The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สื่อและอุปกรณ์การรับส่งข้อมูลCommunication Media

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สื่อและอุปกรณ์การรับส่งข้อมูลCommunication Media

สื่อและอุปกรณ์การรับส่งข้อมูลCommunication Media

ส่ือและอุปกรณ์การรับส่งขอ้ มลู Communication Media

นาเสนอโดย
นางสาว สุพรรณี เฮียงจนั ทึก

ปวส 1/9 เลขที่ 12
เสนอ

ครูวริ ิยา สีขาว
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยนี ครราชสีมา

ส่ือหรือตวั กลางการส่ือสารขอ้ มลู

ส่ือหรือตวั กลางการสื่อสารขอ้ มลู (communication media) ถือวา่ เป็นองคป์ ระกอบสาคญั ของการ
ส่ือสารขอ้ มลู เพราะการเลือกใชส้ ่ือท่ีเหมะสม ทาใหเ้ กิดประสิทธิภาพในการสื่อสารขอ้ มูลและประหยดั
ตน้ ทุน ตวั กลางหรือส่ือที่ใชใ้ นการสื่อสารแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ

1.ส่ือนาขอ้ มลู แบบมีสาย
2.สื่อนาขอ้ มลู แบบไร้สาย(Wireless Media)

คุณสมบตั ิ : เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวประกอบดว้ ยสายทองแดงพนั เป็นเกลียว การพนั กนั เป็น
เกลียวทาเพื่อรบการรบกวนจากสญั ญาณแม่เหลก็ ไฟฟ้ าจากคู่สายขา้ งเคียงในสายเคบิลเดียวกนั หรือภายนอก
ลงได้

ความถ่ีในการส่งขอ้ มลู : 100 เฮิรตซ์ (Hz) ถึง 5 เมกะเฮิรตซ์ (MHz)สื่อนาขอ้ มูลแบบมีสาย
ส่ือนาขอ้ มลู แบบมีสาย

ส่ือนาขอ้ มูลแบบมีสาย (wired media) หรือเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ guided media ซ่ึงกค็ ือ ส่ือที่สามารถ
บงั คบั ใหส้ ัญญาณขอ้ มลู เคล่ือนท่ีไปในทิศทางที่กาหนดได้ แบ่งเป็น 3 ชนิด ดงั น้ี
1.สายคู่บิดเกลียว (twisted pair cable)

ลกั ษณะทางกายภาพ : สายคู่บิดเกลีบวเป็นสายสัญญาณไฟฟ้ านาขอ้ มูลไดท้ ้งั แอนะลอ็ กและดิจิทลั
ลกั ษณะคลา้ ยสายไฟทว่ั ไป ราคาไมแ่ พงมาก น้าหนหั เบา ติดต้งั ไดง้ ่าย ภายในสายคูบ่ ิดเกลียวจะ
ประกอบดว้ ยสายทองแดงพนั กนั เป็นเกลียว เป็นคู่ๆ ซ้ึงอาจจะมี 2,4 หรือ 6 คู่ สายคูบ่ ิดเกลียวแบ่งออกเป็ น 2
ประเภท ดงั น้ี
* แบบไมม่ ีช้นั โลหะห่อหุม้ เรียกวา่ unshielded twisted pair หรือเรียกยอ่ ๆวา่ สาย usp
* แบบมีช้นั โลหะห่อหุม้ เรียกวา่ shielded twisted pair หรือเรียกยอ่ ๆวา่ stp ซ่ึงภายในสายมีโลหะห่อหุม้
อีกช้นั โลหะจะทาหนา้ ท่ีป้ องกนั สญั ญาณรบกวนที่มาจากภายนอก
ความเร็วในการส่งขอ้ มลู : 1 ลา้ นบิตต่อวนิ าที (Mbps)

2.สายโคแอกเชียล (coaxial cable)
ลกั ษณะทางกายภาพ : สายโคแอกเชียล เป็ นสายสัญญาณไฟฟ้ านาขอ้ มลู ไดท้ ้งั แอนะลอ็ กและดิจิทลั

เช่นเดียวกบั สายคูบ่ ิดเกลียว ลกั ษณะคลา้ ยสายเคเบิคทีวี โดยภายในมีตวั นาไฟฟ้ าเป็นแกนกลางและห่อหุม้
ดว้ ยฉนวนเป็นช้นั ๆตวั นาโลหะทาหนา้ ที่ส่งสญั ญาณ ส่วนฉนวนทาหนา้ ที่ป้ องกนั สัญญาณรบกวนจาก
ภายนอก

คุณสมบตั ิ : สายโคแอกเชียลมีฉนวนห่อหุม้ หลายช้นั ทาใหป้ ้ องกนั สัญญาณรบกวนไดม้ ากกวา่ สายคู่
บิดเกลียว ส่งขอ้ มูลไดร้ ะยะทางไกล และมีช่วงความกวา้ งในการส่งขอ้ มูลมาก ทาใหส้ ่งขอ้ มูลดว้ ยอตั ราเร็ว
มีราคาสูงกวา่ สายคูบ่ ิดเกลียว

ความถี่ในการส่งขอ้ มูล : 100 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) ถึง 500 เมกะเฮิรตซ์ (MHz)
ความเร็วในการส่งขอ้ มูล : 1 ลา้ นบิตต่อวนิ าที (Mbps) ถึง 1 พนั ลา้ นบิตต่อวนิ าที (Gbps)

3.สายใยแกว้ นาแสง (optical fiber cable)
ลกั ษณะทางกายภาพ : สายใยแกว้ นาแสง ภายในสายประกอบดว้ ย แกนกลางทาจากใยแกว้ นาแสง ซ่ึง

เป็นท่อแกว้ หรือท่อซิลิกาหลอมละลาย และห่อหุม้ ดว้ ยวสั ดุป้ องกนั แสง สญั ญาณที่ส่งผา่ นสายใยแกว้ นาแสง
คือ แสง ดงั น้นั ขอ้ มูลจะถูกแปลงเป็นเเสงท่ีมีความเขม้ ของแสงตา่ งระดบั กนั เพอ่ื ส่งผา่ นสายใยแกว้ นาแสง

คุณสมบตั ิ : เนื่องจากสายใยแกว้ นาเเสงนาสัญญาณที่เป็นแสง ดงั น้นั เเสงมีการเคล่ือนท่ีเร็วมาก การส่ง
ขอ้ มูลผา่ นสายใยแกว้ นาเเสงจึงทาการส่งไดเ้ ร็วเทา่ กบั ความเร็วแสง ส่ิงรบกวนจากภายนอกมีเพยี งแสง
เท่าน้นั ดงั น้นั สัญญาณรบกวนจากภายนอกจึงมีนอ้ ยมาก แตร่ าคาของสายใยแกว้ นาแสงมีราคาสูง และการ
ติดต้งั เดินสายทาไดย้ ากกวา่ สายประเภทอ่ืนๆ ส่วนใหญ่การเดินสายจะเดินใส่ท่อลงใตด้ ินเพ่ือป้ องกนั แสง
รบกวน

ความเร็วในการส่งขอ้ มูล : 10 ลา้ นบิตต่อวนิ าที (Mbps) ถึง 2 พนั ลา้ นบิตต่อวนิ าที (gbps)

ขอ้ ดี
1. ราคาถูก
2. ง่ายตอ่ การใชง้ าน

ขอ้ เสีย
1. ความเร็วในการส่งขอ้ มูลต่า
2. ใชไ้ ดร้ ะยะทางส้ันๆ

ส่ือประเภทกระจายคล่ืน

เป็นส่ือแบบไร้สาย การรับส่งขอ้ มลู โดยทวั่ ไปจะผา่ นอากาศซ่ึงภายในอากาศน้นั จะมีพลงั งานคลื่น
แมเ่ หลก็ ไฟฟ้ าแพร่กระจายอยทู่ ว่ั ไป โดยจะตอ้ งมีอุปกรณ์ท่ีไวค้ อยจดั การกบั คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้ าเหล่าน้นั ซ่ึง
ปกติแลว้ จะมีอยู่ 2ชนิดดว้ ยกนั

1.แบบ Directional เป็นแบบกาหนดทิศทางของสัญญาณ ดว้ ยการโฟกสั คล่ืนน้นั ๆ ซ่ึงจาเป็นตอ้ งทาการ
รับส่งดว้ ยความระมดั ระวงั โดยจะตอ้ งอยใู่ นระนาบเดียวกนั

2.แบบ Omnidirection เป็นการกระจายสญั ญาณรอบทิศทาง ซ่ึงสญั ญาณที่ส่งออกไปน้นั จะกระจายหรือ
แพร่ไปทว่ั ทิศทางในทางอากาศ ทาใหส้ ามารถรับสัญญาณเหล่าน้ีไดด้ ว้ ยการต้งั เสาอากาศ การกระจาย
สัญญาณแบบรอบทิศทาง เช่น วทิ ยกุ ระจายเสียง หรือการแพร่ภาพสญั ญาณโทรทศั น์ ซ่ึงทาไดโ้ ดยการติดต้งั
สาอากาศทีวเี พ่ือรับภาพสญั ญาณโทรทศั นท์ ี่แพร่มาตามอากาศ

คล่ืนวทิ ยุ (Radio Frequency)

การส่ือสารโดยอาศยั คล่ืนวทิ ยุ จะกระทาโดยการส่งคลื่นไปยงั อากาศเพือ่ เขา้ ไปยงั เคร่ืองรับวทิ ยุ โดยการใช้
เทคนิคการกล้าสัญญาณ ท่ีเรียกวา่ มอดูเลต ดว้ ยการรวมคล่ืนเสียงที่เป็นคล่ืนไฟฟ้ าความถ่ีเสียงรวมกนั ทาให้
การสื่อสารดว้ ยวทิ ยกุ ระจายเสียงน้นั ไมจ่ าเป็นตอ้ งใชส้ าย อีกท้งั ยงั สามารถส่งคลื่นไดใ้ นระยะทางที่ไกล
ออกไปไดต้ ามประเภทของคลื่นน้นั ๆ

ไมโครเวฟ (Terrestrial Microwave Transmission)

คลื่นโทรทศั น์และคลื่นไมโครเวฟจะสามารถทะลุผา่ นไปยงั ช้นั บรรยากาศไปยงั นอกโลก คลื่นโทรทศั น์จะมี
ช่วงความถี่ อย2ู่ ความถ่ีท่ีนิยมใชง้ านคือ คล่ืน UHFและ VHF สาหรับคลื่นไมโครเวฟบนพ้ืนโลกจะเดินทาง
เป็นแนวเส้นตรงในระดบั สายตามิไดโ้ คง้ ไปตามเปลือกโลก

ดงั น้นั หากมีความตอ้ งการส่งขอ้ มูลในระยะไกลออกไป จึงจาเป็นตอ้ งมีจานรับส่งที่ทาหนา้ ท่ีทวนสญั ญาณ
เพื่อส่งตอ่ ในระยะไกลออกไปได้ ขอ้ เสียของสัญญาณไมโครเวฟคือ สามารถถูกรบกวนไดง้ ่ายจากคล่ืน
แมเ่ หลก็ ไฟฟ้ า รวมท้งั สภาพภูมิอากาศแปรปรวนกจ็ ะส่งผลตอ่ ระบบการสื่อสาร และเน่ืองจากการส่ือสาร
ดว้ ยไมโครเวฟบนพ้ืนดินน้นั จะมีขอ้ จากดั เรื่องของภูมิประเทศ เช่นภูเขาบดบงั สัญญาณ ดงั น้นั จึงเกิด
ไมโครเวฟบนฟ้ า ซ่ึงเรียกวา่ ดาวเทียม

โทรศพั ทเ์ ซลลูลาร์(Cellular Telephone)

ยคุ 1G (First-General Mobile Phone: Analog Voice) เป็นโทรศพั ทเ์ ซลลูลาร์ระบบแรกท่ีนามาใชง้ าน ซ่ึง
เป็นการส่งสญั ญาณไร้สายแบบ แอนาลอ็ ก

ยคุ 2G (Second-General Mobile Phone: Digital Voice) ไดม้ ีการพฒั นาระบบเซลลูลาร์แบบดิจิตอลข้ึน
เพ่ือใหส้ ามารถส่ือสารกนั ไดท้ ว่ั โลกและเป็นไปตามมาตรฐานเดียวกนั

ยคุ 3G (Third-General Mobile Phone: Digital Voice and Data) ไดม้ ีการพฒั นาเทคโนโลยกี ารส่ือสารของ
ระบบโทรศพั ทเ์ ซลลูลาร์อยา่ งเห็นไดช้ ดั โทรสัพทไ์ มใ่ ช่แคเ่ พียงใชง้ านเพ่อื ส่ือสารพูดคุยกนั เทา่ น้นั แต่
สามารถเขา้ ถึงระบบเครือขา่ ยได้ เช่นการเช่ือมต่อแบบไร้สายเพ่ือเขา้ สู่เครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพ่ือดาเนินธุ
กรรมบนเครือข่ายและมีแนวโนม้ ในอนาคตก็จะเป็นแบนดว์ ดิ ธ์ท่ีสูงข้ึนเพอื่ เขา้ สู่ยคุ 4G ต่อไป

อินฟราเรด (Infrared Transmission)

แสงอินฟราเรด มกั นามาใชค้ วบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้ า ดว้ ยการใชร้ ีโมตคอนโทรล ลาแสงอินฟราเรดจะเดินทาง
ในแนวเส้นตรง สามารถสะทอ้ นวตั ถุผวิ เรียบไดช้ ่วงระยะเพียงไมก่ ่ีเมตร

สาหรับขอ้ เสียของอินฟราเรดก็คือ แสงอินฟราเรดก็คือ แสงอินฟราเรดไม่สามารถส่ือสารทะลุวตั ถุทึบแสง
หรือกาแพงที่กีดขวางได้

บลูธูท(Bluetooth)

เทคโนโลยบี ลูธูท ถูกออกแบบมาเพือ่ ใชเ้ ป็นวธิ ีใหมข่ องการเช่ือมต่อหูฟังเขา้ กบั เซลลโ์ ฟนไดส้ ะดวกยง่ิ ข้ึน
มีขอ้ ดี ตรงท่ีลงทุนต่าและใชพ้ ลงั งานต่า มีความแตกตา่ งเมื่อเทียบกบั การส่ือสารดว้ ยแสงอินฟราเรดตรงที่
สามารถสื่อสารทะลุสิ่งกีดขวางหรือกาแพงได้ อีกท้งั ยงั เป็ นการสื่อสารไร้สายดว้ ยการแผค่ ลื่นออกเป็นรัศมี
รอบทิศทางดว้ ยคล่ืนความถี่สูง บลูธูท สามารถสื่อสารระหวา่ งอุปกรณ์หลายๆอุปกรณ์ดว้ ยกนั เช่น เคร่ือง
คอมพิวเตอร์ เครื่งพิมพ์ แฟกซ์ และรวมถึงเครื่องพีดีเอ

ขอ้ กาหนดความตอ้ งการของบลูธูทไดม้ ีการระบุไวว้ า่

ระบบตอ้ งสามารถนาไปใชง้ านไดท้ ว่ั โลก
-รองรับการใชง้ านท้งั ขอ้ มลู และเสียง หรือมลั ติมีเดียได้
-อุปกรณ์รับส่งคลื่นสญั ญาณวทิ ยุ จะตอ้ งใชพ้ ลงั งานไฟฟ้ าต่าและมีขนาดเล็ก เพื่อใหส้ ามารถนาไปบรรจุไว้
ในอุปกรณ์เคลื่อนท่ีอยา่ ง โทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ หูฟัง หรือเคร่ืองพีดีเอได้

**แตป่ ัญหาของบลูธูทก็มีในเร่ืองของการส่ือสารกบั อุปกรณ์หลายๆอยา่ งพร้อมกนั ในดา้ นของการ
ซิงโครไนซ์ขอ้ มูลกบั อุปกรณ์แตล่ ะตวั ท่ียงั ทางานไดไ้ ม่ดีนกั **

การพิจารณาตวั กลางส่งขอ้ มูล

การพิจารณาตวั กลางในการส่งขอ้ มูลน้นั จาเป็นอยา่ งยงิ่ ท่ีจะตอ้ งพิจารณาถึงเทคโนโลยที ่ีรองรับใน
อนาคต รวมถึงปัจจยั ดา้ นอื่นๆประกอบ ซ่ึงจะพิจารณาเกี่ยวกบั ดา้ นตา่ งๆดงั น้ี

1.ตน้ ทุน

2.ความเร็ว
3.ระยะทางและการขยาย

4.สภาพแวดลอ้ ม

5.ความปลอดภยั


Click to View FlipBook Version