลา 15.00น. หากมี
ความจำเป็นให้ขออนุญาตครู-อาจารย์ หรือเวรยามเป็นลายลักษณ์อักษร หากนักศึกษาใช้ ยานพาหนะเกินเวลาที่
กำหนด ในการเข้า-ออก จะต้องมอบบัตรนักศึกษาให้ยามรักษาการณ์ที่ประตูด้านหน้าไว้ และติดต่อรับคืน งาน
ปกครอง
ข้อ 7 รถจักรยานยนต์ และรถยนต์ของนักศึกษาที่ขับขี่ในสถานศึกษาให้ใช้ความเร็วไม่เกิน 40 กม./ชั่วโมง
และขับขีด่ ้วยความระมัดระวงั โดยปฏบิ ัตติ ามกฎจราจรอย่างเคร่งครัด
ข้อ 8 ห้ามนำรถจกั รยานยนต์ท่ีดัดแปลงท่อไอเสียใหเ้ กิดเสยี งดังผดิ ปกติ เข้ามาใช้ในสถานศึกษา
ข้อ 9 หากนักศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามระเบียบที่กำหนดไว้ตามข้อ 4 ข้อ 5 และข้อ 6 ให้ตัด คะแนน
ความประพฤติ ครง้ั ละไม่เกนิ 5 คะแนน
ข้อ 10 ห้ามนักศึกษาซ้อนในลักษณะที่ไม่เหมาะสม เช่น นักศึกษาหญิงนั่งด้านหนา้ โดยมนี ักศึกษาชาย เป็นผู้
ขับข่ี, ซอ้ นในลักษณะท่ีผหู้ ญงิ นง่ั ตรงกลาง ชาย - หญิง - ชาย)
ข้อ 11 หากนักศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามระเบียบที่กำหนดไว้ตามข้อ 7 และ ข้อ 8 ให้ตัด คะแนนความ
ประพฤติครัง้ ละไม่เกนิ 10 คะแนน
ขอ้ 12 ให้หวั หน้างานปกครอง ฝ่ายพฒั นาการศึกษาพิจารณาเสนอผูอ้ ำนวยการตดั คะแนนความประพฤติ

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คมู่ อื นักศกึ ษา 34

ข้อ 13 ในกรณีที่ต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบนี้ ให้ฝ่ายพัฒนาการศึกษา นําเสนอ
ผ้อู ำนวยการเพื่อขออนมุ ตั แิ ละประกาศนักศึกษาทราบตอ่ ไป

ขอ้ 14 ให้หวั หน้างานปกครอง เปน็ ผู้รักษาระเบยี บนี้
ข้อ 15 ใหใ้ ช้ระเบียบนีต้ ้ังแตภ่ าคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2565

(นายสรุ ศักดิ์ เทียบรตั น์)
ผอู้ ำนวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่

35

Student Handbook

หลกั เกณฑ์และวิธกี ารตดั คะแนนความประพฤตขิ องนกั เรียนนักศึกษา
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่
พ.ศ. 2553 แกไ้ ขเพิม่ เตมิ พ.ศ. 2565

-----------------------------------------------------------

อาศยั ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรยี นนักศึกษา พ.ศ. 2548 วทิ ยาลยั เกษตร
และเทคโนโลยีเชยี งใหม่ จงึ วางหลักเกณฑ์และวิธีการตัดคะแนนความประพฤตนิ ักเรียน นกั ศึกษา ดังน้ี

นักเรยี น นกั ศกึ ษาทุกคน จะมีคะแนนความประพฤติในภาคเรยี นหนงึ่ 50 คะแนน นักเรยี น นกั ศึกษา
คนใดถูกตัดคะแนนความประพฤติสะสมรวมแล้ว 31 คะแนนขึ้นไป จะไม่มีสิทธิ์สอบในภาคเรียนนั้นๆ ส่วนผู้ที่กระทำ
ความผดิ ในแต่ละคร้ังจะไดร้ ับโทษสถานใดขึ้นอยู่กบั ความรา้ ยแรงของความผิดน้ัน จงึ สามารถแยกเป็นกรณไี ด้ ดังน้ี
ก. ความประพฤตทิ ่ีตอ้ งโทษ ทำทัณฑบ์ นและตดั คะแนน 21 - 50 คะแนน

1. เล่นการพนนั
2. ประพฤติไมเ่ หมาะสมกบั วัย สภาพของนักเรียนนักศึกษา เชน่ เขา้ ไปในสถานทห่ี ญงิ โสเภณี

สถานอาบอบนวด หรอื ไนท์คลบั หรือสถานอ่ืนใด ท่ีไม่เหมาะสมกับสภาพนกั ศกึ ษา
3. ด่มื สุราหรอื ของมนึ เมาหรอื ยาเสพติดใหโ้ ทษและเปน็ เหตุใหเ้ กิดการทะเลาะวิวาท
4. มอี าวธุ รา้ ยแรงไว้ในครอบครอง
5. แอบอา้ งเอาชอ่ื ของสถานศึกษาไปดำเนนิ การอย่างใดอยา่ งหน่งึ จนเกดิ ความเสียหายแก่

ชือ่ เสยี งของสถานศึกษา
6. เปน็ กามโรคหรอื โรคตดิ ตอ่ ที่สงั คมรงั เกียจ
7. กระทำการลบหลคู่ รู - อาจารย์
8. ยุยงสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความกระดา้ งกระเด่ืองและฝ่าฝนื ระเบียบของสถานศึกษา
9. ประพฤติตนเขา้ ทำนองชูส้ าว
10. ขโมยทรพั ย์สินของสถานศกึ ษาหรอื ผู้อ่ืนโดยมีหลักฐานชดั เจน
11. ทาํ ลายทรพั ย์สนิ ของสถานศึกษาโดยเจตนาใหเ้ กิดความเสียหายอยา่ งรา้ ยแรง
12. ซ่องสมุ ก่อกวนความสงบเรยี บรอ้ ย กระทาํ ตนเปน็ อันธพาล
13. ตอ้ งหาในคดีอาญาและถกู ตัดสินลงโทษจำคุก
14. ประพฤตผิ ิดศีลธรรมอยา่ งรา้ ยแรง
15. ติดยาเสพตดิ ให้โทษและเปน็ ผู้จำหน่ายจดั หาหรอื มไี ว้ในครอบครอง
16. ขาดเรยี น ตดิ ต่อกัน 15 วนั โดยไมแ่ จ้งเหตุผลให้ทางสถานศกึ ษาทราบ หรือไมม่ ีเหตุผล

อนั สมควร
17. ฝา่ ฝนื ระเบียบของสถานศึกษา และทำใหช้ ื่อเสียงสถานศกึ ษาเสียหายอยา่ งรา้ ยแรง
18. เพกิ เฉยไมช่ ำระค่าธรรมเนียมและหนีส้ ินอ่นื ใดทมี่ ีตอ่ วิทยาลัย
19. ใช้วาจาหยาบคายหรือแสดงอาการไมส่ ุภาพก้าวรา้ วหรอื ดหู ม่ินเหยียดหยามครู – อาจารย์

อยา่ งรุนแรง

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คมู่ ือนักศึกษา 36

ข. ความประพฤตทิ ่ตี ้องโทษทำกจิ กรรมและ/หรือตัดคะแนน 10 - 20 คะแนน
1. แสดงกริ ยิ าไมส่ ภุ าพ
2. ขัดคำส่ังทีช่ อบธรรมของครู - อาจารย์
3. เข้าไปในบรเิ วณท่ีหวงห้ามโดยไม่ไดแ้ จ้งให้สถานศกึ ษาทราบ
4. ขาดโรงเรยี นตดิ ตอ่ กัน 7 วัน โดยไมไ่ ดแ้ จง้ ใหส้ ถานศึกษาทราบ
5. ทำผดิ ระเบยี บหรอื ข้อบงั คับในเรอื่ งการลา, การใช้บรกิ ารห้องสมุด, การใชโ้ รงอาหาร
การใช้หอพัก, การอยปู่ ระจำในแผนกงานฟาร์ม, การใชห้ อ้ งปฏิบัติการวัสดคุ รุภณั ฑ์ ของ
คณะวิชาต่างๆ, การทํากิจกรรมเสรมิ หลกั สตู ร, การใชย้ านพาหนะในวทิ ยาลัย ฯลฯ
6. ม่ัวสมุ เกาะกล่มุ กอ่ ความเดอื ดรอ้ น หรือรำคาญแกผ่ ูอ้ ื่น
7. ทำรา้ ยหรอื ร่วมกันทำรา้ ยผอู้ ่ืน
8. กอ่ การทะเลาะววิ าทชกตอ่ ยหรอื กระทําการใหเ้ กดิ การแตกแยกความสามัคคี
9. ด่มื สรุ าหรอื ของมนึ เมา
10. ขับขยี่ านพาหนะด้วยความเร็วสูงหรือมลี ักษณะท่จี ะใหเ้ กิดอันตรายทั้งต่อตนเองและผ้อู นื่

ค. ความประพฤติท่ีตอ้ งโทษวา่ กล่าวตกั เตือนหรอื ตดั คะแนน 5 คะแนน
1. ขาดเข้าแถวเคารพธงชาติ
2. แตง่ กายไมส่ ุภาพเข้าชนั้ เรยี น ไม่เปน็ ไปตามกฎระเบียบวิทยาลัยฯ กำหนด
3. สบู บุหรีใ่ นที่เปิดเผย
4. มีอปุ กรณก์ ารเล่นพนันไว้ในครอบครอง
5. กระทำความผิดในกรณอี น่ื ๆ ท่เี ป็นความผิดสถานเบา
6. ไมจ่ อดรถในจดุ หรือสถานทท่ี ีก่ ำหนด ขับขี่เข้าไปในบริเวณหา้ มเขา้
7. ทําความเสยี หายต่อทรัพยส์ ินของวทิ ยาลยั ฯ เชน่ ขดู ขีดโตะ๊ ฝาผนงั ห้องเรยี นและห้องพกั
8. ทาํ ผิดระเบยี บข้อบงั คบั ตามข้อ ข. (5) แต่เป็นความผิดสถานเบา
9. ขับรถดว้ ยความเร็วสงู และเปน็ ทห่ี วาดเสียวหรือรำคาญแก่ผอู้ นื่ ในสถานศึกษา

ผู้มีอำนาจในการตดั คะแนนความประพฤติของนักเรยี น นักศึกษาทป่ี ระพฤติผดิ ระเบยี บ
1. ครู อาจารย์มีสิทธิตัดคะแนนความประพฤตคิ ร้ังละ 5 คะแนน โดยกรอกแบบฟอรม์
รายละเอยี ดมลู ฐานความผดิ แล้วแจ้งตอ่ งานปกครองเพอื่ ดำเนนิ การต่อไป
2. หัวหนา้ งานปกครอง และผู้ชว่ ยผอู้ ำนวยการมสี ทิ ธิตดั คะแนนความประพฤติครง้ั ละ
10 คะแนน
3. คณะกรรมการฝา่ ยปกครองหรอื คณะกรรมการสอบสวนกรณี ความผิดท่ีวทิ ยาลัยฯ
แตง่ ต้งั มีสทิ ธติ ัดคะแนนความประพฤติไมเ่ กนิ 20 คะแนน โดยแนบหลักฐาน
การสอบสวนและรายละเอียดมูลฐานความผดิ แล้วแจง้ ต่องานปกครองต่อไป
4. การพจิ ารณาลงโทษ ตัดคะแนนความประพฤติเกิน 20 คะแนน คณะกรรมการ
งานปกครอง จะรว่ มพจิ ารณาโทษและนำเสนอผู้อำนวยการเพ่อื ขออนุมตั ิ

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่

37

Student Handbook

กระบวนการลงโทษนักเรียนนักศึกษา
1. วทิ ยาลัยฯ กำหนดใหน้ กั ศกึ ษามีคะแนนความประพฤตคิ นละ 50 คะแนนต่อหน่ึงภาคเรียน
2. ถ้านกั ศึกษาคนใดถูกลงโทษหรือถกู ตดั คะแนนความประพฤติทุกคร้ัง งานปกครองจะตอ้ ง
แจง้ อาจารย์ทปี่ รกึ ษาทราบทนั ที
3. หากนกั เรียน นกั ศกึ ษาคนใดถูกตดั คะแนนความประพฤติต้ังแต่ 5 - 20 คะแนน อาจารย์
ทีป่ รกึ ษาจะตอ้ งแจ้งให้ผู้ปกครองทราบ พร้อมทั้งชี้แจงมูลเหตขุ องการถกู ลงโทษ
4. หากนักเรยี น นักศึกษาถกู ตัดคะแนนความประพฤติรวมกนั ตั้งแต่ 21 - 30 คะแนน
งานปกครองจะต้องเรียกนักเรยี น นกั ศึกษากระทำผิดมารับทราบและจะตอ้ งเชิญ
ผปู้ กครองมา ทำทณั ฑบ์ น โดยมอี าจารย์ท่ปี รึกษารว่ มรับทราบด้วย
5. ถ้านักเรยี น นกั ศกึ ษาถูกตัดคะแนนความประพฤตริ วมกนั ตั้งแต่ 31 - 40 คะแนน หรือ
นกั ศึกษาคนนัน้ เคยถูกลงโทษให้ทำทัณฑ์บนมาแลว้ แต่ไม่เข็ดหลาบจะถกู ลงโทษโดย
ไมม่ สี ิทธิ เข้าสอบไลใ่ นภาคเรยี นนัน้
6. ถา้ ถกู ตัดคะแนนความประพฤติรวมกนั ต้ังแต่ 41 คะแนนขึ้นไป ตอ่ หนึง่ ภาคเรยี น จะถกู
ลงโทษโดยไมม่ ีสิทธไ์ิ ดร้ บั ใบรบั รองความประพฤติ
7. การลงโทษ โดยใหท้ ำกิจกรรม หมายถงึ การทำกจิ กรรมท่ีเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ
ท้งั ภายใน และภายนอกสถานศึกษา โดยมีกำหนดระยะเวลาทำกิจกรรมเป็นจาํ นวนชัว่ โมง
ทีช่ ัดเจนมากน้อย ขึน้ อยกู่ บั สภาพความผดิ
8. การลงโทษตามหลักเกณฑ์ขอ้ ค. อาจลงโทษโดย
8.1 ให้ทำกิจกรรม หรือ
8.2 ตดั คะแนนความประพฤติ หรอื
8.3 ให้ทำกิจกรรมและตัดคะแนนความประพฤติ
ขนึ้ อยกู่ บั ฐานความผดิ เจตนา และความหนกั เบา ทง้ั น้ขี ้ึนอยู่กบั ดลุ พนิ จิ ของคณะกรรมการ

งานปกครอง

งานปกครอง

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คู่มอื นักศกึ ษา 38

งานทะเบียน

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่

39

Student Handbook

ประกาศวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่
เร่อื ง ขอ้ กำหนดและแนวปฏิบัตขิ องงานทะเบียน

-----------------------------------------------------------

เพื่อให้งานทะเบียนดำเนินไปด้วยความเรียบร้อยและสะดวกต่อผู้มาติดต่อ และยื่นคำร้องต่างๆวิทยาลัย
เกษตรและเทคโนโลยเี ชยี งใหม่ จงึ มขี อ้ กำหนดและแนวทางปฏิบัติของงานทะเบียนดังต่อไปน้ี

1. การมอบตัวทำหนังสือสัญญาเปน็ นักเรียนนักศึกษา
เมื่อนักเรียน นักศึกษาได้มอบตัวเป็นนักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัยฯ เรียบร้อยแล้ว เอกสารต่างๆ ที่ได้
นำมามอบตวั ไวเ้ ป็นหลักฐานให้กับทางวิทยาลยั งานทะเบยี นจะไมค่ นื ใหไ้ ม่ว่าในกรณีใดๆ ทงั้ สิ้น
2. การขอหนังสือรบั รองและระเบยี นผลการเรียน (รบ.1)

2.1 นักเรียนนักศึกษาต้องนำรูปถ่ายขนาด 3 x 3.5 ซม. หน้าตรงไม่สวมหมวกไม่สวม
แว่นตาดำ ไม่สวมเคร่อื งประดับ แต่งเครื่องแบบนักเรยี น นกั ศกึ ษา (สวมเสอ้ื เช้ิตสีขาว ไม่สวมเนก็ ไท ไม่สวมเสื้อยืดข้าง
ใน ถ่ายไมเ่ กิน 6 เดือน)

2.2 เขียนคำร้องยื่นต่องานทะเบียน โดยกำหนดให้มารบั หลงั จากวนั ที่ย่ืนคำร้อง 3 วัน (กรณี ใบรบ.1
ทข่ี อเป็นภาษาอังกฤษ กำหนดให้มารบั หลงั จากวันทยี่ น่ื คำรอ้ ง 7 วัน)

2.3 กรณีขอระเบียนผลการเรียน (รบ.1) หลังจากที่สำเร็จการศึกษาแล้ว ผู้ขอจะต้องนำบัตรประจำตัว
นักศกึ ษามาคืนดว้ ย จึงจะได้รับใบ รบ.1

2.4 กรณีขอระเบียนผลการเรียน (รบ.1) สำหรับผู้ที่ลาออกจากการเป็นนักศึกษา ผู้ขอจะต้องนำบัตร
ประจำตัวนักศกึ ษามาคืนด้วยจึงจะไดร้ ับใบ รบ.1

3. การลงทะเบียนรายวชิ าในแต่ละภาคเรยี น
3.1 นกั ศึกษาจะต้องนำบตั รประจำตัวนักศึกษามาแสดงทุกคร้ัง
3.2 นักศึกษาจะต้องมาลงทะเบียนภายในกำหนด หากพ้นกำหนดจะถูกปรับตามระเบียบของการ

ลงทะเบยี นหลังกำหนด และหากมาลงทะเบยี นหลังวันลงทะเบยี นวนั สุดท้ายจะถูกพักการเรียนในภาคเรยี นนนั้
4. ขน้ั ตอนการตรวจสอบผลการเรียน
4.1 ตอ้ งขอตรวจสอบผลการเรียนท่อี าจารย์ทปี่ รึกษาก่อน
4.2 หากมีข้อสงสัยให้ครูที่ปรึกษาเป็นผู้มาขอตรวจสอบผลการเรียนที่งานทะเบียน หรือ นักเรียน

นกั ศกึ ษา เป็นผู้เขียนคำรอ้ งขอตรวจสอบผลการเรียน โดยมีลายมือชือ่ ครูที่ปรกึ ษารับรอง
5. ขนั้ ตอนการขอจบการศึกษา
5.1 รับตัวอย่าง รบ.1 5 ภาคเรียน (ปวช.3) รบ.1 3 ภาคเรียน (ปวส.2) ที่อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบ

ความถูกตอ้ ง

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คูม่ อื นกั ศึกษา 40

5.2 กรณีผลการเรียน หรือ ข้อมลู ตา่ งๆ ผดิ พลาด นกั เรียน นักศกึ ษา เขียนคำร้องแจง้ งานทะเบียน รอการ
แก้ไขทง่ี านทะเบยี นให้เรียบร้อย

5.3 รับแบบฟอร์มขอจบหลักสูตรที่งานทะเบียน แนบรูปถ่าย 2 รูป ขนาด 3 x 3.5 ซม. หน้าตรงไม่สวม
หมวก ไม่สวมแว่นตาดำ ไม่สวมเคร่อื งประดบั แตง่ เคร่ืองแบบนักเรยี น นกั ศกึ ษา (สวมเสอ้ื เช้ติ สีขาว
ไม่สวมเน็กไท ไม่สวมเสื้อยืดข้างใน ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน) พร้อมตัวอย่าง รบ.1 5 ภาคเรียน (ปวช.3)
รบ.1 3 ภาคเรียน (ปวส.2) และลงลายมอื ช่อื นกั เรียน นกั ศึกษา อาจารยท์ ป่ี รึกษาใหเ้ รียบร้อย

จึงประกาศมาใหท้ ราบทวั่ กนั

ประกาศ ณ วนั ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2565

ลงช่ือ
(นายสุรศกั ดิ์ เทียบรตั น)์

ผูอ้ ำนวยการวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่

41

Student Handbook

งานหลักสตู ร

แผนการเรยี นระดบั ชน้ั ปวช. และ ปวส.

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คูม่ ือนักศกึ ษา 42

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่

แผนการเรยี นหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) ประเภทวิชาเกษตรกรรม พ.ศ.2562

สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ *สาขางานการผลิตพชื * ชั้น ปวช.1

ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2

รหัส รายวิชา นก ชม รหสั รายวชิ า นก ชม
12
20000-1201 ภาษาอังกฤษในชวี ิตจริง 1 2 20000-1202 ภาษาอังกฤษฟัง-พดู 22
23
20000-1501 หนา้ ทพ่ี ลเมืองและศีลธรรม 2 2 20000-1101 ภาษาไทยพนื้ ฐาน 12
23
20000-1602 เพศวถิ ีศึกษา 1 1 20000-1301 วิทยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต 24
24
25000-1002 องคก์ ารเกษตรกรในอนาคต 2 2 20000-1603 พลศึกษาเพ่อื พัฒนาสขุ ภาพ 22
23
20500-1005 ปฏบิ ัติงานเกษตร 2 4 20500-1003 หลักการเกษตร 02

20501-2001 หลักพชื กรรม 2 3 20500-1006 ทกั ษะวิชาชพี เกษตร 2

20501-2003 ช่างเกษตรเบื้องต้น 2 4 20501-2005 หลกั การเพาะเลย้ี งสัตว์นำ้ 16 29

20501-2002 หลักการเลยี้ งสตั ว์ 2 3 20501-2004 อตุ สาหกรรมเกษตรเบ้ืองตน้

20501-2503 บญั ชฟี ารม์ 2 4 20501-2006 ดนิ ปยุ๋ และน้ำเพอ่ื การเกษตร

20000*1508 วถิ ชี ีวิตพอเพยี ง 2 2 20000-2002 กจิ กรรมลกู เสือวสิ ามญั 2

20000-2001 กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 1 02 กจิ กรรม อกท.

กิจกรรม อกท. 2

รวม 18 31 รวม

สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ *สาขางานการผลติ พชื * ช้ัน ปวช.2

ภาคเรยี นที่ 3 ภาคเรียนท่ี 4

รหัส รายวชิ า นก ชม รหสั รายวชิ า นก ชม
20000-1203 12 20000-1102 ภาษาไทยเพ่อื อาชีพ 12
การอ่านสือ่ ส่ิงพิมพ์ภาษาองั กฤษ
20000-1305 วทิ ยาศาสตร์เพอื่ พัฒนาอาชีพ 2 3 20000-1204 การเขียนภาษาอังกฤษในชีวติ ประจำวัน 12
เกษตรกรรม
20000-1401 คณิตศาสตร์พ้ืนฐานอาชีพ 2 2 20001-1003 ธรุ กิจและการเป็นผู้ประกอบการ 23
20001-2001 23
20501-2011 คอมพวิ เตอร์และสารสนเทศเพอื่ งานอาชีพ 2 3 20501-2007 หลกั เศรษฐศาสตรเ์ กษตร 24
20501-2201 37
20501-2271 แทรกเตอร์และเครื่องจักรกลเกษตร 1 2 4 20501-2012 การขับรถยนต์ 24
20501-2209 24
20000-2003 การผลติ พืชผัก 3 7 20501-2205 การผลิตเหด็ 02
15 31
โครงการผลิตพืชผัก 2 4 20501*2278 โครงการผลิตพชื ไรด้ นิ

การปลูกผักไร้ดินเบ้อื งต้น 2 4 20501-2207 การขยายพันธุพ์ ืช

กิจกรรมองค์การวชิ าชพี 1 0 2 20000-2004 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 2

รวม 16 31 รวม

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่

43

Student Handbook

สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ *สาขางานการผลิตพชื * ช้ัน ปวช.3

ภาคเรียนท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 6

รหสั รายวิชา นก ชม รหสั รายวชิ า นก ชม
20000-1502 12
20000-1213 ประวัติศาสตรช์ าติไทย 1 1 20000-1208 ภาษาองั กฤษเตรยี มความพร้อมเพ่ือการทำงาน 22
20500-1001 22
20001-1001 ภาษาอังกฤษสำหรับงานเกษตร 1 2 20000-1406 สถิติการทดลอง 23
22
20501-2008 ความรู้เกี่ยวกับงานอาชพี เกษตร 2 2 20001-1002 พลงั งาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม 37
24
20501-2010 อาชีวอนามยั และความปลอดภยั 22 20501-2009 สารชีวภาพเพอ่ื การเกษตร 44
20001-1004 20500-1004 02
20501-8001 การเกษตรผสมผสาน 23 20501-2202 ความร้เู กี่ยวกบั มาตรฐานการผลติ และ
20501-2203 ผลติ ผลทางการเกษตร 18 28
20501-2204 การประยกุ ตใ์ ชค้ อมพิวเตอร์ในงานอาชพี 2 3
20501*2210 การผลติ พืชไร่
20000-2005
กฎหมายแรงงาน 1 1 20501-2208 การจัดสวนเบ้อื งตน้

ฝกึ งาน 4 0 20501-8501 โครงการ

การผลติ ไม้ผล 3 7 20000-2006 กจิ กรรมองค์การวิชาชีพ 4

การผลิตไมด้ อกไมป้ ระดับ 37

การผลติ พืชสมุนไพรพ้นื บ้าน 24

กจิ กรรมองค์การวชิ าชีพ 3 02

รวม 23 34 รวม

สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ *สาขางานการผลิตสัตว*์ ชั้น ปวช.1

ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2

รหัส รายวชิ า นก ชม รหัส รายวิชา นก ชม
20000-1201 12
20000-1501 ภาษาอังกฤษในชวี ติ จรงิ 1 2 20000-1202 ภาษาอังกฤษฟงั -พูด 22
20000-1602 23
25000-1002 หนา้ ทพ่ี ลเมืองและศีลธรรม 2 2 20000-1101 ภาษาไทยพ้ืนฐาน 12
20500-1005 23
20501-2001 เพศวถิ ีศึกษา 1 1 20000-1301 วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาทักษะชีวิต 24
20501-2003 24
20501-2002 องคก์ ารเกษตรกรในอนาคต 2 2 20000-1603 พลศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสขุ ภาพ 22
20501-2503 23
20000*1508 ปฏบิ ตั งิ านเกษตร 2 4 20500-1003 หลักการเกษตร 23
20000-2001 02
หลกั พชื กรรม 2 3 20500-1006 ทกั ษะวชิ าชพี เกษตร
18 30
ชา่ งเกษตรเบอ้ื งตน้ 2 4 20501-2005 หลกั การเพาะเลี้ยงสัตวน์ ้ำ

หลกั การเล้ียงสัตว์ 2 3 20501-2004 อตุ สาหกรรมเกษตรเบื้องตน้

บัญชีฟาร์ม 2 4 20501-2006 ดิน ปยุ๋ และนำ้ เพื่อการเกษตร

วิถีชีวติ พอเพียง 2 2 20501-2301 การผลิตอาหารสตั วเ์ บื้องตน้

กจิ กรรมลูกเสือวสิ ามญั 1 0 2 20000-2002 กิจกรรมลูกเสือวสิ ามัญ 2

กจิ กรรม อกท. 2

รวม 18 31 รวม

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คู่มอื นักศึกษา 44

สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ *สาขางานการผลิตสัตว*์ ชนั้ ปวช.2

ภาคเรียนท่ี 3 ภาคเรียนที่ 4

รหสั รายวชิ า นก ชม รหสั รายวชิ า นก ชม
20000-1203 12
การอ่านสอื่ สิ่งพิมพภ์ าษาองั กฤษ 12 20000-1102 ภาษาไทยเพ่อื อาชพี
20000-1305 23 20000-1204 การเขยี นภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน 12
วิทยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาอาชีพ 22 20001-1003 ธรุ กจิ และการเปน็ ผู้ประกอบการ
20000-1401 เกษตรกรรม 23
20001-2001 23
20501-2011 คณติ ศาสตรพ์ ืน้ ฐานอาชพี 24
20501-2303 37
20501-2372 คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพอ่ื งานอาชีพ 2 3 20501-2007 หลักเศรษฐศาสตร์เกษตร 24
20501-2302 24
20000-2003 แทรกเตอร์และเคร่ืองจักรกลเกษตร 1 2 4 20501-2012 การขบั รถยนต์ 02
15 31
การเลี้ยงสัตวป์ ีก 3 7 20501-2304 การเลี้ยงสุกร

โครงการเลยี้ งสัตวป์ กี 2 4 20501-2373 โครงการเลย้ี งสกุ ร

การสุขาภิบาลสตั ว์เบื้องตน้ 2 3 20501*…... การเลี้ยงเปด็

กิจกรรมองค์การวิชาชพี 1 0 2 2000-2004 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 2

รวม 16 30 รวม

สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ *สาขางานการผลติ สตั ว*์ ช้นั ปวช.3

ภาคเรยี นท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 6

รหัส รายวชิ า นก ชม รหสั รายวชิ า นก ชม
20000-1502 12
20000-1213 ประวัตศิ าสตร์ชา่ ติไทย 1 1 20000-1208 ภาษาอังกฤษเตรยี มความพร้อมเพื่อการทำงาน 22
20500-1001 22
20001-1001 ภาษาอังกฤษสำหรับงานเกษตร 1 2 20000-1406 สถิติการทดลอง 23
22
20501-2008 ความรูเ้ กี่ยวกับงานอาชพี เกษตร 2 2 20001-1002 พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม 24
23
20501-2010 อาชวี อนามัยและความปลอดภยั 22 20501-2009 สารชีวภาพเพือ่ การเกษตร 24
20001-1004 20500-1004 44
20501-8001 การเกษตรผสมผสาน 23 20501-2306 ความรเู้ กีย่ วกับมาตรฐานการผลติ และ 02
20501-2305 ผลิตผลทางการเกษตร
20501-2374 การประยกุ ตใ์ ชค้ อมพวิ เตอรใ์ นงานอาชีพ 2 3 19 28
20501-2311 พืชอาหารสัตว์
20000-2005
กฎหมายแรงงาน 1 1 20501-2302 การสุขาภิบาลสตั วเ์ บอ้ื งต้น

ฝึกงาน 4 0 20501-2312 การเล้ยี งสุกรขุน

การเลยี้ งโค 3 7 20501-8501 โครงงาน

โครงการเลีย้ งโค 2 4 20000-2006 กิจกรรมองค์การวชิ าชีพ 4

การเลยี้ งไก่ไข่ 24

กจิ กรรมองค์การวิชาชีพ 3 02

รวม 22 31 รวม

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่

45

Student Handbook

สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ *สาขางานช่างเกษตร* ชั้น ปวช.1

ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2

รหัส รายวชิ า นก ชม รหสั รายวชิ า นก ชม
20000-1201 12
20000-1101 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1 2 20000-1202 ภาษาอังกฤษฟัง-พูด 22
20000-1301 11
20000-1603 ภาษาไทยพื้นฐาน 2 2 20000-1501 หนา้ ทีพ่ ลเมอื งและศีลธรรม 22
20500-1003 24
20500-1005 วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทกั ษะชีวิต 2 3 20000-1602 เพศวิถีศึกษา 23
20501-2005 24
20501-2004 พลศึกษาเพอ่ื พัฒนาสุขภาพ 1 2 25000-1002 องค์การเกษตรกรในอนาคต 23
20501-2006 24
20501-2401 หลกั การเกษตร 2 3 20500-1006 ทกั ษะวชิ าชีพเกษตร 22
20000-2001 02
ปฏบิ ตั งิ านเกษตร 2 4 20501-2001 หลักพืชกรรม
2
หลักการเพาะเลย้ี งสตั วน์ ้ำ 2 4 20501-2003 ชา่ งเกษตรเบื้องตน้ 18 31

อตุ สาหกรรมเกษตรเบ้อื งต้น 2 2 20501-2002 หลกั การเล้ียงสตั ว์

ดิน ปุย๋ และน้ำเพื่อการเกษตร 2 3 20501-2503 บญั ชฟี าร์ม

งานฝกึ ฝีมอื ช่างเกษตร 2 4 20000*1508 วิถีชีวิตพอเพียง

กิจกรรมลกู เสือวสิ ามญั 1 0 2 20000-2002 กิจกรรมลกู เสือวสิ ามัญ 2

กจิ กรรม อกท. 2 กจิ กรรม อกท.

รวม 18 33 รวม

สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ *สาขางานชา่ งเกษตร* ช้ัน ปวช.2

ภาคเรยี นท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 4

รหสั รายวชิ า นก ชม รหัส รายวชิ า นก ชม
20000-1203 12
20000-1102 การอา่ นส่ือสงิ่ พิมพภ์ าษาองั กฤษ 1 2 20000-1204 การเขียนภาษาอังกฤษในชีวติ ประจำวัน 23
20001-1003 22
20501-2007 ภาษาไทยเพอื่ อาชีพ 1 2 20000-1305 วิทยาศาสตร์เพ่อื พัฒนาอาชพี เกษตรกรรม 23
20501-2012 24
20501-2405 ธรุ กจิ และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ 2 3 20000-1401 คณิตศาสตร์พื้นฐานอาชีพ 24
24
20501-2474 หลกั เศรษฐศาสตรเ์ กษตร 2 3 20001-2001 คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพื่องานอาชพี 24
02
20501-2404 การขบั รถยนต์ 2 4 20501-2011 แทรกเตอร์และเครื่องจักรกลเกษตร 1
20501-2408 15 28
20000-2003 ชา่ งเชื่อมโลหะ 24 20501-2402 งานเคร่อื งยนต์เลก็ เพอ่ื การเกษตร
โครงการบริการงานเชอื่ มโลหะ 24 20501-2472
งานไฟฟา้ ในฟารม์ 24 20501-2409 โครงการบริการงานเคร่ืองยนต์เลก็ เพ่ือ
การเกษตร

ระบบการใหน้ ้ำเพ่ือการเกษตร

เขยี นแบบเบื้องต้น 2 4 20000-2004 กจิ กรรมองค์การวชิ าชีพ 2

กิจกรรมองค์การวชิ าชพี 1 02

รวม 16 32 รวม

Chiang Mai College of Agriculture and Technology

คูม่ อื นกั ศกึ ษา 46

สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ *สาขางานชา่ งเกษตร* ชน้ั ปวช.3

ภาคเรยี นที่ 5 ภาคเรียนท่ี 6

รหัส รายวชิ า นก ชม รหสั รายวิชา นก ชม
20000-1213
20000-1406 ภาษาอังกฤษสำหรบั งานเกษตร 12 20000-1208 ภาษาอังกฤษเตรยี มความพร้อมเพอ่ื การทำงาน 12
20001-1002
20501-2009 สถติ ิการทดลอง 2 2 20000-1502 ประวัติศาสตร์ชาติไทย 11

20500-1004 พลงั งาน ทรพั ยากร และสง่ิ แวดลอ้ ม 2 2 20500-1001 ความรูเ้ กีย่ วกับงานอาชพี เกษตร 22

20501-8001 สารชีวภาพเพอ่ื การเกษตร 23 20001-1001 อาชวี อนามัยและความปลอดภัย 22
20501-2403 22 20501-2008
20501-2410 ความร้เู กย่ี วกับมาตรฐานการผลิตและ 40 20501-2010 การเกษตรผสมผสาน 23
20501-2411 ผลิตผลทางการเกษตร
20000-2005 การประยุกตใ์ ช้คอมพวิ เตอร์ในงานอาชีพ 2 3
ฝึกงาน

แทรกเตอรแ์ ละเคร่ืองจักรกลเกษตร2 2 4 20001-1004 กฎหมายแรงงาน 11

งานสำรวจเพ่ือการเกษตร 2 4 20501-2406 งานโรงเรือนและส่งิ กอ่ สรา้ งในฟาร์ม 24

เคร่อื งตน้ กำลังและการถ่ายทอดกำลงั 2 4 20501-2412 เคร่อื งสูบนำ้ 24

กจิ กรรมองค์การวิชาชีพ 3 0 2 20501-8501 โครงการ 44

20000-2006 กิจกรรมองค์การวิชาชพี 4 02

รวม 19 25 รวม 19 28

สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ *สาขางานอตุ สาหกรรมเกษตร* ชั้น ปวช.1

ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2

รหสั รายวิชา นก ชม รหัส รายวชิ า นก ชม
20000-1201 12
20000-1101 ภาษาอังกฤษในชวี ิตจรงิ 1 2 20000-1202 ภาษาอังกฤษฟัง-พดู 22
20000-1301 11
20000-1603 ภาษาไทยพืน้ ฐาน 2 2 20000-1501 หน้าทพ่ี ลเมืองและศีลธรรม 22
20500-1003 24
20500-1005 วิทยาศาสตร์เพอื่ พัฒนาทักษะชีวติ 2 3 20000-1602 เพศวถิ ีศึกษา 23
20501-2005 24
20501-2004 พลศึกษาเพ่ือพัฒนาสุขภาพ 1 2 25000-1002 องคก์ ารเกษตรกรในอนาคต 23
20501-2006 24
20000*1508 หลักการเกษตร 2 3 20500-1006 ทักษะวิชาชีพเกษตร 22
20501-2601 02
20000-2001 ปฏบิ ตั ิงานเกษตร 2 4 20501-2001 หลักพชื กรรม
2
หลกั การเพาะเล้ียงสตั วน์ ำ้ 2 4 20501-2003 ชา่ งเกษตรเบือ้ งตน้
18 31
อุตสาหกรรมเกษตรเบื้องตน้ 2 2 20501-2002 หลกั การเลี้ยงสัตว์

ดนิ ปยุ๋ และน้ำเพ่ือการเกษตร 2 3 20501-2503 บญั ชฟี าร์ม

วถิ ีชีวติ พอเพียง 2 2 20501-2602 การสุขาภิบาลอาหาร

การจัดการผลิตผลเกษตรเพอื่ การแปรรูป 2 3 20000-2002 กจิ กรรมลูกเสือวิสามัญ 2

กจิ กรรมลูกเสือวิสามญั 1 02 กิจกรรม อกท.

กิจกรรม อกท. 2

รวม 20 34 รวม

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี ชียงใหม่


Click to View FlipBook Version