The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลการดำเนินงาน อพ.สธ.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maymymayryy, 2022-05-01 22:27:25

สรุปผลการดำเนินงาน อพ.สธ.

สรุปผลการดำเนินงาน อพ.สธ.

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 1

คานา

โครงการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.) ได้ดาเนินมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2535 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสรา้ งความเข้าใจ
เห็นความสาคัญของพันธุกรรมพืชและทรพั ยากร เพื่อให้เกิดการรว่ มคิด รว่ มปฏิบัติ จนเกิดประโยชน์ถึง
มหาชนชาวไทยโดยให้มีระบบขอ้ มูลพันธกุ รรมพืชและทรพั ยากรสอื่ ถงึ กนั ได้ท่ัวประเทศ

กรมการพัฒนาชุมชน มภี ารกจิ หลักสาคัญในการส่งเสรมิ การพฒั นาทนุ ชมุ ชน เพ่ือสรา้ งความ
เข้มแข็งให้กับชุมชน ตามแผนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ.2560 – 2564 ยุทธศาสตร์ที่ 3
เสรมิ สรา้ งทนุ ชุมชนใหม้ ีประสิทธภิ าพและมีธรรมาภิบาล (ทนุ ธรรมชาติ ทุนกายภาพ ทุนมนษุ ย์ ทนุ สงั คม และ
ทุนการเงนิ ) โดยมเี ปา้ ประสงคใ์ หช้ มุ ชนสามารถจดั การทุนชมุ ชนเพอื่ เป็นฐานในการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคม
ซึง่ ในการดาเนินงานพฒั นาทุนชุมชนตามยุทธศาสตรด์ ังกล่าวของกรมการพัฒนาชุมชนมีความสอดคล้องกบั
การดาเนินโครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกมุ าร ี (อพ.สธ.) ตามแผนแมบ่ ท อพ.สธ. ระยะท่ี 5 ปีที่หก (1 ตลุ าคม พ.ศ.2559 – 30 กันยายน พ.ศ.2564)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี จัดทาเอกสารสรุปผลการดาเนินงานเล่มน้ีขึ้น โดยมี
วัตถุประสงค์เพ่ือให้ประชาชนท่ัวไป ตลอดจนผู้ที่สนใจในโครงการนี้ เกิดความเข้าใจในกระบวนการทางานของ
โครงการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
(อพ.สธ.) โดยหวังว่าจะเป็นประโยชน์ในการนาไปตามความเหมาะสมของหนว่ ยงาน

ศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชุมชนชลบุร ี
มนี าคม 2565

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพชื อนั เนือ่ งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 2

สารบัญ หน้า
1
ท่ีมาและความสาคัญในการสนองพระราชดาร ิ 1
สถานการณ์ด้านทรพั ยากรของไทย 5
พระราชดาร ิพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั เก่ยี วกับการอนุรกั ษ์ 8
พระราชดาร/ิ พระราโชวาท สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี 17
สญั ลักษณโ์ ครงการ 18
เป้าหมายและวตั ถุประสงค์ 21
กรอบการดาเนินงานและกิจกรรมของ อพ.สธ. 22
26
1. กรอบการเรยี นรทู้ รพั ยากร 30
2. กรอบการใชป้ ระโยชน์
3. กรอบการสรา้ งจติ สานกึ 37
การดาเนนิ งานสนองพระราชดารโิ ครงการอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรมพชื อันเน่ืองมาจาก
พระราชดารขิ องศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชมุ ชนชลบุร ี
ภาคผนวก

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 1

ทม่ี าและความสาคัญในการสนองพระราชดาร ิ

โครงการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมาร ี(อพ.สธ.) เป็นโครงการท่ีสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ีทรงสืบสาน
พระราชปณิธานในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชซงึ่ ทรงมีสาย
พ ร ะ เ น ต ร ย า ว ไ ก ล โ ด ย ท่ี พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ปร มิ น ท ร ม ห า ภู มิ พ ล อ ดุ ล ย เ ด ช ท ร ง ใ ห้ค ว า ม ส าคั ญ แ ล ะ เห็น
ความสาคัญของการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืช ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดดังในปี พ.ศ. 2503 ทรงอนุรกั ษ์ต้นยางนา
ในปี พ.ศ.2504 ทรงใหน้ าพรรณไมจ้ ากภมู ิภาคต่าง ๆ มาปลูกไวใ้ นสวนจติ รลดา เพื่อเปน็ แหลง่ ศกึ ษา และทรง
มีโครงการพระราชดารทิ ่ีเกี่ยวกับการอนุรกั ษ์พัฒนาทรพั ยากร พัฒนาแหล่งน้า การอนุรกั ษ์และพัฒนาดิน
อนุรกั ษ์ทรพั ยากรป่าไม้ เป็นการอนุรกั ษ์และพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติ ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 สมเด็จ
พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี ได้ทรงสืบทอดพระราชปณิธ านต่อโดยมีพระราชดารกิ ับ
นายแก้วขวัญ วัชโรทัย เลขาธกิ ารพระราชวัง ให้ดาเนินการอนุรกั ษ์พืชพรรณของประเทศ โดยพระราชทาน
ให้โครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา ฝ่ายวชิ าการเป็นผู้ดาเนินการจัดต้ั งธนาคารพืชพร รณ ขึ้น
ในปี พ.ศ. 2536 - 2549 โดยรบั ทุนสนับสนุนจากสานักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ (กปร.) และเป็นหน่วยงานข้ึนตรงกับเลขาธกิ ารพระราชวัง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539
และต่อมาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 สานักพระราชวังดาเนินการจัดสรรงบประมาณให้ และให้ อพ.สธ.
ดาเนนิ การแยกส่วนอยา่ งชดั เจน จากโครงการส่วนพระองคฯ์ สวนจติ รลดา การดาเนินงาน อพ.สธ. ดาเนินงาน
โดยอย่ภู ายใต้แผนแมบ่ ทซง่ึ เป็นระยะ ๆ ละ หา้ ปี ต้ังแต่ปี พ.ศ.2535 เปน็ ต้นมา

สถานการณ์ด้านทรพั ยากรของไทย

ในปัจจุบันทั่วโลกท่ีเห็นตระหนักถึงภัยธรรมชาติที่มีมากข้ึน เนื่องจากข่าวสารที่สามารถ
สื่อสารได้อย่างฉับไว สามารถให้ความกระจ่างและเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนอย่างรวดเรว็ ประเทศไทยมีแผนการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553 - 2557 ต้ังแต่วันท่ี 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
ซึง่ แผนดังกล่าวได้ใช้เป็นกรอบแนวทางการดาเนินงานเกี่ยวกับการจดั การภัยพิบัติของประเทศ แต่ถึงแม้
ประเทศไทยมแี ผนฯ ดังกล่าว แต่น่ันเปน็ การแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ ต่อภัยธรรมชาติที่เกดิ ข้ึน สิ่งที่ควรตระหนัก
มากทส่ี ุดคอื สาเหตขุ องการเกดิ ส่ิงเหล่านั้น อนั ได้แก่การดแู ลทรพั ยากรธรรมชาติทกี่ าลังถูกคกุ คามในหลาย ๆ
ลักษณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาคมโลกควรตระหนักและเหน็ ความสาคญั ในเรอ่ ื งคมุ้ ครองและใช้ประโยชน์
จากทรพั ยากร และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างมีประสิทธภิ าพและย่ังยืน ตระหนักถึงความสมบูรณ์
ทางด้านทรพั ยากรธรรมชาติในพื้นท่ีต่าง ๆ ตลอดจนรบั ทราบปัญหาและระดับความรุนแรงที่เกิดข้ึนจากการที่
ทรพั ยากรต่างๆ กาลงั จะสญู ส้ินไป ซง่ึ จะนาไปสกู่ ารจดั การการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและการใชป้ ระโยชน์
อย่างยัง่ ยืน

ข้อมูลของกรมป่าไม้ และกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช พบว่าพ้ื นท่ีป่าไม้ลดลง
อย่างต่อเนื่องอย่างรวดเรว็ ส่งผลทาให้พรรณพืชหลากหลายชนิดที่ยังไม่ได้ศึกษาและบางชนิดที่ยังไม่สารวจ

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 2

พบสูญพันธุไ์ ปจากส่ิงเหล่าน้ีไม่ได้เพียงแต่ทรพั ยากรชวี ภาพที่ประกอบด้วย พืช สัตว์ และจุลินทรยี ์จะโดน
ทาลายแต่ทรพั ยากรกายภาพ และทรพั ยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ที่เก่ียวข้องก็จะสูญหายไปด้วย
ปี พ.ศ.2553 จากรายงานสถานการณค์ ณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม พ.ศ.2553 ซงึ่ รวบรวมขอ้ มลู จากหน่วยงานราชการ
ที่เกี่ยวข้องนับแต่เรม่ ิ ปีงบประมาณ พ.ศ.2553 โดยคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติที่ต้องจดั ทารายงาน
เพ่ือเสนอต่อคณะรฐั มนตร ีและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือนาไปปฏิบัติให้สอดคล้องกับสถานการณ์น้ันพบวา่
ในส่วนของทรพั ยากรป่าไม้ซ่ึงจัดให้เป็นสิ่งแวดล้อมบนบกนั้น มีพ้ืนที่ป่าท้ังหมด 107,615,181 ไร่ หรอื
คิดเป็น 33.56% ของพน้ื ทปี่ ระเทศ และเป็นพ้ืนท่ปี า่ อนุรกั ษ์ 64,826,658 ไร่ หรอื คดิ เป็น 20.22% ของพ้ืนที่
ประเทศและพบว่ายังคงถูกบุกรุก ลักลอบตัดไม้ และถูกทาลายโดยไฟป่าอย่างต่อเน่ืองทุกปี ในขณะที่
กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มมีแผนเพมิ่ พื้นที่ป่าของประเทศไทยเป็น 40% ของพนื้ ท่ีท้ังหมด
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 - 2563 หรอื ในอีก 9 ปี โดยแบ่งออกเป็นพื้นท่ีอนุรกั ษ์ 25% ท้ังการขึ้นทะเบียนเป็น
มรดกของชาติอุทยานแห่งชาติฯ หรอื พืน้ ที่ปา่ สงวน เป็นต้น สว่ นอีก 15% จะผลักดันใหเ้ ป็นพนื้ ที่ปา่ เศรษฐกิจ
ต่อไปโดยมีหลักการลดการคุกคามการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ปลูกป่าเพื่อฟ้ ืนฟูสภาพป่า
ที่เส่ือมโทรมตลอดจนทาให้ความหลากหลายทางชีวภาพเกิดมูลค่าเพ่ิม โดยเฉพาะพืชสมุนไพรท่ีมีอย่าง
หลากหลายมาทาวจิ ยั และนาไปใช้ได้จรงิ ในระบบสาธารณสุขและผลักดันสมุนไพร และตารบั ยาแผนไทยหรอื
ยาสมนุ ไพรเขา้ สบู่ ัญชยี าหลักแห่งชาติโดยกระทรวงสาธารณสุขมากกวา่ 70 รายการ ซง่ึ ในจานวนยาเหล่าน้ัน
จาเป็นต้องใชส้ มุนไพรที่เป็นพืชวัตถุมากกว่า 200 ชนิด ผนวกกับธาตุวัตถุ สัตว์วัตถุและภูมิปัญญาในด้าน
การแพทย์แผนไทยในการผลิตยาแผนไทยให้มีคุณภาพและเป็นที่ยอมรับในการใช้ในโรงพยาบาลท่ัวไ ป
ในประเทศและต่างประเทศสิ่งเหล่าน้ีจะเกิดข้ึนต่อเม่ือเรายังมีทรพั ยากรน้ันๆ อยู่ ไม่ว่าจะเป็นทรพั ยากร
กายภาพ ชวี ภาพ และภูมิปัญญาในการใช้ทรพั ยากรน้ัน ๆ น่ันคือต้องทาให้เกิดการสื่อสาร การศึกษาเรอ่ ื ง
การอนุรักษ์ นาไปสู่ความมีจิตสานึกต่อการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรท่ีทุกคนเกิดความตระหนักและหวงแหน
ทรพั ยากรทมี่ อี ยู่

ในเรอ่ ื งของทรพั ยากรทางทะเล ประเทศไทยมียุทธศาสตรค์ วามม่ันคงแห่งชาติทางทะเล
(พ.ศ.2555 - 2559) ได้กาหนดให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของชาติ ในการแสวงประโยชน์จาก
ทะเล ในหว้ งเวลาดังกลา่ ว และมงุ่ เนน้ การสรา้ งเสถยี รภาพ ความปลอดภยั เสรภี าพ และสภาวะแวดล้อมที่เอ้อื
ต่อการดาเนินกิจกรรมทางทะเลของทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน จึงได้ดาเนินการจดั ตั้งคณะกรรมการนโยบาย
ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล เพ่ือผลักดันให้เกิดกฎหมายเพ่ือรกั ษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล โดยมี
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องซ่งึ ล้วนเป็นหน่วยงานที่รว่ มสนองพระราชดาร ิ อพ.สธ. เป็นส่วนใหญ่ เชน่ กองทัพเรอื
กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ ัง กรมประมง กรมป่าไม้ กรมอทุ ยานฯ และอีกหลายหน่วยงาน ซงึ่ ตระหนัก
ในปัญหาต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการดูแลรกั ษาทรพั ยากรและนาไปสู่การใช้ประโยชน์ เชน่ ปัญหาการทาลาย
ส่ิงแวดล้อมโดยมนุษย์ ปัญหาอุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับทางทะเล ปัญหาทรพั ยากรและการทาประมง
การบรหิ ารและการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติ ทางทะเล การแย่งชิงทรัพยากรในทะเลระหว่าง
กลุ่มผลประโยชน์ภายในชาติและระหว่างประเทศ รวมท้ังปัญหาอื่น ๆ ท่ีจะนาไปสู่การทาลายทรพั ยากรทางทะเล
ที่เป็นแหล่งรวมทรพั ยากรกายภาพ ทรพั ยากรชีวภาพ รวมถงึ ทรพั ยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของประเทศไทย
และเก่ียวพนั กบั ประเทศเพอื่ นบ้านอีกด้วย

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรมพืชอนั เนื่องมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 3

จากคาสั่งคณะหัวหน้าคณะรกั ษาและความสงบแห่งชาติ ที่ 62/2559 มีผลบังคับใชต้ ั้งแต่
วันท่ี 6 ตุลาคม 2559 เรอ่ ื ง "การปฏิรูประบบวจิ ัยและนวัตกรรมของประเทศ" โดยกาหนดให้มีสภานโยบาย
วจิ ัยและนวัตกรรมแห่งชาติ เพื่อทาหน้าที่ในการกาหนดทิศทาง นโยบาย ยุทธศาสตร์ รวมท้ังปรบั ปรุงระบบ
วจิ ัยและนวัตกรรมของประเทศ ตลอดจนกากับและติดตามการบรหิ ารจัดการ การจัดสรรงบประมาณ และ
ประเมินผลการดาเนินการ ให้เป็นไปอย่างเหมาะสมและมีเอกภาพ อันเป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหาการ
วจิ ัยของประเทศและปฏิรูปการบรหิ ารราชการ และกาหนดกรอบยุทธศาสตร์การวจิ ัยแห่งชาติ 20 ปี
ท้ัง 7 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ความมั่นคง การเกษตร อุตสาหกรรม สังคม การแพทย์และสาธารณสุข พลังงาน
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซงึ่ เป็นนโยบายและกาหนดยุทธศาสตร์ ท่ีต้องใชท้ ุนทางทรพั ยากรเป็น
พน้ื ฐานท้งั ส้นิ

อพ.สธ. จึงติดตามและประสานงานในมิติการดูแลรกั ษาทรพั ยากรของประเทศ ในแง่ของ
การสรา้ งความตระหนักนาไปสู่การสรา้ งจิตสานึกในการรกั ษาทรพั ยากรของประเทศที่นาไปสู่ความมั่นคง
ม่ังคั่ง และยั่งยืนที่ต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของทรพั ยากรของประเทศท่ีมีอยู่ ณ ตอนนี้ ช่วยกันอนุรกั ษ์ รกั ษา ฟ้ ืนฟู
พัฒนา และนาไปสู่การใชป้ ระโยชน์อย่างยั่งยืนให้กับประเทศไทย ซ่ึงตรงกับเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของ
อพ.สธ. และภายใต้การนอ้ มนา พระราชกระแส "การรกั ทรพั ยากร คือการรกั ชาติ รกั แผ่นดิน" มาสู่การปฏิบัติ
โดยแท้จรงิ จากสถานการณ์ของการเปล่ียนแปลงบรรยากาศ (climate change) ที่หน่วยงานภาครฐั และ
เอกชนให้ความสาคัญ น่ันเป็นสิ่งยืนยันของพระราชดารทิ ี่สอดคล้องกับสถานการณ์โลก ก่อนท่ีท่ัวโลกเรม่ ิ จะ
ตื่นตัว อันผลสบื เน่ืองมาจากการไม่รกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ นั่นคือความหลากหลายทางชีวภาพทที่ ั่วโลก ณ
ปัจจุบันนี้ล้วนตระหนักถึงการอนุรกั ษ์และการใช้ประโยชน์อย่างย่ังยืน นอกจากกฎหมายภายในของแต่ละ
ประเทศท่ีเข้ามามีส่วนบังคับใช้ ยังมีกฎหมายและอนุสัญญาระหว่างประเทศ ซึ่งเก่ียวข้องในเรอ่ ื งทรพั ยากร
ชีวภาพต่าง ๆโดยเฉพาะอนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพ หรอื CBD (Convention on Biological
Diversity) ซึ่งประเทศไทยได้มอบสัตยาบันสาร เพ่ือเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทาง
ชวี ภาพ เมอ่ื วนั ที่ 31 ตลุ าคม พ.ศ. 2546 มผี ลใหอ้ นุสัญญาฯ มีผลบงั คับใชก้ ับประเทศไทยในฐานะภาคีลาดับ
ท่ี 188 เม่อื วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2547 โดยเน้ือหาของอนวุ ตั ถปุ ระสงค์ของอนสุ ญั ญาฯ คอื อนุรกั ษ์ความ
หลากหลายทางชีวภาพใชป้ ระโยชน์ความหลากหลายทางชวี ภาพ และแบ่งปันผลประโยชน์ท่ีเกิดจากการใช้
ทรพั ยากรทางชวี ภาพอย่างยุติธรรมและเท่าเทยี ม ดังนั้นประเทศไทยในฐานะท่ีเป็นภาคีจึงต้องจัดทานโยบาย
มาตรการ และแผนการดาเนินงานข้ึนเอง ณ ขณะนี้ประเทศไทยกาลังดาเนินการอยู่โดยเรง่ ด่วนในทกุ ๆ ด้าน
การที่ประเทศไทยกาลังพิจารณาการให้สัตยาบันเข้าเป็นภาคีในสนธสิ ัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยทรพั ยากร
พันธุกรรมพืชเพ่ืออาหารและการเกษตร ค.ศ.2001 (2544) (International Treaty on Plant Genetic
Resources for Food and Agriculture 2001, ITPGR) ซึ่ ง เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ท รัพ ย า ก ร ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ
มีสาระสาคัญคือ ทรัพยากรพืชอาหารและการเกษตร 64 รายการ (items) จานวน 79 สกุล (genus)
ประมาณ 3,300 ชนิด (species) ที่แนบท้ายสนธสิ ัญญาฯ ซึง่ เป็นของหน่วยงานภาครฐั จะตกเป็นของพหุภาคี
ซง่ึ รวมไปถงึ ข้อมูลต่างๆ ท่ีอยใู่ นหนว่ ยงานของรฐั ด้วยเหตุนี้เราอาจสูญเสียทรพั ยากรของประเทศ เนอ่ื งมาจาก
เมอ่ื ต่างชาติได้นาไปศึกษาวจิ ยั และพฒั นา แลว้ นาไปจดสิทธบิ ัตรเป็นพืชพนั ธุใ์ หม่ อาจสง่ ผลใหป้ ระเทศไทยไม่ได้
เป็นเจา้ ของสิทธใิ นการใช้ทรพั ยากรน้ันๆ เน่ืองจากอาจถูกจดสิทธบิ ัตรโดยต่างชาติไปแล้ว จงึ เป็นอันตราย
อย่างยิ่งในเรอ่ ื งของการสูญเสียความรูแ้ ละภูมิปัญญาพ้ืนบ้านให้กับต่างประเทศ โดยที่ประเทศไทยยังไม่มี

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 4

ความพรอ้ มของมาตรการเพ่ืออนุรกั ษ์และใชป้ ระโยชนค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งย่ังยนื การเขา้ ถึงและ
แบง่ ปันผลประโยชนท์ รพั ยากรพนั ธุกรรมพชื จะเหน็ ได้วา่ การเปน็ เจา้ ของทรพั ยากร แต่ไม่สามารถใชป้ ระโยชน์
ได้อย่างเต็มที่ จงึ เป็นอันตรายอย่างยิ่งในอนาคต การนี้ อพ.สธ. ได้เสนอกับคณะผู้วจิ ยั การศึกษาผลกระทบ
สนธิสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยพันธุกรรมพืชเพ่ืออาหารและการเกษตร และคณะกรรมการพิจารณา
กระบวนการให้สัตยาบันสนธิสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยพันธุกรรมพืช เพ่ืออาหารและการเกษตรท่ีมี
กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตลอดจนหน่วยงานที่เก่ียวข้อง คือให้ประเทศไทยมี
3 สถานะ คือ ภาครฐั ,ภาคเอกชน และส่วนพระองค์ โดยท่ี อพ.สธ. และหน่วยงานที่เข้ารว่ มสนองพระราชดาร ิ
จัดเป็นหน่วยงานส่วนพระองค์ ดังนั้นหากต่างประเทศจะนาข้อมูลหรอื พันธุกรรมใดๆ ไปใช้ ต้องขอพระราชทาน
ข้อมูลหรอื พันธุกรรมนั้น ๆ ก่อน และขึ้นอยู่กับพระราชวนิ ิจฉัยและเมื่อเดือนตุลาคม 2553 จาก CBD
ทาให้เกิด "พธิ สี ารนาโง่ยา" ว่าด้วยการเขา้ ถึงทรพั ยากรพันธุกรรมและการแบ่งปันผลประโยชนท์ ี่เกิดขนึ้ จากการใช้
ประโยชน์ทรพั ยากรพันธุกรรมอย่างเท่าเทียมและยุติธรรม" เป็นพิธสี ารภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลาย
ทางชวี ภาพได้รบั การรบั รองจากภาคี CBD ในการประชมุ สมัชชาภาคี CBD สมัยที่ 10 สบื เนือ่ งจากวัตถุประสงค์ข้อ
ที่ 3 คอื การแบง่ ปันผลประโยชน์ทเ่ี กิดจากการใชท้ รพั ยากรทางชีวภาพอยา่ งยตุ ิธรรมและเท่าเทียม

พิธีสารนาโงยาได้ รับการพัฒนาขึ้นบนพื้นฐานแ นวคิดท่ีว่าประเทศมีสิทธิอธิปไตย
ในทรพั ยากรธรรมชาติท่ีอยู่ในขอบเขตอานาจของตน ดังนั้นการเข้าถึงทรพั ยากรพันธุกรรมในประเทศใด
จะต้องได้รบั อนุญาตตามกฎหมายภายในประเทศน้ันๆ เมื่อได้รบั อนญุ าตใหเ้ ข้าถึงทรพั ยากรในประเทศนน้ั ๆ
แล้ว จะต้องมีการเจรจาต่อรองเพื่อทาข้อตกลงในการแบ่งปันผลประโยชน์ท่ีเกิดข้ึนจากการใช้ร่วมกัน
โดยผลประโยชน์ท่ีแบ่งปันเป็นได้ทั้งผลประโยชน์ท่ีเป็นตัวเงนิ เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าสิทธิ เงนิ ทุนการวจิ ัย
และผลประโยชน์ที่ไม่เป็นตัวเงนิ เช่น การทาวจิ ัยรว่ ม การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการเป็นเจ้าของรว่ มใน
สิทธบิ ัตรพิธสี ารฉบับนี้ นอกจากจะครอบคลมุ การใชท้ รพั ยากรพนั ธุกรรมหรอื ทรพั ยากรชีวภาพไมว่ า่ จะเป็นพืช
สัตว์ จุลินทรยี ์ และส่วนประกอบของส่ิงมีชวี ติ จากพิธสี ารนี้ประเทศที่ลงนามและใหส้ ัตยาบันน้ันก็เพ่ือแสดง
เจตนารมณ์ว่าจะมีส่วนรว่ มในการดาเนินการให้มีการแบ่งปันผลประโยชน์ท่ีเกิดข้ึน จากการใช้ทรพั ยากร
พนั ธุกรรมใหเ้ ปน็ ผู้เปน็ เจา้ ของทรพั ยากรเท่าน้ัน

โดยทั่วไปจะมกี ารเข้าถึงทรพั ยากรต่าง ๆ (พืช สัตว์ จุลินทรยี ์) เพื่อนาไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ
ไมว่ ่าจะเป็นการวจิ ยั พัฒนาเป็นผลิตภณั ฑ์ หรอื ใชใ้ นอุตสาหกรรมอาหาร การเกษตร ยา หรอื เครอ่ ื งสาอาง และ
ยังครอบคลุมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นหรอื องค์ความรูใ้ นการนาทรพั ยากรชีวภาพน้ันไปใช้ให้เกิดประโยชน์
ประเทศไทยได้ลงนามไปแล้ว และกาลังอยู่ในกระบวนการให้สัตยาบันอยู่ แต่ถึงแม้ประเทศไทยจะไม่ลง
สตั ยาบันสมาชกิ CBD กาหนดวา่ ถา้ มีการใหส้ ตั ยาบนั ในพิธสี ารนี้ แค่ 50 ประเทศ พธิ สี ารนจี้ ะมีผลใชก้ บั ผทู้ ล่ี ง
นามไปแลว้ ทนั ที

ถึงแม้พิธสี ารนาโงยาบอกว่าจะให้สิทธกิ ับประเทศ ในการกาหนดกฎเกณฑ์ในการเข้าถึง
ทรพั ยากรของแต่ละประเทศเอง ซงึ่ อาจยังมชี อ่ งโหว่ในการเขา้ ถึงทรพั ยากรในประเทศไทย โดยเฉพาะการเข้า
มาในรูปแบบของนักท่องเท่ียว แล้วสกัดดีเอ็นเอหรอื สารพันธุกรรมและนากลับไปใช้ประโยชน์ได้เลย ทาให้
การอ้างสิทธใิ นการเป็นเจ้าของทรพั ยากรท้องถ่ินเดิมน้ันสาคัญ ดังน้ันก่อนการเปิดประเทศเข้าสู่ประชาคม
อาเซยี น (ASEAN COMMUNITY) หนึ่งในมาตรการเตรยี มพรอ้ มนั่นคือ เรอ่ ื งของการขึ้นทะเบียนทรพั ยากร

โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 5

ท้องถ่นิ โดย อพ.สธ. ได้เชญิ ชวน องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ให้มาเข้ารว่ มสนองพระราชดารใิ นเรอ่ ื งของงานสารวจ
และจัดทาฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน (ทรพั ยากรกายภาพ ทรพั ยากรชีวภาพ ทรพั ยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา)
เพื่อบันทึกและขึ้นทะเบียนทรพั ยากรท้องถ่ินของชุมชนในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินน้ันๆ เพ่ือบันทึกความเป็น
เจ้าของและมีสิทธ์เิ จรจาต่อรองผลประโยชน์เน่ืองจากการใช้ทรพั ยากรท้องถ่ินที่เป็นเจ้าของ ซ่งึ งานสารวจและ
จดั ทาฐานทรพั ยากรท้องถนิ่ ถอื เป็นภาระหน้าท่ีท่ี อปท. ต้องทราบในเรอ่ ื งขอ้ มูลเหล่านี้

ในปีงบประมาณ พ.ศ.2560 (ตุลาคม 2559 - กันยายน 2560) อพ.สธ. ได้ดาเนินกิจกรรม
ต่างๆ ให้สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รบั การสนับสนุนจากสานักพระราชวัง โดยดาเนินการต่อเนื่องจาก
ปงี บประมาณท่ผี ่านมา รวมท้ังการแนะนาและประสานงานกบั หนว่ ยงานทร่ี ว่ มสนองพระราชดารถิ ึงงบประมาณ
และการดาเนินงานในปี 2560 ให้เป็นไปตามกรอบแผนแม่บทระยะ 5 ปีท่ีหกของ อพ.สธ. โดยเน้นในเรอ่ ื ง
การทาฐานทรพั ยากรทอ้ งถนิ่ โดยประสานองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ สามารถสมคั รมารว่ มสนองพระราชดาร ิ
ได้โดยตรงกับ อพ.สธ. และรว่ มดาเนินงานฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ทก่ี าหนดไวข้ า้ งต้น โดยท่ี อพ.สธ. สนับสนุนและรว่ มมือกบั หนว่ ยงานท่รี ว่ มสนองพระราชดารจิ ดั ทาแผนปฏิบัติ
งานในกิจกรรมต่าง ๆ ภายใต้ภายแม่บทในแต่ละปีงบประมาณ ตลอดระยะเวลา 5 ปี ให้สอดคล้องกับ
แนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. หน่วยงานทีร่ ว่ มสนองพระราชดารจิ ดั ทาแผนปฏิบัติ
งานประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยงานของตนให้ชดั เจน โดยระบุสาระสาคัญในการดาเนินงาน เช่น พ้ืนท่ี
เป้าหมายในการดาเนินงาน วธิ ีการและข้ันตอนการดาเนินงาน และการบรหิ ารจัดการ โดยเฉพาะเร่อื ง
ผู้รบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิงานและงบประมาณในการดาเนนิ งาน โดยมี อพ.สธ. เปน็ ผสู้ นับสนนุ แผนปฏิบตั ิงาน
ประจาปี / โครงการ ภายใต้แผนแมบ่ ทของ อพ.สธ. ไปยงั แหล่งทนุ ต่าง ๆ ต่อไป

ในฤดูรอ้ นเกือบทุกปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จแปรพระราชฐาน ไปประทับแรม
ณ วังไกลกังวล หัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ ในระยะแรกเสด็จ พระราชดาเนินโดยรถไฟ ต่อมาเสด็จฯ

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพชื อนั เนื่องมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 6

โดยรถยนต์ เม่ือเสด็จฯ ผ่านอาเภอท่ายาง จงั หวัดเพชรบุร ีสองข้างทางมีต้นยางขนาดใหญ่ข้ึนอยู่มาก ทรงมี
พระราชดารทิ ่ีจะสงวนป่าต้นยางนี้ไว้เป็นสวนสาธารณะ ด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ แต่ไม่ สามารถ
จดั ถวายได้ตามพระราชประสงค์ เพราะมรี าษฎรเข้ามาทาไรท่ าสวนใน บรเิ วณนนั้ มาก จะต้องจา่ ยเงนิ ทดแทน
ในการหาทใี่ หมใ่ นอตั ราที่ไมส่ ามารถจดั ได้

เม่ือไม่สามารถดาเนินการปกปักต้นยางนาท่ีอาเภอท่ายางได้ จึงทรงทดลองปลูกต้นยางเอง
โดยทรงเพาะเมล็ดยางที่เก็บจากต้นยางนาในเขตอาเภอท่ายาง ในกระถางบนพระตาหนักเป่ ียมสุข
วังไกลกังวล หัวหิน และทรงปลูกต้น ยางนาเหล่าน้ันในแปลงทดลองใกล้พระตาหนักเรอื นต้น สวนจติ รลดา
พร้อมข้าราชบรพิ าร เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2504 จานวน 1,250 ต้น แม้ต้นยางท่ีท่ายางสู ญสิ้น
แต่พันธุกรรมของยางนาเหล่านั้นยังอนุรกั ษ์ ไว้ได้ที่สวนจิตรลดา ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นา
พรรณไม้จากภาคต่างๆ ทั่วประเทศ มาปลูกในบรเิ วณท่ีประทับ สวนจิตรลดา เพื่อให้เป็นท่ีศึกษาพรรณไม้
ของนสิ ิตนกั ศกึ ษาแทนทจี่ ะต้องเดินทางไปทั่วประเทศ

ในวันพืชมงคล วันท่ี 9 พฤษภาคม 2528 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว พรอ้ มด้วยสมเด็จ
พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ีเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเปิดอาคารห้องปฏิบัติการเพาะเลย้ี ง
เนื้อเยื่อพืชท่ีโครงการส่วน พระองค์ฯ สวนจิตรลดา และทรงมีพระราชกระแสให้อนุรกั ษ์ต้นขนุนหลัง
พระตาหนัก ไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง ความสาเรจ็ ของการใช้วธิ ีการเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อพืช
ขยายพันธุข์ นุนไพศาลทักษิณ นาไปสู่การขยายพนั ธุต์ ้นไมท้ ี่มลี ักษณะพิเศษ ซึง่ เป็นเอกลักษณ์ของพระราชวงั
ต่างๆ แล้วอนุรกั ษ์พนั ธุไ์ ม้อีกหลายชนิด ได้แก่พุดสวน มณฑา ยี่หุบ ที่อยู่ในพระบรมมหาราชวัง และสมอไทย
ในพระท่ีน่ังอัมพรสถานมงคล ในขณะเดียวกันก็ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีการเก็บรกั ษาพันธุกรรมของพืช
เอกลักษณ์ใน สภาวะปลอดเช้ือในอุณหภูมิต่า เพื่อให้สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ในอนาคต จนทาให้เก็บ
รกั ษาเนื้อเยื่อขนุนที่อุณหภูมิ – 196 องศาเซลเซียส ในไนโตรเจนเหลว มีเนื้อเย่ือขนุนท่ีรอดชีวติ อยู่ได้
23 เปอรเ์ ซน็ ต์

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอนั เน่อื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 7

ทรงมีพระราชดารใิ ห้อนุรกั ษ์และขยายพันธุ์หวายชนิดต่างๆ โดยการ เพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ
เพ่ือเตรยี มการแก้ปัญหาการขาดแคลนหวายในอนาคต หวายท่ีมีคุณค่าทางเศรษฐกิจและเป็นเป้าหมาย
คือหวายข้อดา หวายน้าผึ้ง หวายตะค้าทอง หวายหอม หวายแดง หวายโป่ง หวายกาพวน หวายงวย และ
หวายข้ีเส้ียน เมื่อขยายพันธุ์ได้ต้นที่สมบูรณ์ของหวายข้อดาและหวายตะค้าทองแล้ว ก็ได้พระราชทาน
พระบรมราชานุญาตให้ทาการทดลองปลูกต้นหวาย เหล่าน้ันในป่ายางนาใกล้พระตาหนักเรอื นต้ น
สวนจติ รลดา และมีพระราชดารใิ ห้ ทดลองปลูกที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ จังหวัดเชียงใหม่ และ
ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นา ภูพานฯ จงั หวัดสกลนคร อีกด้วย

การดาเนินการเก่ียวกับหวายได้มีการขยายผลไปสู่ความรว่ มมือระหว่างโครงการส่วนพระองค์ฯ
สวนจติ รลดา สานักพระราชวัง กับส่วนราชการจงั หวัดตรงั จัดทาแปลงขยายพันธุห์ วายข้ึนในพื้นที่ 1,000 ไร่
ที่ตาบลปะเหลียน อาเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง เม่ือปี พ.ศ. 2532 และได้น้อมเกล้าฯ ถวายเป็นสวน
เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซ่งึ นอกจากจะเป็นสถานท่ีอนุรกั ษ์พันธุห์ วายชนิดต่างๆ ของ
ประเทศไทยแล้วยงั ได้ใช้เป็นสถานศึกษาวจิ ยั และขยายพันธุห์ วาย เศรษฐกิจเพื่อให้ผลประโยชน์ถึงประชาชน
อย่างกวา้ งขวางด้วย

ในปี พ.ศ. 2529 นอกจากมีพระราชดารใิ ห้มีการอนุรกั ษ์พันธุห์ วายแล้ว ยังได้จัดทาสวนพืช
สมุนไพรข้ึนในโครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจติ รลดา เพื่อรวบรวม พืชสมุนไพรมาปลูกเป็นแปลงสาธติ และ
รวบรวมข้อมูลสรรพคุณ ตลอดจนการนาไป ใชป้ ระโยชน์กับท้ังให้มีการศึกษาการขยายพันธุพ์ ืชสมุนไพรโดย
การเพาะเลีย้ ง เนอื้ เย่อื และเผยแพรค่ วามรทู้ ่ไี ด้ส่ปู ระชาชน

โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 8

เม่ือเดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๕ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี ทรงมี
พระราชดารกิ ับนายแก้วขวัญ วัชโรทัย เลขาธิการพระราชวังและผู้อานวยการโครงการส่วนพระองค์ฯ
สวนจิตรลดา ให้อนุรักษ์พืชพรรณของประเทศและดาเนินการเป็นธนาคารพืชพรรณ โครงการอนุรักษ์
พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดารฯิ ได้เรม่ ิ ดาเนินการ โดยฝ่ายวชิ าการโครงการส่วนพระองค์ฯ สาหรบั
งบประมาณดาเนินงานน้ันสานักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาร ิ ได้สนับสนุนให้กับโครงการส่วนพระองค์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดารฯิ โดยจัดสร้างธนาคารพืชพรรณ ข้ึน ใน
ปี พ.ศ.๒๕๓๖ สาหรบั เก็บรกั ษาพนั ธุกรรมพืชที่เป็นเมลด็ และเนือ้ เยอ่ื และสนับสนนุ งบประมาณดาเนินงานทุก
กิจกรรมของโครงการ พ.ศ ๒๕๓๖ จนถึงปัจจุบัน ทรงมีพระราชปรารภพระราชดาร ิ และพระราชทาน
แนวทางการดาเนินงานโครงการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืชกับนายพิศิษฐ์ วรอุไร และนายพรชัย จุฑามาศ
ในพระราชวโรกาสต่างๆ สรปุ ดังน้ี

➢ ทรงมีพระราชปรารภถึงการเสด็จพระราชดาเนินผ่านไปทางจังหวัดนนทบุร ี ทรงเห็นมีพันธุไ์ ม้เก่าๆ
อยู่มาก เช่น ทุเรยี นบางพันธุอ์ าจยังคงมีลักษณะดีอยู่แต่สวนเหล่าน้ีจะเปลี่ยนสภาพไปจึงทรงห่วงว่าพันธุไ์ ม้
เหล่าน้นั จะหมดไป

➢ พระราชทานแนวทางการอนรุ กั ษ์พันธกุ รรมพืช ควรอนุรกั ษพ์ นั ธทุ์ ่ีไมใ่ ชพ่ ชื เศรษฐกิจไวด้ ้วย
➢ ตามเกาะต่างๆ มีพชื พรรณอย่มู าก แต่ยงั ไม่มผี ู้สนใจเท่าไร จงึ นา่ จะมกี ารสารวจพืชพรรณตามเกาะด้วย
➢ พระราชทานแนวทางการสอนและอบรมให้เด็กมีจติ สานึกในการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืช ควรใชว้ ธิ กี าร
ปลูกฝังให้เด็กเห็นความงดงาม ความน่าสนใจของพืชพรรณ และเกิดความปิติที่จะทาการศึกษาและอนุรกั ษ์
พืชพรรณต่อไป การใช้วธิ กี ารสอนการอบรมท่ีให้เกิดความรูส้ ึกกลัวว่าหากไม่อนุรกั ษ์แล้วจะ เกิดผลเสียเกิด
อนั ตรายแก่ตนเอง จะทาใหเ้ ด็กเกิดความเครยี ด ซง่ึ จะเปน็ ผลเสยี ต่อประเทศในระยะยาว
➢ ทรงมีพระราชดารใิ ห้ทาศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมพืช โดยมีโปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ี่สามารถแสดง
ลักษณะของพชื ออกมาเป็นภาพสีได้ เพื่อสะดวกในการอา้ งองิ คน้ ควา้

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 9

➢ พระราชทานแนวทางการดาเนนิ งานเกยี่ วกับสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
➢ การนาต้นไมม้ าปลกู เพม่ิ เติมให้เด็กรจู้ กั นัน้ ต้องไม่มพี ืชเสพติด
➢ ควรใหเ้ ด็กหดั เขยี นตารา จากสง่ิ ทีเ่ รยี นรจู้ ากสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
➢ ควรนาตัวอยา่ ง ดิน หนิ แร่ มาแสดงไวใ้ นห้องพพิ ธิ ภัณฑ์พชื ด้วย เพราะในจงั หวดั ตากมีหนิ แรอ่ ย่มู ากชนิด

➢ ทรงให้อนุรักษ์ต้นหว้าใหญ่ในบรเิ วณวังไกลกังวล หัวหิน ซ่ึงเข้าใจว่าจะเป็นต้นหว้าท่ีข้ึนอยู่ท่ีน่ัน
ก่อนก่อสรา้ งวัง

➢ ทรงให้โครงการอนุรกั ษพ์ ันธุกรรมพืชฯ ดาเนนิ การอนรุ กั ษพ์ ันธุกรรมพชื ท่เี กาะละวะ จงั หวัดพงั งา
➢ ทรงให้ทาการสารวจข้ึนทะเบียนรหัสต้นพืชท่ีขึ้นอยู่เดิม ในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจาก

พระราชดาร ิ
➢ ทรงให้วดั พกิ ัดตาแหน่งของต้นพืชทีข่ ้นึ ทะเบียนไว้
➢ ทรงใหร้ วบรวมพนั ธุกรรมหวายชนดิ ต่างๆ
➢ ทรงให้มีการปลกู รกั ษาพันธุกรรมพืชไวใ้ นศนู ย์ศึกษาการพฒั นาพกิ ุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ

➢ ทรงใหห้ าวธิ ดี าเนินการให้มขี ้อมลู ทจี่ ะได้รวู้ า่ ใครทาอะไรเกย่ี วกบั พนั ธุกรรมพืชของหน่วยงานต่างๆ ให้สอ่ื
ถึงกันในระบบเดียวกันได้

➢ ทรงให้หาวธิ กี ารท่ีจะทาให้เด็กสนใจในพืชพรรณต่างๆ และเกิดความสงสัยต้ังคาถามตนเองเก่ียวกับ
พืชพรรณท่ีตนสนใจน้ันซึ่งจะนาไปสู่การศึกษาทดลองค้นคว้าวจิ ัยอย่างง่ายๆ ท่ีโรงเรยี นที่ไม่มี
ห้องปฏิบัติการวทิ ยาศาสตรด์ ีนัก ก็สามารถดาเนินการได้ หากอาจารย์ในโรงเรยี นต่างๆ ทาได้ดังน้ี
ก็จะชว่ ยให้เด็กเปน็ คนฉลาด

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 10

พระราชทานพระราโชวาทให้คณะกรรมการอานวยการ คณะกรรมการบรหิ าร ผู้รว่ มสนอง
พระราชดารแิ ละผ้ทู ูลเกล้าฯ ถวาย ทีเ่ ฝ้าทลู ละอองพระบาทในการประชุมประจาปีโครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืช
อันเน่ืองมาจากพระราชดารฯิ "ข้าพเจา้ ยินดีและขอบคุณทุกคนท่ีเข้ามาประชุมกันพรอ้ มหน้าในวันน้ีดังที่ได้
กลา่ วมาแล้ววา่ โครงการอนรุ กั ษพ์ ันธุกรรมพชื ฯ นี้ได้ดาเนินการมาเปน็ เวลาถึง ๕ ปี แล้วและคดิ กนั วา่ จะทาต่อ
ในชว่ งที่สองอีก ๕ ปี และคิดมาใหม่ว่าในข้ันที่สองน้ีจะทาในลักษณะไหน ที่จรงิ ในเบื้องต้น นั้นข้าพเจ้าก็มิได้
เป็นนักพฤกษศาสตรห์ รอื ศึกษาทางน้ีมาโดยตรง ถึงแม้ศึกษาตอนน้ีก็คงจะสายไปเสียแล้ว เพราะว่าขณะน้ี
ไม่สามารถจาชื่อคน สัตว์ ส่ิงของ ได้มากเท่าท่ีควร แต่ว่าเหตุที่สนใจพืชพรรณและทรพั ยากรของประเทศเรา
มานานแล้วโดยเฉพาะอย่างย่งิ ทางพืช เหตผุ ลท่ศี ึกษา เพราะถือวา่ งา่ ยต่อการศึกษามากกวา่ อย่างอ่นื เวลาไปไหน
ท่ีมีคนตามกันเยอะแยะ ถ้าจะศึกษาสัตว์สัตว์ก็ว่งิ หนีหมด แต่พืชนั้นเขาอยู่ให้ศึกษาได้ พอศึกษาไปสักพักก็
เกดิ ความสนใจว่า นอกจากทางกรมปา่ ไม้ซงึ่ ได้ติดต่อกันในครงั้ แรกในเบ้ืองต้นเพราะว่าชอบไปท่องเทย่ี วในท่ี
ต่างๆ ตามป่าเขาดวู า่ เมืองไทยมีสภาพภูมิประเทศ ภมู ศิ าสตรอ์ ยา่ งไรและก็ได้ศึกษาเรอ่ ื งต้นไมต้ ่างๆ ตามทก่ี ล่าว
มาแล้วนี้ ก็ยังเห็นว่า มีหน่วยงานท้ังหน่วยงานของรฐั ของเอกชน ท้ังเป็นหน่วยงานราชการ เช่น กรมป่าไม้
กรมวชิ าการเกษตร และกบั ท้งั ทเ่ี ป็นสถาบนั การศึกษาท่ีทางานเกย่ี วกบั เรอ่ ื งของพืชศึกษาว่าพืชกี่ชนดิ ทั้งเรอ่ ื ง
ของพืชชนดิ ต่างๆ เรอ่ ื งงานอนุกรมวธิ าน อย่างนเี้ ป็นต้น กศ็ กึ ษากนั หลายแห่งจงึ เกิดความคิดขึ้นมาว่าน่าจะมี
การรวบรวมว่าแต่ละสถาบันได้ทางานในส่วนของตนอย่างไร และงานนั้นอย่างเช่น ยกตัวอย่างเชน่ พืช ก็ได้
ศึกษาในส่วนที่แต่ละแห่งได้รวบรวมนั้น ชื่อต่างหรอื ซ้ากันอย่างไร เพื่อท่ีจะให้รวมกันว่าท้ังประเทศน้ันเรามี
อะไรบ้าง ทจ่ี รงิ แล้วงานที่จะศึกษาพชื หลายชนดิ นเ้ี ป็นเรอ่ ื งทท่ี าได้ยากและทาได้ชา้ คนๆ เดียวหรอื วา่ สถาบนั ๆ
เดียวนั้น จะครอบคลุมไม่ได้ท้ังหมดถ้ามีหลายๆ หนว่ ยงานชว่ ยกันครอบคลมุ ก็อาจจะได้มาก ถา้ ต่างคนต่างไม่รู้
กันน้ัน ก็อาจจะเกิดเป็นท่ีน่าเสียดายว่าจะไม่ได้ข้อมูลเต็มที่ จึงนึกถึงว่าอยากจะทาฐานข้อมูลที่นักวชิ าการ
ทุกคนจะใชใ้ นการค้นคว้าได้ด้วยกัน ที่วังน้ีซงึ่ ก็มีความรูส้ ึกว่า ๑ ตารางกิโลเมตรของวังนี้ก็ใหญ่โตพอสมควร
แต่วา่ ท่ีจรงิ แล้วถ้าจะเอางานทุกสิ่งทุกอย่างมาสมุ กัน กย็ อ่ มจะไม่พอพน้ื ทไ่ี มไ่ ด้ก็ต้องทางานอะไรที่จะประหยัดท่ี
ท่ีสุด ในตอนน้ันก็เลยคิดว่าทาฐานข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ซ่ึงใชก้ ารเรยี กชื่อพืชที่ทุกคนจะเข้าถึงได้จงึ พัฒนา
จากจุดนั้นมาเปน็ งานต่างๆ ที่ ดร.พศิ ษิ ฐ์ ได้กลา่ วถงึ เมื่อสักครนู่ ี้ออกไปหลายๆ อยา่ ง ซงึ่ งานทก่ี ลา่ วถึงนี้ก็เป็น
งานท่ีหน่วยราชการต่างๆ ได้ทามาแล้วเปน็ จานวนมากและหลงั จากโครงการฯ นีก้ ็มกี ารต้ังขึน้ ใหม่ เพราะฉะนน้ั
กย็ ังคดิ วา่ ถา้ มกี ารได้ประชมุ กนั พรอ้ มกนั อยา่ งนี้ จะได้มาตกลงกนั แน่นอนวา่ ใครทาอะไรและในส่วนทเ่ี หลือกัน
ถ้าซา้ กนั โดยไมจ่ าเป็นกอ็ าจจะตกลงกันได้ว่าแบ่งกันว่าอันนี้งานน้ีใครจะทา หรอื งานทโ่ี ครงการทางด้านสานัก
พระราชวังเคยทาอยู่ แต่ว่าเมื่อมีหน่วยงานท่ีมีชอื่ ของหน่วยงานท่ีควรจะรบั ผดิ ชอบโดยตรงรบั ไปทา แล้วทาง
สานักพระราชวังก็คิดว่าน่าจะตัดได้ในส่วนน้ันและก็หันมาทางานทางด้านการประสานงานหรอื ความรว่ มมือ

โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพืชอนั เนื่องมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 11

อย่างนี้เปน็ ต้น ซงึ่ เข้าใจว่ากเ็ ป็นการสมสมัยในปจั จบุ ันซงึ่ ประเทศคอ่ นข้างจะฝดื เคอื ง เพราะฉะนั้นทางานอะไร
ถึงแม้จะเป็นงานท่ดี ีถ้าตกลงกนั ได้แล้วก็จะเป็นการประหยดั พลังคนหรอื พลังเงนิ งบประมาณ ทว่ี ่าให้ในสว่ นนี้
แลว้ กจ็ ะได้จาเป็นจะไม่ต้องใหใ้ นหน่วยงานอ่นื หรอื ถา้ ให้หนว่ ยงานอน่ื ก็ต้องใหท้ าไป และงานนเี้ ราอาจจะต้อง
มาน่ังพิจารณาคิดดูว่าจะทางานได้โดยประหยัดอย่างไร บางส่วนที่อาจจะยังไม่จาเป็นในขั้นนี้หรอื ว่าทาได้
ไม่ต้องเน้นเรอ่ ื งความหรหู ราหรอื ความสวยงามมากนัก เอาเฉพาะที่ใชจ้ รงิ ๆ และกป็ ระหยัดไปได้เปน็ บางส่วนก็ดี

ส่วนสาหรบั เรอ่ ื งของโรงเรยี นน้ัน ก็ได้มีประสบการณ์ในการที่ไปเยี่ยมโรงเรยี นในภาคต่างๆ
มาหลายแห่ง ก็เห็นว่าเรอ่ ื งที่จะสอนให้นักเรยี นหรอื ให้เด็กมีความรู้ และมีความรกั ในทรัพยากร คือ
ความรกั ชาติ รกั แผน่ ดินน้ี ก็คอื รกั สงิ่ ท่เี ป็นสมบัติของตัวเขาการที่จะให้เขารกั ษาประเทศชาติ หรอื รกั ษาสมบัติ
ของเขาน้นั ทาได้โดยกอ่ ใหเ้ กิดความรกั ความเขา้ ใจ ถ้าใครไมร่ จู้ กั กันเราก็ไม่มคี วามสัมพนั ธ์ ไม่มีความผกู พนั ธ์
ต่อกัน แต่ว่าถ้าให้เขารูจ้ กั ว่าสิง่ น้นั คืออะไร หรอื ว่าทางานก็จะรสู้ ึกช่ืนชม และรกั หวงแหนในสง่ิ นั้นว่าเป็นของ
ตน และจะทาให้เกิดประโยชน์ได้ เคยได้แนะนาโรงเรยี นต่างๆ ท่ีได้ไปเย่ียม ไม่เฉพาะแต่โรงเรยี นท่ีเข้ารว่ ม
โครงการๆ นี้ โรงเรยี นท่ัวๆ ไปด้วยวา่ เรอ่ ื งของนอกจากพืชพรรณแลว้ สิง่ ท่ีมีในธรรมชาติ ส่งิ ทหี่ าได้งา่ ยๆ น้ัน
ก็อาจจะเป็นอุปกรณ์การสอนในวชิ าต่างๆ ได้หลายอย่างแม้แต่วชิ าศิลปะก็ให้มาวาดรูปต้นไม้ ก็ไม่ต้องหาของอ่ืน
ให้เป็นตัวแบบ หรอื ในเรอ่ ื งภาษาไทยการเรยี งความก็อาจจะทาให้เรอ่ ื งของการเขียนรายงาน ทาให้หัดเขียน
หนังสือ หรอื อาจแต่งคาประพนั ธใ์ นเรอ่ ื งของพืชเหล่าน้ี หรอื เป็นตัวอย่างงานศึกษางานวทิ ยาศาสตรแ์ ละวชิ า
อืน่ ๆ ดังที่ ดร.พศิ ิษฐ์ ได้กล่าวมา นอกจากนั้นในวชิ าพฤกษศาสตรโ์ ดยเฉพาะ ซง่ึ อาจจะชว่ ยได้ในท่ีนี้ยังไม่เคย
กล่าวคอื เรอ่ ื งของวชิ าการทอ้ งถ่ินซ่ึงก็เป็นนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ ารอยู่แล้วทีว่ ่าจะให้นกั เรยี นได้ศึกษา
ความรทู้ อ้ งถนิ่ นอกจากความรูท้ ี่เปน็ มาตรฐานจากส่วนกลางมาแล้ว แม้แต่ตาราก็มีการส่งเสรมิ ใหค้ รู อาจารย์
ในท้องถิ่นน้ันได้รวบรวมความรูห้ รอื ได้แต่งข้ึนในระยะนี้ ซ่ึงเท่าที่ได้เห็นมาก็มีการศึกษาวชิ าการทางด้าน
ศลิ ปะวฒั นธรรม อาชพี ทอ้ งถิ่นมาบ้าง แต่ในด้านของธรรมชาตินน้ั ยังมีค่อนขา้ งนอ้ ย เทา่ ทไ่ี ปแนะนามาในเรอ่ ื ง
ของการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรนั้นได้เสนอว่าไม่ใชเ่ ป็นเฉพาะที่ว่าจะให้เด็กนักเรยี นปลูกป่าหรอื ว่าให้อนุรกั ษ์ดิน
ปลูกหญ้าแฝกอย่างเดียว ก็พยายามจะให้ออกไปดูข้างๆ โรงเรยี นว่าที่น่ันมีอะไรอยู่ และต้นไม้นั้นช่อื อะไร
เป็นอะไร และพอดีมีประสบการณ์จากการท่ีได้เคยออกไปส่งเสรมิ ในเรอ่ ื งของโภชนาการงานในระยะแรกๆ
ท่ีเรม่ ิ ทางานเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ ในช่วงน้ันออกไปทางานก็ทางานอย่างค่อนข้างจะเบี้ยน้อยหอยน้อย คือเงนิ
ไม่ค่อยมีต้องออกเอง ก็ไม่มีเงนิ ที่จะส่งเสรมิ เรอ่ ื งเมล็ดพันธุผ์ ักหรอื อุปกรณ์ที่ใชม้ ากนัก ได้ครบทุกแห่งท่ีไป ก็ให้
ใชพ้ ืชผักในท้องถ่ินที่พอจะมีอยู่ ผักพ้ืนบ้านผักพ้ืนเมืองหรอื ของที่เขากินอยู่แล้วเสรมิ เข้าไปในม้ืออาหารนั้นด้วย
เรอ่ ื งนี้ก็เป็นเรอ่ ื งท่ีน่าศึกษาเพราะได้พบว่ามีพืชพรรณหลายอย่าง ซึ่งก็ยังไม่เป็นท่ีรูจ้ ักกันในส่วนกลาง
ในท้องถิ่นนั้นเขาก็รูแ้ ละก็มีชื่อพ้ืนเมือง แต่ว่าพอเอาเข้าจรงิ แม้แต่ช่ือวทิ ยาศาสตรก์ ็ยังไม่มีใครแน่ใจว่า
ช่ืออะไร ก็นามาศึกษา และเวลาน้ีกไ็ ด้เห็นว่ามีการศึกษาอย่างกว้างขวาง คือได้ศึกษาวา่ คุณคา่ ทางอาหารของ
ผักพื้นเมืองเหล่านั้นมีอะไรบ้าง และได้มีการวเิ คราะห์พิษภัยของพืชเหล่านั้นไว้ด้วยเดิมเท่าที่คิดก็ยอมรบั ว่ า
ไม่ได้คิดเรอ่ ื งพิษภัย เพราะเห็นว่าคนรบั ประทานกันอยู่ประจายังมีอายุยืนอยู่ แต่เห็นว่าจากการวจิ ัยของ
นักวชิ าการ ก็ได้ทราบว่ามีพืชพ้ืนบ้านบางอย่างท่ีรบั ประทานกันอยู่ซงึ่ มพี ิษบ้าง ทาให้เป็นข้อคดิ ท่ีว่าถ้าบรโิ ภค
กันในสว่ นทีเ่ ป็นทอ้ งถิ่นกอ็ าจจะไมเ่ ปน็ พษิ ภยั มากเพราะว่าในวนั น้ันเก็บผักชนดิ นีไ้ ด้ก็นามาบรโิ ภคอีกวันก็เก็บ
ได้อีกอย่าง ก็นามาบรโิ ภค แต่ถ้าสมมุติว่าเป็นการส่งเสรมิ เป็นโครงการขึ้นมา แล้วก็จะมีการขยายพันธุ์
เป็นจานวนมาก และก็รบั ประทานอย่างน้ีซ้าๆ ซากๆ ซ่ึงจะมีอันตรายต่อรา่ งกายเป็นอย่างยิ่งก็อาจจะเป็นได้

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 12

อันนี้ที่ยกตัวอย่างแสดงว่าวชิ าการนี้แตกแขนงไปหลายอย่าง และมีการศึกษาได้หลายอย่าง และก็มีบุคคล
หลายคนที่ช่วยกันคิดช่วยกันทาถ้าจะชว่ ยกันจรงิ ๆ น้ีก็อาจจะต้องแบ่งหน้าท่ีถึงขั้นตอนนี้ก็คงต้องแบ่งหน้าท่ี
กันเพอื่ ท่ีจะแบง่ ในด้านปรมิ าณงานท่ที าหรอื งบประมาณท่ีทาก็ได้รบั การสั่งสอนจากผูห้ ลักผใู้ หญ่อยู่เสมอว่าถ้า
คนเรามีความคิดพงุ่ แล่นอะไรต่างๆ นานา ก็คิดได้แต่ถึงตอนทาจรงิ มขี ั้นตอนเหมือนกัน การใช้คนให้ทาอะไร
ก็ต้องคิดถึงกระบวนการว่าจะไปถึงเป้าหมายที่เราต้องการน้ันจะต้องใช้ท้ังเงนิ ใช้ท้ังเวลา ใช้ท้ังความคิด
ความอ่านต่างๆ ซึ่งจะไปใช้ใครทาก็ต้องเอาให้แน่ว่าเขาเต็มใจหรอื อาจเต็มใจ แต่ว่ามีภาระกิจมาก มีเวลา
จะทาให้เท่าใดหรอื เขาอาจทาใหด้ ้วยความเกรงใจเราแล้วว่าทีหลงั อยา่ งนี้เป็นต้น ก็บอกว่าไม่เป็นไร เพราะวา่
เวลาทาอะไรกม็ ไิ ด้บงั คับก็ขอเชญิ เข้ารว่ มช่วยกัน แต่ถ้าคนใดมีขอ้ ขัดข้องหรอื มีข้อสงสัยประการใดก็ไถ่ถามกันได้
ต้องเกรงใจเพราะถือว่าทางานวชิ าการ แบบน้ีไม่เคยจะคิดว่าโกรธเคืองถ้าใครทาไม่ได้ก็แล้วไป ก็ทาอย่างอนื่
ทาอย่างน้ีไม่ได้ก็ต้องทาได้สักอย่าง คิดว่าโครงการน้ีข้ันตอนต่อไปอาจจะต้องดูเรอ่ ื งเหล่าน้ีให้ละเอียดยง่ิ ขนึ้
ใครทาอะไรได้และประโยชน์ อาจจะมีอีกหลายอย่างเช่น งานบางอย่าง หรอื อย่างพืชนี้จะมีประโยชน์ในเชิง
ธุรกิจได้อีกก็มีด้วยซ้าถ้าเราทราบสรรพคุณของเขาและนามาใช้ในส่วนท่ีว่าถ้าขยายพันธุแ์ ล้วไม่อันตราย คือ
การขยายพันธุเ์ หล่าน้ีก็อาจจะเป็นการชว่ ยในเรอ่ ื งของการสง่ เสรมิ อาชีพให้แก่ราษฎรเพ่ิมข้ึนอกี ก็อาจเป็นได้
ท้ังนี้ก็ต้องไม่ละเลยในเรอ่ ื งของวชิ าการสง่ิ ท่ีถูกต้อง อะไรที่เป็นคุณ อะไรที่เป็นโทษ และยังมีเรอ่ ื งที่เกี่ยวข้อง
ในเรอ่ ื งของงานของเงนิ ในที่น้ยี งั มเี รอ่ ื งเพมิ่ อีกเรอ่ ื งหน่ึงคือเรอ่ ื งของทด่ี ิน อาจจะต้องมีการกาหนดแน่นอนว่า
ท่ดี ินนน้ั อยู่ในสภาพไหน สภาพการถือครองในลักษณะไหน ศึกษาในเรอ่ ื งของกฎหมายใหถ้ ูกต้องวา่ ใครมีสิทธิ
หรอื หน้าท่ีทาอะไรบ้างใครทาอะไรได้ ใครทาอะไรไมไ่ ด้เรอ่ ื งเหลา่ นีเ้ ป็นเรอ่ ื งท่ีจะต้องศึกษา เป็นเรอ่ ื งท่ีจะต้อง
จุกจิกมากอีกหลายอยา่ ง ท่ีพูดน้ีมิได้หมายความถึงว่าจะเป็นการจะจบั ผิดว่าใครทาผิดใครทาถูก แต่ว่างานใน
โลกปจั จุบันน้ี ทาอะไรกร็ สู้ ึกว่าเรอ่ ื งการรกั ษามาตรฐานน้ันเปน็ เรอ่ ื งทส่ี าคญั เพราะว่าต่อไปงานนี้ของเราอาจจะ
ไม่ใชจ่ ากัดอยู่แต่ภายในประเทศอาจจะต้องมีการติดต่อไปถึงประเทศอื่นด้วยเป็นการสรา้ งความเจรญิ ให้แก่
ประเทศ เพราะฉะนนั้ จะต้องมีการทางานในลักษณะท่ีคนอ่นื ยอมรบั ได้ นีก่ ็เปน็ ความคดิ เกยี่ วกบั เรอ่ ื งโครงการนี้"

โครงการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืชฯ ได้เรม่ ิ ต้นขึ้นราวปีพุทธศักราช 2535 เพื่อเป็นการส่งเสรมิ
ให้สถาบันต่างๆ ที่มีหน้าท่ีในการศึกษาพืชพรรณต่างๆ และ บุคคลที่สนใจได้มีโอกาสปฏิบัติงานที่ศึกษา
พืชพรรณต่างๆ ท่ีมอี ยจู่ านวนมากในประเทศไทยได้ศึกษาวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ได้รวบรวมเป็นหลักฐานไว้
และเพ่ือเป็นสอ่ื ในระหว่างสถาบันต่างๆ บุคคลต่างๆ ท่ีทาการศกึ ษาให้สามารถรว่ มใชฐ้ านข้อมลู เดียวกัน เพอ่ื ให้
การศึกษาไม่ซ้าซ้อนสามารถท่ีจะดาเนินการไปก้าวหน้าเป็นประโยชน์ในทางวชิ าการได้ ส่วนโครงการสวน

โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรมพืชอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 13

พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นนั้นก็เป็นงานท่ีสืบเน่ืองต่อจากงานอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืชเพ่ิงจะได้เดินทางไปเย่ียมดู
โรงเรยี นท้ังในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในภาคต่างๆ ท่ัวประเทศ ได้เห็นว่าโรงเรยี นบางแห่งนั้นมีภูมิทัศน์
ที่รม่ รน่ ื มีพชื พนั ธหุ์ ลายชนดิ ในวชิ าเรยี นของนกั เรยี นที่จรงิ ตั้งแต่เปน็ เด็กเล็กๆ ชนั้ อนบุ าลถงึ ชัน้ ประถมมัธยม
ทางครูอาจารย์ก็มักจะสอนให้นักเรยี นศึกษาถึงโลกของเราเรอ่ ื งของธรรมชาติ ฉะนั้นการท่ีศึกษาของใกล้ตัว
ได้แก่ พืชพรรณท่ีมีอยู่ในธรรมชาตินั้นก็เป็นส่ิงท่ีง่ายไม่เสียค่าใช้จ่ายสูงและมีประโยชน์เพ่ิมประสบการณ์
แกน่ ักเรยี นในด้านต่างๆ ได้ จงึ เหน็ ว่างานทีค่ นในระดับที่เปน็ ผู้ใหญไ่ ด้ทาได้ศึกษาในพชื พรรณต่างๆ นั้นแม้แต่
เด็กระดับเลก็ กน็ ่าจะได้ประโยชนด์ ้วย โรงเรยี นบางแหง่ กต็ ้ังอยู่ในทที่ ุรกันดาร แต่ก็ยงั มพี ืชพรรณต่างๆ ขน้ึ อยู่
ที่คนอ่ืนๆ นอกพื้นที่จะเข้าไปศึกษาได้ยาก ท้ังนักเรยี นและผู้ปกครองก็อาจจะมีความรูน้ ั้นมากกว่าคนอ่ืนๆ
นกั เรยี นกอ็ าจจะเรยี นจากผ้ปู กครองของนกั เรยี นเปน็ เรอ่ ื งของภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ วา่ พืชชนดิ นค้ี ืออะไร แล้วก็ได้
ศึกษาเปรยี บเทยี บกับวทิ ยาการสมัยใหม่ทคี่ รูบาอาจารย์สั่งสอนหรอื มีปรากฎในหนงั สือ นอกจากนั้นการศกึ ษา
เรอ่ ื งพืชพรรณนา่ จะเปน็ ประโยชนต์ ่อนักเรยี นในแงต่ ่างๆ ได้คนท่ศี กึ ษาเรอ่ ื งพืชนั้นกไ็ ด้รบั ความสุขความสบายใจ
มีความคดิ ในด้านสุนทรยี ์ ด้านศลิ ปะในแงต่ ่างๆ อาจจะศกึ ษาหรอื ใชเ้ ป็น อุปกรณ์การศึกษาในหมวดวชิ าต่างๆ
ทั้งในเรอ่ ื งของวทิ ยาศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร์ ซง่ึ ครูและนักเรยี น โรงเรยี นได้นามาปฏิบัติแต่ละโรงเรยี นก็มี
ความคิดแตกต่างกันไปหรอื ว่าบางอย่างก็เหมือนกันบางอย่างก็แตกต่างกัน ก็เป็นเรอ่ ื งท่ีดีถ้าทุกโรงเรยี น
สามารถที่จะแลกเปล่ียนความคิดเห็นโดยการมาเสนอผลงานหรอื ว่านาผลงานมาบันทึกลงในสื่อต่างๆ ที่จะ
สามารถนามาแลกเปลยี่ นกันได้ จงึ เห็นว่าในการจดั งานในลักษณะนี้นา่ จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรยี นท่ีเข้ารว่ ม
โครงการและนักเรยี นในโรงเรยี นอน่ื ๆ ท่ียังไม่ได้เข้ารว่ มโครงการขอแสดงความยินดีด้วยกบั โรงเรยี นที่ได้ รบั
รางวัลและโรงเรยี นท่สี ามารถรกั ษามาตรฐานของสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นเอาไวไ้ ด้พวกท่รี กั ษามาตรฐานไว้
ไม่ได้ก็ไม่ต้องเสียอกเสียใจไปเพราะการที่จะจัดกิจกรรมต่างๆ ให้เป็นไปตามมาตรฐานก็ไม่ใชข่ องที่ง่ายและ
โรงเรยี นท่ีอยู่ในลักษณะต่างๆ ก็อาจจะไม่สามารถที่จะปฏิบัติงานในด้านน้ีได้อย่างเต็มที่ทุกแห่ง ก็ถ้ามีความ
พยายามได้ก็ขอให้พยายามต่อไป แต่ว่าถ้ามีกิจกรรมในด้านอ่ืน ที่เรง่ ด่วนกว่าทาไม่ได้ก็ไม่ต้องเสียใจที่ไม่ได้
รางวัลหวงั ว่า การศึกษาเทา่ ท่ปี ฏิบัติมากจ็ ะปฏบิ ตั ิ ต่อไปในอนาคต มีประโยชน์ในการที่จะได้เพิ่มพูนความรูท้ าง
วชิ าการที่นกั เรยี นจะต้องศึกษาต่อไปในระดับสงู หรอื วา่ เพิม่ พูน ความรูต้ ่างๆ ในด้านวชิ าชพี ซง่ึ นักเรยี นก็อาจจะ
นาไปประกอบอาชีพได้ต่อไป ยกตัวอย่างเช่น มีนักเรยี นบางโรงเรยี นที่ศึกษาในด้านของการเขียนภาพทาง
วทิ ยาศาสตรน์ ่ันก็จะใช้เป็นอาชีพในอนาคตเป็นต้น หวังว่าทุกคนคงได้รบั ประโยชน์ในการมารว่ มประชุม
ในครงั้ น้ี ทั้งครู นักเรยี น และผู้เกี่ยวขอ้ งมีความสุขสวสั ดีทั่วกัน

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 14

งานการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพืชน้ไี ด้ดาเนินมาเปน็ เวลาหลายปีเรม่ ิ ตั้งแต่ท่ีเข้าใจว่าพระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยู่หัวทรงหาพรรณพชื ต่างๆ ทหี่ ายากมาปลูกเอาไว้เพ่อื คนรนุ่ หลังจะได้เห็นได้ศึกษาต่อไป และกม็ ีงานด้าน
วชิ าการต่างๆ ท่ที ากนั ท่ีจรงิ แล้วในประเทศไทยนี้ก็มหี น่วยงานหลายหน่วยที่สนใจในเรอ่ ื งของ การอนรุ กั ษ์พันธุพ์ ืช
เพอ่ื การศึกษาพืชพรรณต่างๆ ทม่ี ีอย่ใู นประเทศโครงการน้ี มีจุดประสงคส์ าคัญที่จะให้หน่วยงานต่างๆ ท่ีได้ทางาน
มาได้มีโอกาสแลกเปล่ียนความคิดเห็นหรอื แลกเปลี่ยนความรูซ้ ่ึงกันและกัน รวบรวมข้อมูล เพ่ือทา ให้วชิ าการ
ด้านนี้ก้าวหน้าไปและเป็นการประหยัดเพราะแทนที่ต่างคนต่างทา งานไหนที่มีผู้ทาแล้วจะได้รว่ มกันทาโดย
ไม่ใหซ้ ้าซอ้ นกนั และก็ปรากฎว่ามีผูม้ าสนบั สนนุ หลายทา่ นทงั้ ในด้านวชิ าการ ด้านอุปกรณต์ ่างๆ และทุนทรพั ย์ก็
นับว่างานนี้เป็นท่ีสนใจของบุคคลหลายฝ่าย ในวันนี้ท่ีได้มีการมอบฐานข้อมูลทาง ด้านพืชให้หน่วยงานต่างๆ
น้ัน ความเป็นมาก็มีอยู่ที่ก่อนน้ีในหน่วยงานต่างๆ มีหอพรรณไม้ เชน่ ที่กรมป่าไม้ หอพรรณไม้ของกรมปา่ ไม้
ก็มพี ชื ทนี่ ักวชิ าการ นักวจิ ยั รนุ่ เกา่ ๆ ได้เกบ็ ตัวอย่างพรรณพืชแหง้ เก็บไว้เป็นเวลาเกือบจะรอ้ ยปแี ล้ว ตัวอยา่ ง
ของพรรณไม้เหล่านี้ก็เป็นส่ิงท่ีมีค่าสงู จะเป็นประโยชน์ในด้านการศึกษา แต่ว่าของต่างๆ น้ันก็ย่อมเก่าแก่ไป
ตามกาลเวลา จะเสียหายอย่างน่าเสียดาย ในสมัยนเ้ี รามเี ทคโนโลยที ่ีจะรกั ษาสง่ิ เหล่าน้ี เพ่ือให้นักวชิ าการได้
ศกึ ษากนั ได้กเ็ ลยได้คิดชว่ ยกนั ทาโครงการในการถา่ ยรูปและถ่ายขอ้ มลู พรรณไม้ เพือ่ เปน็ ฐานขอ้ มูล แต่ในเม่อื
ในการเก็บฐานข้อมลู นีถ้ ้าเก็บไว้แห่งเดียวก็อาจจะสูญหายได้ ก็มีความคิดกันว่าจะให้หน่วยงานต่างๆ ช่วยกัน
เก็บท่ีหน่ึงเกิดเหตุเสียหายไปก็จะได้มีข้อมูลเอาไว้ ไม่สูญหายไปจากประเทศไทย หรอื จากโลกนี้ไปหมด
ฐานข้อมูลนี้ก็เป็นของที่มีค่าต้องช่วยกันดูแลให้ดีและผทู้ ี่จะมาใช้ก็ต้องดูแลใช้ใหถ้ ูกต้องให้เป็นประโยชนแ์ ก่
ประเทศไทยแก่มนุษย์ชาติต่อไป โครงการแบบน้ีไม่ใชว่ ่าจะทาสาเรจ็ ในเวลาสั้นๆ ต้องมีโครงการระยะที่หนึ่ง
ระยะท่ีสองและระยะต่อๆ ไป การจดั การประชุมน้ีก็เป็นการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและ เพิ่มพูนความรูใ้ น
ระดับนักวชิ าการและการจัดนิทรรศการน้ีก็จะมีโอกาสให้คนอ่ืนที่สนใจได้มาดู ได้มาศึกษาเมื่อบุคคลต่างๆ
ได้มาศึกษา แล้วก็ทราบว่าพืชต่างๆ และก็ต่อไปก็ต้องการศึกษาเรอ่ ื งสัตว์สิ่งมีชีวติ และส่ิงธรรมชาติต่างๆ
ของพวกน้กี ็เป็นส่ิงทีน่ า่ สนใจ เม่ือสนใจแล้วกจ็ ะมีความรูส้ ึกอยากจะปกปักรกั ษาไมท่ าลายให้เสียหายสูญสิน้ ไป
ก็เป็นการชว่ ยอนรุ กั ษ์เป็นอย่างดี ขอให้ทุกๆ ท่านประสบความสาเรจ็ ในการทางานและให้การประชุมในครงั้ น้ี
ดาเนินไปด้วยดี

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพืชอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 15

ข้าพเจ้ายินดีและขอบคุณทุกท่านที่มาพร้อมกันในวันน้ี ดังท่ีได้ทราบแล้วว่าโครงการอนุรักษ์
พนั ธุกรรมพชื อันเน่อื งมาจากพระราชดารฯิ ได้ดาเนนิ มา 10 ปีแลว้ ซงึ่ ทผี่ ่านมาเห็นได้ชดั ว่ามีหลายหนว่ ยงาน
ที่ดาเนินงานในลักษณะใกล้เคียงกัน แต่หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งหรอื สถาบัน ใดสถาบันหน่ึงจะทา
ครอบคลมุ ใหป้ ระสบผลสาเรจ็ น้ันทาได้ยาก ต้องรว่ มมือรว่ มใจและวางแผนรว่ มกัน ตกลงกนั ใหแ้ นน่ อนว่าใคร
จะทาส่วนใด เพ่ือให้การศึกษาไม่ซ้าซ้อน เกิดความสมบูรณ์ในการศึกษาวจิ ัย เกิดความก้าวหน้าและเป็น
ประโยชน์ทางวชิ าการ การประชมุ ในครงั้ น้ีเป็นการต่อเน่ืองให้เหน็ ว่าโครงการแบบนี้ใชว่ ่าจะสาเรจ็ ในเวลาสั้นๆ
ท่ีต้องมีโครงการในระยะท่ี 1 ระยะท่ี 2 โดยท่ีขณะน้ีอยู่ใน ระยะ 5 ปีท่ีสาม และจะมีระยะต่อๆ ไป การประชุมนี้
เปน็ การแลกเปล่ียนความคิดเหน็ เพมิ่ พูนความรรู้ ะดับนกั วชิ าการได้เพือ่ เป็นการส่งเสรมิ ใหส้ ถาบนั ต่าง ๆ แลว้ ก็
ทราบว่าพืชต่างๆ และก็ต่อไปก็ต้องการศึกษาเรอ่ ื งสตั ว์ส่ิงมชี ีวติ และสิ่งท่ีมีหนา้ ที่ในการศึกษาพชื พรรณต่างๆ
และบุคคลท่ีสนใจได้มีโอกาสปฏิบัติงาน ที่ศึกษาพืชพรรณต่างๆ ท่ีมีอยู่จานวนมากในประเทศไทย ได้ศึกษา
วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ได้รวบรวมเป็นหลักฐานไว้และเพื่อเป็นสื่อในระหว่างสถาบันต่างๆ บุคคลต่างๆ
ที่ทาการศึกษาให้สามารถรว่ มใช้ฐานข้อมูลเดียวกันเพื่อให้การศึกษา ไม่ซ้าซ้อน สามารถที่จะดาเนินการ
ใหก้ ้าวหน้าเป็นประโยชน์ในทางวชิ าการได้ ทาใหเ้ หน็ วา่ โครงการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืชฯ ได้กลายเป็นศูนย์รวม
ของผู้มีความรู้ ความสามารถและเสียสละพรอ้ มที่จะเป็นพลังที่สาคัญของแผ่นดิน เกิดประชาคมวจิ ัย และ
วชิ าการทมี่ ีศักยภาพสูง งานของโครงการฯ ในปัจจุบันได้เกี่ยวข้องกบั การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติไม่เฉพาะ
แต่พืชเท่านั้น ส่ิงไรช้ ีวติ เชน่ หิน ดิน แร่ และสิ่งมีชวี ติ แทบทุกประเภทก็อยู่ในเป้าหมายด้วย เช่นกัน ทั้งหมด
ลว้ นมผี ลกระทบที่สาคัญต่อความอยู่รอดของชาติและประการที่สาคัญท่สี ดุ คือการรว่ มงานของผู้คนจากหลาย
สถาบันที่มีทั้งธรรมชาติของการทางานที่เหมอื นกันและต่างกัน แต่มาทางานด้วยจุดม่งุ หมายเดียวกันคอื การ
รว่ มสนองพระราชดาร ิ ในการเรยี นรูท้ รพั ยากร การใช้ประโยชน์และการสรา้ งจิตสานึกของคนในชาติ ซึง่ จะ
นาไปสูม่ รรคผลทยี่ ัง่ ยนื การปฏบิ ัติทก่ี าลังดาเนนิ อยูใ่ นขณะนีเ้ ปน็ การสรา้ งวัฒนธรรมใหมข่ องการทางาน

สาหรบั การประชุมวชิ าการในระดับโรงเรยี นก็เป็นโอกาสให้เด็กนักเรยี นได้มานาเสนอในส่ิงที่
เรยี นรู้ โดยเฉพาะธรรมชาติของชวี ติ ของพชื พรรณต่างๆ ไมเ่ พียงแต่รจู้ ักพืชพรรณไมก้ ารใชป้ ระโยชน์เทา่ นั้นยัง
สามารถนาไปใช้ประโยชน์เป็นสื่อการเรยี นการสอนในวชิ าต่างๆ โรงเรยี นบางแห่งนั้นมีภูมิทัศน์ ท่ีรม่ รน่ ื มี
พืชพนั ธหุ์ ลายชนิด ในวชิ าเรยี นของนกั เรยี นที่จรงิ ตั้งแต่เปน็ เด็กเล็กๆ ชน้ั อนบุ าลถงึ ชน้ั ประถม มัธยม ทางครู
อาจารย์ก็มักจะสอนให้นักเรยี นศึกษาถึงโลกของเราเรอ่ ื งของธรรมชาติ ฉะนั้นการท่ีศึกษาของใกล้ตัวได้แก่
พืชพรรณที่มีอยู่ในธรรมชาตินั้น ก็เป็นสิ่งที่ง่ายไม่เสียค่าใช้จ่ายสูงและมีประโยชน์เพ่ิมประสบการณ์
แก่นักเรยี นในด้านต่างๆได้ จงึ เห็นว่างานที่คนในระดับที่เป็นผู้ใหญ่ได้ทาได้ศึกษาในพืชพรรณต่างๆ น้ัน แม้แต่

โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อนั เนอื่ งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 16

เด็กระดับเลก็ กน็ ่าจะได้ประโยชน์ด้วยโรงเรยี นบางแห่งก็ต้ังอยใู่ นท่ีทรุ กันดาร แต่ก็ยงั มีพชื พรรณต่างๆ ข้นึ อยู่
ที่คนอ่ืนๆ นอกพ้ืนท่ีจะเข้าไปศึกษาได้ยากท้ังนักเรยี นและผู้ปกครองก็อาจจะมีความรูน้ ั้น มากกว่าคนอ่ืนๆ
นักเรยี นก็อาจจะเรยี นจากผู้ปกครองของนักเรยี นเปน็ เรอ่ ื งของภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ว่าพืชชนิดนี้คืออะไร แล้วก็
ได้ศึกษาเปรยี บเทียบกับวทิ ยาการสมัยใหม่ที่ครูบา อาจารย์ส่ังสอน หรอื มีปรากฎใน หนังสือ นอกจากน้ัน
การศกึ ษาเรอ่ ื งพชื พรรณน่า จะเปน็ ประโยชนต์ ่อนกั เรยี นในแง่ต่างๆ ได้ คนที่ศึกษาเรอ่ ื งพืชนน้ั ก็ได้รบั ความสุข
ความสบายใจ มีความคิดในด้านสุนทรยี ์ ด้านศิลปะในแง่ต่างๆ อาจจะศึกษาหรอื ใช้เป็นอุปกรณ์การศึกษา
ในหมวดวชิ าต่างๆ ทั้งในเรอ่ ื งของวทิ ยาศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร์ ซ่งึ ครูและนักเรยี น โรงเรยี นได้นามาปฏิบัติ
แต่ละโรงเรยี นก็มีความคิดแตกต่างกันไปหรอื ว่าบางอย่างก็เหมอื นกันบางอย่างก็แตกต่างกัน ก็เป็นเรอ่ ื งทีด่ ี
ถ้าทุกโรงเรยี นสามารถที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยการมาเสนอผลงานหรอื ว่านาผลงานมาบันทึกลงใน
ส่ือต่างๆ ท่ีจะสามารถนามาแลกเปลี่ยนกัน ขอแสดงความยินดีกับโรงเรยี นที่ได้รบั พระราชทานเกียรติบัตร
และป้ายสนองพระราชดารสิ วนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ท้ังที่ได้รบั ในครงั้ นี้และที่ผ่านมาแล้ว ขอให้พยายาม
รกั ษามาตรฐานต่อไป แม้ไม่ใชเ่ รอ่ ื งง่าย หวังว่าการปฏิบัติท่ีผ่านมาก็จะปฏิบัติต่อไปในอนาคต มีประโยชน์ใน
การเพ่ิมพูนความรูว้ ชิ าการท่ีนักเรยี นต้องศึกษาต่อไปในระดับสูง อีกทั้งเป็นการสรา้ งจิตสานึกในการอนุรกั ษ์
พืชพรรณและทรพั ยากรต่างๆ นาไปส่กู ารใชป้ ระโยชน์อย่างยัง่ ยนื หวังว่าทุกคนคงได้รบั ประโยชน์ในการมารว่ ม
ประชุมในครง้ั นี้ ทงั้ คณาจารย์ นกั วจิ ยั ครู นกั เรยี น และผเู้ กี่ยวข้องมีความสุขสวัสดีทัว่ กัน

"ข้าพเจ้ายินดีท่ีได้มาพบกับท่านท้ังหลายอีกวาระหน่งึ ในวนั น้ี โครงการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพชื
อันเน่ืองมาจากพระราชดารฯิ ดาเนินงานมาถึงปีนี้เป็นปีท่ี 12 โครงการฯ รว่ มแรงรว่ มใจกับหน่วยงานและ
สถานศึกษา หลายหน่วยงาน หลายสถาบัน ปฏิบัติงานด้านศึกษาและอนุรกั ษ์พันธุพ์ ืชต่างๆ ด้วยวธิ กี ารทาง
วทิ ยาศาสตร์และรวบรวมผลการศึกษาวจิ ัยไว้เป็นหลักฐาน เป็นศูนย์รวมข้อมูลทางพันธุกรรมพืช
ท่ีสถาบันการศึกษาต่างๆ และผู้สนใจสามารถเข้ารว่ มใชฐ้ านข้อมูลได้ ปัจจุบันงานของโครงการฯ มิได้จา กัด
เพียงศึกษาอนุรกั ษ์พันธุพ์ ืชเท่านั้น แต่ขยายวงกว้างไปถึงการศึกษาเพื่ออนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติอื่นด้วย
เชน่ ดิน หนิ แร่ และส่ิงมีชวี ติ ทกุ ประเภท ทุกส่งิ ทก่ี ล่าวมาล้วนแต่มคี วามเกย่ี วพนั กัน สง่ิ หนึ่งสง่ิ ใดขาดไป กจ็ ะ
กระทบต่อการดารงอยู่ของชาติและประชาชน นอกจากศึกษาสภาวะของทรพั ยากรธรรมชาติแล้ว การให้
ความรูแ้ ก่ประชาชนก็เป็นสิง่ สาคัญ โดยเฉพาะในเรอ่ ื งการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติอย่างเหมาะสม วธิ สี งวน
รกั ษา เพื่อทุกคนจะได้ใชป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั อยา่ งยั่งยนื ตลอดไป การประชมุ ครง้ั นี้มี คณาจารย์ นกั วจิ ยั นกั เรยี น
นักศึกษา และเกษตรกรจานวนมาก เข้ารว่ มแลกเปล่ียนประสบการณ์และข้อคิดเห็น ข้าพเจ้าหวังว่าทุกท่าน
จะได้รบั ประโยชน์จากการประชุมโดยท่ัวกนั "

โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เนื่องมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 17

สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ีพระราชทานให้ ชมพูภูคา เป็นดอกไม้
สญั ลกั ษณ์ในโครงการอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชดารฯิ

ชมพูภูคา เป็นพืชหายากใกล้สญู พนั ธทุ์ ม่ี ีดอกสีชมพอู มขาวงดงาม ควรค่าแกก่ ารอนุรกั ษ์ไวใ้ ห้
คงอยูต่ ามแนวพระราชดาร ิ

ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Bretschneidera sinensis Hemsl
ชอื่ วงศ์ : BRETSCHNEIDERACEAE
เป็นไม้ต้นสูงได้ถึง 25 เมตร เปลือกเรยี บสีเทา ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ยาว 30-80
เซนติเมตร ใบย่อยไม่มีก้านใบ รูปหอกถึงรูปไข่ กว้าง 2.5-6 เซนติเมตร ยาว 8 - 25 เซนติเมตร โคนใบมน
ไม่เท่ากัน ปลายใบแหลม ดอก สีชมพู คล้ายรูประฆัง ออกเป็นชอ่ ท่ีปลายยอด ชอ่ ยาวได้ถึง 40 เซนติเมตร
กลบี รองดอกขนาดใหญ่ รูปถ้วยขอบหยกั ต้ืนๆ กลบี ดอก 5 กลบี รูปไขก่ วา้ ง โคนกลบี เรยี วยาว ปลายกลบี มว้ น
ออกด้านนอก ขนาด 1.8 - 2 เซนติเมตร กลีบบนมกั คว่าลง เกสรผู้ 8 อันผล รปู กระสวย แกแ่ ล้วแตก เมล็ด
รูปร ี กวา้ ง 12 มลิ ลเิ มตร ยาว 20 มิลลิเมตร

ชมพูภูคา

พันธไุ์ ม้ใกล้สูญพันธขุ์ องโลก ซง่ึ พบเฉพาะทอ่ี ุทยานแห่งชาติดอยภูคา จงั หวดั น่าน

ด้วยความสูงจากระดับนา้ ทะเลถึง 1,980 เมตร ดอยภูคานับเปน็ ยอดดอยทีส่ ูงท่สี ดุ แห่งหนึ่ง
ของเทือกเขาหลวงพระบางและเป็นยอดดอยทสี่ ูงในลาดับต้นๆ ของประเทศไทย ซงึ่ จากสภาพดังกล่าวนีท้ าให้เทือก
ดอยภูคา มีลักษณะโดดเด่นในด้านระบบนิเวศของพืชพรรณภูเขาสูงอันอุดมไปด้วยป่าดงดิบเขาป่าดงดิบช้ื น
รวมทั้งป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรงั อีกท้ังเป็นป่าต้นน้าของแม่น้าน่านอีกด้วย พันธุไ์ ม้ท่ีสาคัญท่ีสุดและพบ
เพียงแห่งเดียวในโลกที่น่ีคือ ชมพูภูคา ซงึ่ เป็นต้นไม้พื้นเมืองของไทยและเป็นพันธุไ์ ม้หายาก ใกล้สูญพันธุ์

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพชื อนั เนือ่ งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 18

ชนิดหน่ึงของโลก โดยเม่ือประมาณ 30 ปีที่ผ่านมา มีรายงานว่าพบพันธุไ์ ม้ชนดิ น้ี ที่มณฑลยูนานประเทศจนี
แต่ปจั จบุ ันคาดวา่ สูญพนั ธไุ์ ปแลว้

สาหรบั ในประเทศไทยมีรายงานการสารวจพบพันธุไ์ ม้ชนิดนี้เม่ือมี พ.ศ.2532 บรเิ วณป่าดงดิบ
เขาดอยภูคา อุทยานแห่งชาติดอยภูคา อาเภอปัว จงั หวัดนา่ น โดยลกั ษณะต้นชมพูภูคาน้ีจะสูงประมาณ 25 เมตร
เส้นผ่าศูนย์กลางลาต้นประมาณ 50 เซนติเมตร เปลือกเรยี บเป็นสีเทา ใบประกอบแบบขนนกช้ันเดียว มีใบ
ย่อยรูปไข่แกมรูปใบหอก ปลายใบแหลมยาว แผ่นใบด้านล่างมีนวลสีขาว ชอ่ ดอกต้ังตรงแยกแขนงออกตาม
ปลายกิ่งกลีบเลี้ยงติดกันคล้ายรูประฆัง กลีบดอกสีชมพูมีรว้ ิ สีแดง ออกดอกประมาณเดือนกุมภาพันธ์ -
มนี าคม ผลคล้ายมะกอกแต่มีขนาดใหญ่กวา่ พันธไุ์ ม้ชนิดน้จี ากการศึกษาพบว่าจะเจรญิ เติบโตได้ดีบรเิ วณป่า
ดงดิบเขาตามไหลเ่ ขาสูงชนั ทีม่ ีความสูงต้ังแต่ 1,200 เมตรจากระดับน้าทะเลขน้ึ ไปและมคี วามชนื้ ของอากาศ
สูงอุณหภูมิเฉลี่ยค่อนข้างต่าตลอดทั่งปี ปัจจุบันได้มีการทดลองเพาะกล้าไม้ชมพูภูคาจากเมล็ดเป็นผลสาเรจ็
ซง่ึ คาดว่าจะชว่ ยใหช้ มพภู ูคาไม่สูญพันธจุ์ ากโลกนต้ี ่อไป

* ขอ้ มลู จากกรมส่งเสรมิ คุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม วา่ ด้วยเรอ่ ื งนิเวศธรรมชาติในเมืองไทย-ภาคเหนือ

เปา้ หมาย เพ่ือพฒั นาบคุ ลากร อนุรกั ษแ์ ละพัฒนาทรพั ยากรพันธกุ รรมพชื และทรพั ยากร

ใหเ้ กดิ ประโยชน์กบั มหาชนชาวไทย

วัตถุประสงค์ 1. ให้เข้าใจและเห็นความสาคัญของพันธกุ รรมพืชและทรพั ยากร

2. ให้รว่ มคิด รว่ มปฏิบตั ิ จนเกิดประโยชน์ถึงมหาชนชาวไทย

3. ให้มีระบบข้อมูลพนั ธกุ รรมพชื และทรพั ยากร สื่อถึงกนั ได้ท่วั ประเทศ

เป้าหมายคุณภาพ

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพชื อนั เน่อื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 19

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรมพืชอนั เนื่องมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 20

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรมพืชอนั เนื่องมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 21

กรอบการดาเนินงานและกิจกรรมของ อพ.สธ.

จากความชัดเจนในการดาเนินงานตามแนวทางพระราชดาร ิ ในเร่อื งของการอนุรักษ์
ทรพั ยากรในระยะ 25 ปีท่ีผ่านมาของ อพ.สธ.ทาให้ อพ.สธ.ขอพระราชทานพระราชานุญาติในการเปล่ียนชือ่
กิจกรรมทั้ง 8 กิจกรรมของ อพ.สธ. ท่ีอยู่ภายใต้กรอบการดาเนินงานท้ัง 3 ฐานทรพั ยากร เพ่ือให้ช่ือของ
กจิ กรรมได้ส่อื ถึงงาน ที่ดาเนนิ งานในกจิ กรรมได้ชดั เจนมากยงิ่ ข้นึ ดังน้ี

1. กจิ กรรมที่ 1 กจิ กรรมปกปักทรพั ยากร
2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมทรพั ยากร
3. กจิ กรรมที่ 3 กิจกรรมปลูกรกั ษาทรพั ยากร
4. กจิ กรรมที่ 4 กิจกรรมอนรุ กั ษ์และใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากร
5. กจิ กรรมท่ี 5 กิจกรรมศูนย์ขอ้ มูลทรพั ยากร
6. กิจกรรมที่ 6 กจิ กรรมวางแผนพัฒนาทรพั ยากร
7. กจิ กรรมที่ 7 กิจกรรมสรา้ งจติ สานึกในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากร
8. กิจกรรมท่ี 8 กจิ กรรมพเิ ศษสนบั สนนุ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากร

ปัจจุบัน อพ.สธ.มีการดาเนินงานใน 8 กิจกรรม โดยแบ่งตามกรอบการดาเนินงาน 3 กรอบ
การดาเนินงาน ได้แก่ กรอบการเรยี นรูท้ รพั ยากร (กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมปกปักทรพั ยากร, กิจกรรมท่ี 2
กิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมทรพั ยากรและกิจกรรมท่ี 3 กิจกรรมปลูกรกั ษาทรพั ยากร),กรอบการใช้ประโยชน์
(กิจกรรมท่ี 4 กิจกรรมอนุรกั ษ์และใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากร, กิจกรรมท่ี 5 กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรพั ยากร และ
กิจกรรมท่ี 6 กิจกรรมวางแผนพัฒนาทรพั ยากร) กรอบการสรา้ งจิตสานึก (กิจกรรมท่ี 7 กิจกรรมสรา้ ง
จติ สานึกในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรและกิจกรรมท่ี 8 กิจกรรมพเิ ศษสนบั สนนุ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากร)

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 จนถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มีหน่วยงานที่เข้ารว่ มสนองพระราชดาร ิ
จานวน 150 หน่วยงาน โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2560 มีสมาชกิ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น 3,028 สถานศึกษา
และจานวนสมาชกิ ฐานทรพั ยากรทอ้ งถิ่น 776 หน่วยงาน (ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2560)

เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ข้างต้น จึงกาหนดแนวทางและแผนการ
ดาเนินงานโดยมีกิจกรรม 8 กิจกรรมท่ีอยู่ภายใต้ 3 กรอบการดาเนินงานและ 3 ฐานทรพั ยากร ได้แก่
ทรพั ยากรกายภาพ ทรพั ยากรชวี ภาพ และทรพั ยากรวฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญา

โดยท่ี อพ.สธ.สนับสนุนและรว่ มมือกับหน่วยงานที่รว่ มสนองพระราชดารจิ ดั ทาแผนปฏิบัติ
งานในกิจกรรมต่างๆ ภายใต้ภายแม่บทในแต่ละปีงบประมาณตลอดระยะเวลา 5 ปี ให้สอดคล้องกับแนว
ทางการดาเนนิ งานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ หนว่ ยงานที่รว่ มสนองพระราชดารจิ ดั ทาแผนปฏิบัติงาน
ประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยงานของตนให้ชัดเจน โดยระบุสาระสาคัญในการดาเนินงาน เช่น พื้นท่ี
เป้าหมายในการดาเนินงาน วธิ ีการและขั้นตอนการดาเนินงานและการบรหิ ารจัดการ โดยเฉพาะเร่อื ง
ผู้รบั ผิดชอบในการปฏิบัติและงบประมาณในการดาเนินงาน โดยมี อพ.สธ.เป็นผู้สนับสนุนแผนปฏิบัติงาน
ประจาปี/โครงการ ภายใต้แผนแม่บทของ อพ.สธ.ไปยังแหล่งทนุ ต่างๆ ต่อไป

โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เน่อื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 22

1. กรอบการเรยี นรู้
ทรพั ยากร

เพ่ือพัฒนาและเพิ่มประสิทธภิ าพการดาเนินงานด้านการพัฒนาและด้านการบรหิ ารจดั การ
ด้านปกปักทรพั ยากรของประเทศ จึงต้องมีการเรยี นรูท้ รพั ยากรในพ้ืนที่ป่าธรรมชาติดั้งเดิมท่ีปกปักรกั ษาไว้
โดยมีกิจกรรมท่ีดาเนินงานได้แก่ กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมปกปักทรพั ยากร กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสารวจเก็บ
รวบรวมทรพั ยากรและกจิ กรรมท่ี 3 กิจกรรมปลูกรกั ษาทรพั ยากร

กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมปกปักทรพั ยากร

เป้าหมาย
1. เพ่ือปกปักรกั ษาพ้ืนที่ป่าธรรมชาติของหน่วยงานที่รว่ มสนองพระราชดาร ิทั้งหน่วยงาน

ภาครฐั และเอกชนท่ีมีพื้นท่ีป่าดั้งเดิมอยู่ในความรบั ผิดชอบ โดยไม่มีนโยบายจะเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่
แต่จะต้องเป็นพื้นท่ีนอกเหนือจากพ้ืนที่ของกรมป่าไม้และกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุพ์ ืช หรอื
จะต้องไม่เปน็ พ้ืนท่ที ม่ี ีปญั หากับราษฎรโดยเด็ดขาด

2. เพ่ือรว่ มมือกับกรมป่าไม้และกรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พื ช โดยที่กรมฯ
นาพืน้ ทีข่ องกรมฯ มาสนองพระราชดาร ิ ตามความเหมาะสม

ตัวอย่างพื้นท่ีของหน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดาร ิ เช่น พื้นที่ป่าในศูนย์ศึกษาการพัฒนา
อันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ พื้นท่ีป่าท่ีชาวบ้านรว่ มใจปกปักรกั ษา พื้นท่ีป่าของสถาบันการศึกษา พ้ืนท่ีป่าของ
สวนสัตว์ พ้ืนที่ป่าของเข่ือนต่าง ๆ ภายใต้การดูแลของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ้ืนท่ีป่าของ
ภาคเอกชนท่รี ว่ มสนองพระราชดาร ิ เปน็ ต้น

โดยการดาเนินงานในพ้ืนที่ปกปักทรพั ยากร ซ่ึงท้ังน้ีมีการประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน
คณะอนุกรรมการ/คณะทางาน อพ.สธ. ของหน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดารนิ ั้นๆ โดย อพ.สธ. สามารถเป็น
ผู้สนับสนุนด้านวชิ าการ/บุคลากร และสถาบันการศึกษาต่างๆ ที่รว่ มสนองพระราชดาร ิ สนับสนุนบุคล ากร/
นักวจิ ยั ในการปฏบิ ตั ิงานในพ้ืนท่ี

แนวทางการดาเนินกิจกรรมปกปักทรพั ยากรในพ้ืนทป่ี กปักทรพั ยากร

1. การทาขอบเขตพืน้ ท่ปี กปกั ทรพั ยากร
2. การสารวจ ทารหัสประจาต้นไม้ ทารหัสพิกัด เพื่อรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในพ้ืนที่ของ
หน่วยงานที่รว่ มสนองพระราชดาร ิ
3. การสารวจ ทารหัสพิกัด และค่าพิกัดของทรพั ยากรชวี ภาพอ่ืนๆ นอกเหนือจากพันธุกรรมพืช
เชน่ สตั ว์ จุลนิ ทรยี ์
4. การสารวจ ทารหัสพิกัด และค่าพิกัดของทรพั ยากรกายภาพ เชน่ ดิน หิน แรธ่ าตุต่าง ๆ
คุณภาพน้า คณุ ภาพอากาศ เปน็ ต้น
5. การสารวจเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้ทรพั ยากร
กายภาพและทรพั ยากรชวี ภาพในพ้นื ท่ี

โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพืชอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 23

6. สนับสนุนให้มีอาสาสมัครปกปักรกั ษาทรัพยากรในพื้นท่ีสถานศึกษา เช่น นักศึกษา
ในมหาวทิ ยาลัยในระดับหมูบ่ ้าน ตาบล สนบั สนนุ ใหป้ ระชาชนทอี่ ยู่รอบๆ พืน้ ทีป่ กปกั ทรพั ยากร เชน่ มกี ิจกรรม
ป้องกันไฟป่ากิจกรรมรว่ มมอื รว่ มใจรกั ษาทรพั ยากรในพ้นื ทป่ี กปักทรพั ยากร เปน็ ต้น

ข้อมูลท่ีได้นามารวบรวมเป็นฐานข้อมูลในพ้ืนท่ีขององค์กรต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงาน
ราชการหรอื เอกชนทีเ่ ข้ารว่ มสนองพระราชดารเิ พือ่ การนาไปใชป้ ระโยชน์ต่อไป

หมายเหต
1. ข้อมูลท่ีได้จากกิจกรรมปกปักทรพั ยากร สามารถนาไปจดั การและเกบ็ เข้าสูง่ านฐานข้อมูล

ในกิจกรรมที่ 5 กิจกรรมศนู ยข์ อ้ มลู ทรพั ยากร
2. กจิ กรรมปกปักทรพั ยากร ใชพ้ ้นื ท่เี ปน็ เป้าหมายในการดาเนนิ งานในกจิ กรรมน้ี
3. พ้ืนที่ที่นามาสนองพระราชดารใิ นกิจกรรมน้ี ไม่ได้หมายความว่าเป็นการนาพื้นที่นั้นเข้ามา

น้อมเกล้าถวาย เพ่ือให้เป็นทรพั ย์สินของ อพ.สธ. สานักพระราชวังแต่หมายถึงเป็นพื้นท่ีท่ีดาเนินการโดย
หน่วยงานน้ันๆ ท่ีเป็นเจ้าของ แต่ใช้แนวทางการดาเนินงานในกิจกรรมปกปักทรพั ย ากรและในอนาคต
ถ้าหน่วยงานนนั้ ๆ มนี โยบายในการดาเนนิ การปรบั ปรงุ หรอื ต้องการใชพ้ ื้นท่ีปกปักทรพั ยากร เพือ่ ใชใ้ นกิจกรรม
อ่ืนๆ ทางหน่วยงานสนองพระราชดารฯิ นั้น สามารถดาเนินการแจ้งความประสงค์มายัง อพ.สธ. แต่ในกรณี
ที่เป็นพื้นท่ีล่อแหลมต่อการสูญเสียทรัพยากรที่มีค่า อาจต้องมีการขอพระราชวนิ ิจฉัยก่อนดาเนินการ
เปลี่ยนแปลง

สาหรบั เรอ่ ื งการอบรมอาสาสมัคร/ประชาชน/นักศึกษา/นักเรยี นในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ชมุ ชน หมบู่ า้ น ในพนื้ ที่ปกปกั ทรพั ยากร ใหอ้ ยูใ่ นกจิ กรรมท่ี 8 กิจกรรมพเิ ศษสนับสนนุ การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร

กิจกรรมท่ี 2 กิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมทรพั ยากร

เป้าหมาย
1. เพื่อสารวจและเกบ็ รวบรวมทรพั ยากรในพ้นื ที่ ได้แกท่ รพั ยากรกายภาพ ทรพั ยากรชีวภาพ

และทรพั ยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ในพื้นท่ีท่ีทราบแน่ชัดว่ากาลังจะเปล่ียนแปลงจากสภาพเดิม เช่น
จากป่ากลายเป็นสวน พื้นที่ตามเกาะต่าง ๆ ที่จะกลายสภาพเป็นพื้นท่ีท่องเท่ียว พื้นท่ีท่ีเรง่ ในการสรา้ งถนน
และสงิ่ ก่อสรา้ งต่างๆ ภายใต้รศั มีอย่างน้อย 50 กิโลเมตร ของหนว่ ยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดาร ิ ให้พิจารณา
ความพรอ้ มและศกั ยภาพของหน่วยงานทเ่ี ปน็ แกนกลางดาเนินงานในแต่ละพนื้ ทเ่ี ปน็ สาคัญ

2. เพอ่ื สารวจและเก็บรวบรวมทรพั ยากรในพื้นที่ ได้แก่ ทรพั ยากรกายภาพ ทรพั ยากรชวี ภาพ
และทรพั ยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญาภายใต้รศั มีอย่างน้อย 50 กิโลเมตร ของหน่วยงานที่รว่ มสนอง
พระราชดารอิ าจจะกาลังเปลีย่ นแปลงหรอื ไมก่ ็ได้ แต่เป็นคนละกับพ้ืนท่ีปกปักพันธุกรรมพืช/ทรพั ยากรดังใน
กิจกรรมท่ี 1 โดยท่ี อพ.สธ. ประสานและรว่ มมือกับหน่วยงานที่รว่ มสนองพระราชดาร ิ เชน่ จังหวัด องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น สถานศึกษาต่างๆ ในการรว่ มสารวจในงานฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน กองบัญชาการตารวจ
ตระเวนชายแดน หนว่ ยบญั ชาการทหารพัฒนา กรมวชิ าการเกษตร สถาบันการศึกษาต่างๆ ฯลฯ กาหนดพ้ืนที่
เป้าหมายในการดาเนินงานสารวจเก็บรวบรวมทรพั ยากร ให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบ

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 24

แผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทาแผนประจาปีเฉพาะในสว่ นของหน่วยของตนใหช้ ดั เจน พรอ้ มทั้งวางแผน
ปฏิบัติงานรว่ มกัน ทงั้ ในเรอ่ ื งวธิ กี ารและขั้นตอนการดาเนนิ งานและการบรหิ ารจดั การ โดยเน้นการดาเนนิ งาน
ในพ้ืนที่เป้าหมายเดิมให้แล้วเสรจ็ เป็นลาดับแรก ก่อนพิจารณาขยายผลออกไป โดยแต่ละหน่วยงานเป็น
ผู้รบั ผิดชอบและเป็นแกนกลางดาเนินงานในพ้ืนที่ รบั ผิดชอบของหน่วยในแต่ละพื้นที่ ซง่ึ ทั้งนี้มีการประชุม
คณะกรรมการดาเนินงาน อพ.สธ. ของหน่วยงานนัน้ ๆ โดยมี อพ.สธ. เป็นผสู้ นับสนุนด้านวชิ าการ/บุคลากรและ
สถาบันการศกึ ษาต่าง ๆ ทรี่ ว่ มสนองพระราชดาร ิ สนับสนนุ บุคลากร/นักวจิ ยั ในการปฏิบัติงานในพืน้ ท่ี

แนวทางการดาเนินกิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมทรพั ยากร

1. การสารวจเก็บรวบรวมตัวอย่าง ทรพั ยากรกายภาพ ทรพั ยากรชีวภาพ และทรพั ยากร
วัฒนธรรมและภมู ิปัญญา ในบรเิ วณรศั มีอย่างน้อย 50 กิโลเมตร ของหน่วยงานนน้ั ๆ ท้งั พ้นื ที่ แต่อาจเรม่ ิ ต้น
ในพ้ืนที่ที่จะมีการเปลี่ยนแปลงจากการพัฒนาหรอื ล่อแหลมต่อการเปลีย่ นแปลงก่อนเช่น พ้ืนท่ีกาลังจะสรา้ ง
อ่างเกบ็ น้า สรา้ งศูนยก์ ารค้า พื้นทส่ี รา้ งถนน การขยายทางหลวงหรอื เส้นทางต่างๆ พ้นื ทส่ี รา้ งสายไฟฟ้าแรงสงู
พน้ื ที่ท่กี าลังถกู บุกรกุ และในพนื้ ทอี่ ่นื ๆ ท่ีจะถกู พฒั นาเปล่ียนแปลงจากสภาพเดิม

2. การเกบ็ รวบรวมทรพั ยากรชวี ภาพเพ่ือเปน็ ตัวอย่างแห้ง และตัวอยา่ งดอง รวมถึงการเก็บ
ตัวอยา่ งทรพั ยากรกายภาพ เพื่อเป็นตัวอย่างในการศกึ ษาหรอื เกบ็ ในพิพิธภณั ฑ์พชื พพิ ธิ ภณั ฑ์ธรรมชาติวทิ ยา

3. การเก็บพนั ธุกรรมทรพั ยากร สาหรบั พชื สามารถเก็บเพือ่ เป็นตัวอย่างเพือ่ การศกึ ษาหรอื มี
การเกบ็ ในรูปเมล็ดในห้องเก็บรกั ษาเมล็ดพันธุ์ การเก็บต้นพืชมีชวี ติ เพ่ือไปปลูกในที่ปลอดภัย การเก็บ ชน้ิ สว่ นพืช
ท่มี ชี วี ติ (เพื่อนามาเก็บรกั ษาในสภาพเพาะเล้ียงเนือ้ เย่อื ) และสาหรบั ทรพั ยากรอื่น ๆ (สัตว์ จุลนิ ทรยี ์ เหด็ รา ฯลฯ)
สามารถก็บตัวอยา่ งมาศกึ ษาและขยายพันธตุ์ ่อไปได้ในกิจกรรมท่ี 3 กจิ กรรมปลูกรกั ษาทรพั ยากร

หมายเหตุ
ข้อมลู ทไี่ ด้จากกิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมทรพั ยากรน้ี สามารถนาไปจดั การและเกบ็ เข้าสู่งาน

ฐานข้อมูลในกิจกรรมท่ี 5 กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรพั ยากรและนาทรพั ยากรที่เก็บรวบรวมได้ไปดาเนินงาน
ในกจิ กรรมที่ 3 กจิ กรรมปลกู รกั ษาทรพั ยากร และนาไปสูก่ ารดาเนินงานในกิจกรรมอ่ืนๆ ต่อไป

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมปลูกรกั ษาทรพั ยากร

เป้าหมาย
1. เพ่ือนาทรพั ยากรท่ีมีค่า ใกล้สูญพันธุ์ หรอื ต้องการเพ่ิมปรมิ าณเพ่ือนามาใช้ประโยชน์

จากพ้นื ท่ใี นกิจกรรมที่ 1 และกิจกรรมท่ี 2 ทาการคดั เลือกมาเพื่อดาเนนิ งานเป็นกิจกรรมต่อเนอื่ งโดยการนา
พันธุกรรมทรพั ยากรชวี ภาพต่างๆ ไปเพาะพนั ธุ์ ปลูกเล้ยี ง และขยายพันธเุ์ พ่มิ ในพ้ืนท่ีท่ีปลอดภยั เรยี กว่าพ้ืนที่
ปลูกรกั ษาทรพั ยากร

2. ส่งเสรมิ ใหเ้ พิม่ พนื้ ทีแ่ หล่งรวบรวมพนั ธทุ์ รพั ยากรตามพนื้ ทข่ี องหนว่ ยงานต่าง ๆ (ex-situ)
ทั้งในแปลงเพาะขยายพันธุ์ ห้องปฏิบัติ การฯ แหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ เช่น ในศูนย์ศึกษาการพัฒนา
อันเน่ืองมาจากพระราชดารทิ ี่มีอยู่ ศูนย์ท่ัวประเทศพื้นท่ีศูนย์วจิ ยั และสถานีทดลองของกรมวชิ าการเกษตร

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพืชอนั เน่ืองมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 25

สวนสัตว์ฯ พ้ืนที่จังหวัด พื้นที่สถาบันการศึกษาที่นาเข้าร่วมสนองพระราชดารเิ ป็นลักษณะของสวน
พฤกษศาสตร์ สวนรุกขชาติป่าชุมชนที่รว่ มสนองพระราชดารแิ ละยังมีการเก็บรกั ษาในรูปเมล็ด เนื้อเย่ือ และ
สารพันธุกรรมในหอ้ งปฏิบัติการฯ ในหนว่ ยงานต่าง ๆ รวมถึงการเก็บรกั ษาพนั ธกุ รรมต่างๆ ในธนาคารพืชพรรณ
อพ.สธ. สวนจติ รลดาเก็บในรปู สารพันธกุ รรมหรอื ดีเอน็ เอและศนู ยอ์ นุรกั ษ์พันธกุ รรมพชื อพ.สธ. คลองไผ่

โดยท่ี อพ.สธ. ดาเนินการประสานงาน สนับสนุนด้านวชิ าการรว่ มกับหน่วยงานท่ีรว่ มสนอง
พระราชดารเิ ช่น จังหวัดต่างๆ กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา
กองทัพอากาศ กรมวชิ าการเกษตร สถาบันการศึกษาต่างๆ ฯลฯ กาหนดพ้ืนที่เป้าหมายในการดาเนินงานสารวจ
เก็บรวบรวมทรพั ยากร ให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทา
แผนประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยงานของตนให้ชัดเจน พรอ้ มทั้งวางแผนปฏิบัติงานรว่ มกันให้ชัดเจน
ทั้งในเรอ่ ื งวธิ กี ารและข้ันตอนการดาเนินงานและการบรหิ ารจัดการ โดยเน้นการดาเนินงานในพื้นท่ีเป้าหมาย
เดิมให้แล้วเสรจ็ เป็นลาดับแรกก่อนพิจารณาขยายผลออกไป โดยแต่ละหน่วยงานเป็นผู้รบั ผิดชอบและเปน็
แกนกลางดาเนนิ งานในพ้ืนทรี่ บั ผดิ ชอบของหนว่ ยในแต่ละพน้ื ท่ี ซงึ่ ท้ังน้มี กี ารประชมุ คณะกรรมการดาเนนิ งาน
อพ.สธ. ของหนว่ ยงานนัน้ ๆ

แนวทางการดาเนินกิจกรรมปลูกรกั ษาทรพั ยากรพันธุกรรมพืช

1. การปลูกรกั ษาต้นพันธุกรรมพืชในแปลงปลูก การปลูกรักษาต้นพีชมีชีวติ ลักษณะป่า
พันธุกรรมพืชมีแนวทางดาเนินงานคือ สารวจสภาพพื้นท่ีและสรา้ งส่ิงอานวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน
งานขยายพนั ธพุ์ ืชงานปลกู พนั ธกุ รรมพืชและบนั ทึกผลการเจรญิ เติบโต งานจดั ทาแผนที่ต้นพนั ธกุ รรมและทา
พกิ ดั ต้นพนั ธกุ รรม

2. การตรวจสอบพืชปราศจากโรคกอ่ นการเก็บรกั ษาพนั ธกุ รรมพชื ในรูปแบบต่าง ๆ
3. การเก็บรกั ษาท้ังในรูปของเมล็ด ในระยะส้ัน ระยะกลาง และระยะยาวในรูปของธนาคาร
พันธุกรรมศึกษาหาวธิ กี ารเก็บเมล็ดพนั ธุ์ และทดสอบการงอกของเมล็ดพนั ธุ์
4. การเก็บรกั ษโดยศึกษาเทคโนโลยีการเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อพืชแต่ละชนิด ศึกษาการฟอกฆ่าเชื้อ
ศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสม ศึกษาการเก็บรกั ษโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในระยะส้ัน ระยะกลาง ระยะยาว
และในไนโตรเจนเหลว (cryopreservation) และการขยายพันธโุ์ ดยการเพาะเลยี้ งเนือ้ เยอ่ื
5. การเก็บรกั ษาในรูปสารพันธุกรรม (DNA เพ่ือการนาไปใช้ประโยชน์เช่นการวเิ คราะห์
ลายพิมพด์ ีเอน็ เอ การปรบั ปรงุ พนั ธพุ์ ืช เปน็ ต้น
6. การดาเนินงานในรปู ของสวนพฤกษศาสตร์ สวนรุกชชาติ สวนสาธารณะต่างๆ การปลกู พืช
ในสถานศึกษา โดยมรี ะบบฐานข้อมลู ที่สามารถใชป้ ระโยชนไ์ ด้ในอนาคต

ทรพั ยากรพันธกรรมสัตว์และทรพั ยากรพันธกุ รรมอ่ืน ๆ

ให้ดาเนนิ การใหม้ สี ถานท่เี พาะเลี้ยงหรอื หอ้ งปฏิบัติการทีจ่ ะเก็บรกั ษา เพาะพันธ/ุ์ ขยายพันธตุ์ าม
มาตรฐานความปลอดภัยโดยมแี นวทางการดาเนินงานคลา้ ยคลึงกบั การดาเนนิ งานในทรพั ยากรพันธกุ รรมพืชข้างต้น

โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เนอื่ งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 26

หมายเหตุ

ขอ้ มลู ท่ีได้จากกจิ กรรมปลกู รกั ษาทรพั ยากร สามารถนาไปจดั การและเกบ็ เขา้ สู่งานฐานข้อมลู
ในกจิ กรรมที่ 5 กิจกรรมศูนยข์ ้อมูลทรพั ยากรและนาไปสกู่ ารดาเนนิ งานในกิจกรรมอืน่ ๆ ต่อไป

2. กรอบการใชป้ ระโยชน์

เพื่อพัฒนาและเพ่ิมประสิทธิภาพการดาเนินงานศึกษาวจิ ัยและประเมินศักยภาพของ
ทรพั ยากรต่างๆ ในอพ.สธ. ท้งั ในด้านการพฒั นาและการบรหิ ารจดั การใหก้ ารดาเนินงานเปน็ ไปในทิศทางเดียวกัน
และเอ้ืออานวยประโยชน์ต่อกัน รวมท้ังพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ อพ.สธ. ให้เป็นเอกภาพ สมบูรณ์และ
เป็นปัจจุบัน โดยบรรลุจุดมุ่งหมายตามแนวพระราชดาร ิ โดยมีกิจกรรมท่ีดาเนินงานได้แก่ กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมอนุรกั ษ์และใช้ประโยชน์ทรพั ยากรกิจกรรมท่ี 5 กิจกรรมศูนย์ข้อมูลทรพั ยากรและกิจกรรมที่ 6
กิจกรรมวางแผนพฒั นาทรพั ยากร

กิจกรรมท่ี 4 กิจกรรมอนรุ กั ษ์และใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากร

เปา้ หมาย
1. เพื่อศึกษาและประเมนิ ศักยภาพพันธุกรรมพชื และทรพั ยากรอื่น ๆ ท่ีสารวจเกบ็ รวบรวม

และปลกู รกั ษาไว้จากกิจกรรมที่ 1-3
2. เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรพั ยากรท้ังสามฐานทรัพยากร ได้แก่ ทรพั ยากร

กายภาพ ทรพั ยากรชีวภาพ และทรพั ยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา มีการวางแผนและดาเนิ นการวจิ ัย
ศักยภาพของทรพั ยากรต่างๆ นาไปสู่การพัฒนาพันธุพ์ ืช พันธุส์ ัตว์ สายพันธุจ์ ุลินทรยี ์ ตามแนวพระราชดาร ิ
และมแี นวทางนาไปสู่การอนรุ กั ษ์และใชป้ ระโยชน์ได้อยา่ งยงั่ ยืนโดยท่ี อพ.สธ. เป็นท่ีปรกึ ษา ประสานงาน รว่ มมือ
ส่งเสรมิ และทาหน้าที่เป็นแกนกลางในการดาเนินงานด้านวชิ าการและการวจิ ัย รว่ มกับหน่วยงานท่ีรว่ มสนอง
พระราชดาร ิ เช่น มหาวทิ ยาลัยต่างๆ กรมวชิ าการเกษตร กรมประมง กรมป่าไม้ ศูนย์พันธุวศิ วกรรมและ
เทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ สถาบันวจิ ยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งประเทศไทย กรมพัฒนาการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ฯลฯโดยกาหนดพ้นื ทป่ี า้ หมายและทรพั ยากรต่าง ๆ ในกรดาเนินงานอนุรกั ษ์
และใชป้ ระโยชน์ ให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทาแผน
ประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยของตนให้ชัดเจน พรอ้ มท้ังวางแผนปฏิบัติงานรว่ มกันให้ชัดเจน ผ่านการ
ประชุมคณะกรรมการดาเนนิ งาน อพ.สธ. ของหนว่ ยงานน้นั ๆ

แนวทางการดาเนินกิจกรรมอนุรกั ษ์และใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากร
1. การวเิ คราะห์ทางกายภาพ เช่น แรธ่ าตุในดิน คุณสมบัติของน้า ฯลฯ จากแหล่งกาเนิด

พันธกุ รรมดั้งเดิมของพืชนนั้ ๆ

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เน่อื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 27

2. การศึกษาทางด้านชีววทิ ยา สัณฐานวทิ ยา สรรี วทิ ยา ชีวเคมี พันธุศาสตร์ ฯลฯ ของ
ทรพั ยากรชวี ภาพทค่ี ัดเลือกมาศกึ ษา

3. การศกึ ษาด้านโภชนาการ องค์ประกอบของสารสาคญั เชน่ รงควัตถุ กลนิ่ สารสาคัญต่างๆ
ในพันธกุ รรมพชื และทรพั ยากรชวี ภาพอื่น ๆ ท่เี ป็นเป้าหมาย

4. การศึกษาการปลูก การเขตกรรมและขยายพันธุ์พืชด้ วยการขยายพันธุ์ตาม ปกติ
ในพนั ธุกรรมพชื ทไี่ ม่เคยศกึ ษามากอ่ น และการขยายพันธโุ ดยการเพาะเล้ียงเนื้อเยอ่ื ในพนั ธุกรรมพืชทไ่ี มเ่ คย
ศึกษามากอ่ น รวมถงึ การศึกษาการเล้ียงและการขยายพนั ธทุ์ รพั ยากรชีวภาพอ่นื ๆ เพอื่ ใหไ้ ด้ผลผลติ ตามที่ต้องการ

5. การศึกษาการจาแนกสายพันธุโ์ ดยวธิ ที างชีวโมเลกุลเพ่ือนาไปสู่การพัฒนาพันธุพ์ ืช สัตว์
และจุลนิ ทรยี ์เพอ่ื เกบ็ เปน็ ลายพิมพด์ ีเอ็นเอของทรพั ยากรชนิดนน้ั ๆ ไวเ้ พอ่ื นาไปใชป้ ระโยชนต์ ่อไป

6. การจัดการพ้นื ที่ที่กาหนดเพ่ือการอนรุ กั ษ์และพัฒนา เช่น ศูนย์เรยี นรูต้ ่างๆ ซ่ึงเป็นศูนย์ฯ
ตัวอย่างเพื่อการเรยี นรูก้ ารใช้ประโยชน์ทรพั ยากรอย่างยั่งยืน ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง อีกทั้งศูนย์ฯ
เหล่านี้สามารถใช้ประโยชน์ให้เป็นศูนย์ฝึกอบรมของ อพ.สธ. สนับสนุนในกิจกรรมต่างๆ ของ อพ.สธ.
ตัวอย่างเชน่ อพ.สธ. ได้จัดตั้งศูนย์เรยี นรู้ อนุรกั ษ์ พัฒนา และใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากรอย่างย่ังยืน สู่เศรษฐกจิ
พอเพียง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการดาเนินงานของ อพ.สธ. เรม่ ิ ดาเนินการใน 6 ศูนย์
ของ อพ.สธ. และหนว่ ยงานทีร่ ว่ มสนองพระราชดารทิ ี่กระจายอยตู่ ามภมู ภิ าคต่าง ได้แก่

1) ศูนย์เรยี นรูอ้ นุรกั ษ์ พัฒนา และใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากรอย่างยังยืน สู่เศรษฐกิจพอเพียง
อพ.สธ. ต.คลองไผ่ อ.สีคิว้ จ.นครราชสีมา

2) ศูนย์เรยี นรูอ้ นุรกั ษ์ พัฒนา และใช้ประโยชนท์ รพั ยากรอย่างยั่งยืน สู่เศรษฐกิจพอเพียง
อพ.สธ. อ.วงั มว่ ง จ.สระบุร ี

3) ศูนย์เรยี นรูอ้ นุรกั ษ์ พัฒนา และใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากรอย่างย่ังยืน สู่เศรษฐกิจพอเพียง
อพ.สธ.อ.ตากฟ้า จ.นครสวรรค์

4) ศูนย์เรยี นรูอ้ นุรกั ษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์ทรพั ยากรอย่างย่ังยืน สู่เศรษฐกิจพอเพียง
อพ.สธ. อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุร ี(พน้ื ท่สี นองพระราชดารขิ องหน่วยบัญชาการทหารพัฒนากองบญั ชาการกองทัพไทย)

5) ศูนย์อนุรกั ษ์และพัฒนาทรพั ยากรภาคตะวันตก (พ้ืนท่ีสนองพระราชดารขิ องหน่วย
บัญชาการทหารพฒั นา กองบัญชาการกองทพั ไทย)

6) ศู น ย์ ว จิ ั ย อ นุ รัก ษ์ พั ฒ น า ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ท รัพ ย า ก ร ท ะ เ ล อ พ . ส ธ . เ ก า ะ ท ะ ลุ
จ.ประจวบครี ขี นั ธ์ (พืน้ ที่สนองพระราชดารขิ องมลู นธิ ฟิ ้ นื ฟทู รพั ยากร ทะเลสยาม และพื้นที่สนองพระราชดารขิ อง
จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ)์

กิจกรรมท่ี 5 กิจกรรมศูนยข์ อ้ มูลทรพั ยากร

เป้าหมาย

1. เพ่ือให้เกิดฐานข้อมูลทรัพยากรของประเทศโดยศูนย์ข้อมูลทรัพยากร อพ.สธ.
สวนจิตรลดารว่ มกับหน่วยงานที่รว่ มสนองพระราชดาร ิ บันทึกข้อมูลของการสารวจเก็บรวบรวมการศึกษา

โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อนั เนื่องมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 28

ประเมนิ การ อนุรกั ษ์และการใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากรท้ังสามฐาน ตัวอยา่ งเชน่ ฐานขอ้ มลู พรรณไม้แห้งฐานข้อมูล
งานวจิ ยั ฐานขอ้ มูลทรพั ยากรทอ้ งถิ่น ฐานขอ้ มลู สตั วท์ ะเล และฐานข้อมูลจุลนิ ทรยี ์ ขอ้ มูลต่าง ๆ จากการทางาน
ในกิจกรรมต่างๆ ของ อพ.สธ. โดยทาการบันทึกลงในระบบฐานข้อมูล เพ่ือเป็นฐานข้อมูลและมีระบบท่ีเชือ่ มต่อ
ถงึ กันได้ทว่ั ประเทศโดยเชอ่ื มโยงกับฐานข้อมลู ทรพั ยากรของหนว่ ยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดาร ิ อพ.สธ.

2. เพ่ือให้ฐานข้อมูลทรพั ยากรนั้น เป็นข้อมูลเพ่ือนาไปสู่การวางแผนพัฒนาพันธุ์พืช และ
ทรพั ยากรต่างๆ โดยที่ อพ.สธ. เปน็ ท่ปี รกึ ษา แต่งต้ังคณะทางาน ประสานงาน รว่ มมือ พัฒนาการทาศูนยข์ ้อมูลฯ
กาหนดรูปแบบในการทาฐานข้อมูล โดยกาหนดเป้าหมายในการดาเนินงานให้สอดคล้องกับแนวทางการ
ดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทาแผนประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยของตนให้
ชดั เจน พรอ้ มทั้งวางแผนปฏิบัติงานรว่ มกันให้ชัดเจน ผ่านการประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน อพ.สธ. ของ
หนว่ ยงานน้ัน ๆ

แนวทางการดาเนินกิจกรรมศูนย์ขอ้ มลู ทรพั ยากร

1. อพ.สธ. รว่ มกับหน่วยงานที่รว่ มสนองพระราชดาร ิจัดทาฐานข้อมูลระบบดิจิตอลและพฒั นา
โปรแกรมสาหรบั ระบบศูนย์ข้อมูลทรพั ยากรต่างๆ รว่ มกัน เช่น โปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลทรพั ยากร
ทอ้ งถิน่ ด้านการสารวจเก็บรวบรวม การอนุรกั ษ์ การประเมินคุณค่าพนั ธุกรรมทรพั ยากร และการใชป้ ระโยชน์

2. นาข้อมูลของตัวอย่างพืชที่เก็บรวบรวมไว้เดิมโดยหน่วยงานที่รว่ มสนองพระราชดาร ิ
องค์กรอ่ืน เชน่ กรมป่าไม้ กรมวชิ าการเกษตร และมหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เป็นต้น เข้าเก็บไว้ในระบบ
ฐานข้อมูลของ ศนู ย์ขอ้ มูลพนั ธุกรรมพืช อพ.สธ.

3. นาข้อมูลท่ีได้จากการสารวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืช และทรพั ยากรต่าง ๆ เชน่ ข้อมูล
การปลูกรกั ษา ข้อมูลการใช้ประโยชน์จากทรพั ยากร ข้อมูลวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ข้อมูลพันธุไ์ ม้จาก
โรงเรยี นสมาชิกสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น เข้าเก็บไว้ในศูนย์ข้อมูลทรพั ยากรเพ่ือการประเมินคุณค่าและ
นาไปสูก่ ารวางแผนพฒั นาพันธพุ์ ืชและทรพั ยากรอนื่ ๆ

4. พฒั นาการบรหิ ารจดั การฐานข้อมลู ของศนู ยข์ อ้ มูลทรพั ยากร อพ.สธ. ให้มีเอกภาพ มีความ
สมบูรณแ์ ละเป็นปัจจุบัน ซงึ่ หน่วยงานต่าง ๆ สามารถใชป้ ระโยชน์รว่ มกันได้ โดยเฉพาะฐานขอ้ มูลพืชจากการ
สารวจเก็บรวบรวม ฐานข้อมูลพรรณไม้แห้ง ฐานข้อมูลสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น โดยมี อพ.สธ.
เปน็ ศูนยก์ ลางและวางแผนดาเนินงานพฒั นาเครอื ขา่ ยระบบข้อมลู สารสนเทศ อพ.สธ. รว่ มกบั หนว่ ยงานท่ีรว่ ม
สนองพระราชดารเิ พื่อให้สามารถเช่ือมโยงและใช้รว่ มกันได้อย่างกว้างขวางอาจผ่านทางเว็บไซต์ ท่ีมีระบบ
ป้องกนั การเขา้ ถงึ ฐานขอ้ มลู

5. หน่วยงานร่วมสนองพระราชดาร ิ มีความประสงค์ท่ีจะดาเนินการแบ่งปันหรอื เผยแพร่
ข้อมลู ใด ๆ ทเี่ กีย่ วข้องในงาน อพ.สธ. จาเป็นต้องขออนุญาตผ่านทาง อพ.สธ. กอ่ น เพือ่ ขอพระราชทานข้อมูลนั้นๆ
และข้ึนอยู่กับพระราชวนิ ิจฉัยสมเด็ จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (การขอพระราชทาน
พระราชานญุ าต ให้ดาเนินการทาหนงั สือแจง้ ความประสงค์มายัง ผอู้ านวยการ อพ.สธ. ล่วงหนา้ อยา่ งน้อย 1 เดือน)

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อนั เน่อื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 29

กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมวางแผนทรพั ยากร

เปา้ หมาย
เป็นกิจกรรมท่ีนาฐานข้อมูลจากกิจกรรมท่ี 5 มาใช้ในการพิจารณาศักยภาพของพันธุ์พืช

พันธุส์ ัตว์ พันธุจ์ ุลินทรยี ์ ฯลฯ โดยที่ อพ.สธ. มีหน้าท่ีประสานกับนักวชิ าการผู้ทรงคุณวุฒิของหน่วยงานและ
สถาบันการศึกษาต่าง ๆ เชน่ ในเรอ่ ื งของพืช มีการวเิ คราะห์ข้อมูลและคัดเลือกสายต้นเพื่อเป็นพ่อแม่พันธุ์พืช
พรอ้ มกบั วางแผนพัฒนาพันธุร์ ะยะยาวและนาแผนพัฒนาพนั ธุข์ ึน้ ทลู เกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารเี พ่ือมีพระราชวนิ ิจฉัยและพระราชทานแผนพัฒนาพันธุ์และพันธุกรรมท่ีคัดเลือก
ให้หน่วยงานที่มีความพรอ้ มนาไปปฏิบัติพันธุพ์ ชื /สัตว์/ชีวภาพอ่ืนๆ ที่อยู่ในเป้าหมาย ได้แก่พันธุพ์ ืชสมนุ ไพร
พันธุ์พืชพื้นเมืองต่างๆ ที่สามารถวางแผนนาไปสู่การพัฒนาให้ดียิ่งข้ึนเหมาะสมต่อการปลูกในพื้นที่ต่างๆ
ในประเทศไทย โดยท่ี อพ.สธ. เป็นท่ปี รกึ ษา ประสานงาน รว่ มมอื ในการวางแผนพัฒนา โดยกาหนดเป้าหมาย
ในการดาเนินงานให้สอดคลอ้ งกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทาแผน
ประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยของตนให้ชัดเจน พรอ้ มทั้งวางแผนปฏิบัติงานรว่ มกันให้ชัดเจน ผ่านการ
ประชุมคณะกรรมการดาเนนิ งาน อพ.สธ. ของหนว่ ยงานนน้ั ๆ

แนวทางการดาเนินกิจกรรมวางแผนพัฒนาทรพั ยากรพันธุกรรมพืช

1. จดั ประชุมคณะทางานทรพั ยากรต่างๆ คดั เลอื กพันธพุ์ ชื ท่ผี ูท้ รงคุณวฒุ พิ ิจารณาแลว้ ว่าควร
มกี ารวางแผนพฒั นาพันธุ์ เพื่อการใชป้ ระโยชน์ต่อไปในอนาคต

2. ดาเนินการทูลเกล้าฯ ถวายแผนการพัฒนาทรพั ยากรที่คัดเลือกแล้ว เพื่อให้สมเด็จ
พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี ทรงมีพระราชวนิ ิจฉัยและพระราชทานให้กับหน่วยงานท่ีมี
ศกั ยภาพในการพัฒนาปรบั ปรุงพันธกุ รรมทรพั ยากรชนิดนน้ั ๆ ให้เปน็ ไปตามเป้าหมาย

3. ประสานงานเพื่อให้หน่วยงานท่ีมีความพรอ้ ม ในการพัฒนาพันธุท์ รพั ยากรต่าง ๆ เชน่ พัฒนา
พนั ธุกรรมพชื ดาเนินการพฒั นาพนั ธพุ์ ืช และนาออกไปสูป่ ระชาชน และอาจนาไปปลกู เพือ่ เป็นการคา้ ต่อไป

4. ดาเนินการข้ึนทะเบียนรับรองพันธุ์พืชใหม่ท่ีได้มาจากการพัฒนาพันธุ์พืชดั้ ง เดิ ม
เพ่ือประโยชน์ของมหาชนชาวไทย

ทรพั ยากรพันธกุ รรมสัตว์และทรพั ยากรพันธกรรมอ่ืน ๆ

มแี นวทางการดาเนนิ งานคล้ายคลึงกับการดาเนินงานในทรพั ยากรพนั ธกุ รรมพชื ขา้ งต้น

โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพืชอนั เนื่องมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 30

3. กรอบการสรา้ งจติ สานึก

เพอ่ื ใหป้ ระชาชนกลมุ่ เป้าหมายต่าง ๆ โดยเฉพาะเยาวชน นกั เรยี น นสิ ิตนกั ศกึ ษาและบคุ คล
ทัว่ ไป ได้มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั พืชพรรณ์ไม้ และการอนรุ กั ษ์พันธุกรรมพชื ของประเทศ จนตระหนักถึง
ความสาคัญและประโยชนข์ องการอนุรกั ษท์ รพั ยากรท่ีก่อให้เกดิ ประโยชนต์ ่อมหาชนชาวไทย โดยมกี จิ กรรม
ทดี่ าเนินงาน ได้แก่ กจิ กรรมท่ี 7 กิจกรรมสรา้ งจติ สานึกในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรและกิจกรรมที่ 8 กจิ กรรม
พิเศษสนับสนุนการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร

กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมสรา้ งจติ สานึกในการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร

เปา้ หมาย
1. เพ่ือให้เยาวชนประชาชนชาวไทย ให้เข้าใจถึงความสาคัญและประโยชน์ของทรพั ยากรทัง้

สามฐานให้รูจ้ กั หวงแหนรูจ้ ักการนาไปใช้ประโยชน์อย่างย่ังยืนซ่ึงมีความสาคัญต่อการจดั การการอนุรกั ษ์และ
ใชท้ รพั ยากรของประเทศอย่างย่งั ยืน

2. เพื่อให้หน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดาร ิวางแผนและขยายผลเพ่ือนาแนวทางการสรา้ ง
จิตสานึกในการรกั ทรพั ยากรของ อพ.สธ. ไปดาเนินงานตามยุทธศาสตรข์ องหน่วยงานนั้นๆ โดยที่ อพ.สธ.
เป็นท่ีปรกึ ษา ประสานงาน รว่ มมือ สนับสนุนให้โรงเรยี นและสถาบันการศึกษาเป็นสมาชกิ สวนพฤกษศาสตร์
โรงเรยี น อพ.สธ. ประสานงานหน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดารใิ ห้ดาเนินการในกิจกรรมน้ี โดยกาหนด
เป้าหมายในการดาเนินงานให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และ
จดั ทาแผนประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยของตนให้ชดั เจน พรอ้ มท้ังวางแผนปฏิบัติงานรว่ มกันให้ชัดเจน
ผา่ นการประชมุ คณะกรรมการดาเนนิ งาน อพ.สธ. ของหนว่ ยงานน้ันๆ

แนวทางการดาเนินกิจกรรมสรา้ งจติ สานึกในการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร
1. งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น เป็นนวตั กรรมของการเรยี นรูเ้ พอื่ นาไปสู่การสรา้ งจติ สานึก

ในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของประเทศไทย นาไปสู่การพัฒนาคนให้เข้มแข็ง
รเู้ ทา่ ทันพรอ้ มรบั กับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก

1.1 อพ.สธ. กาหนดจุดมุ่งหมายในการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น โดยสรา้ ง
จิตสานึกให้เยาวชน นักเรยี นเข้าใจถึงความสาคัญและประโยชน์ของทรพั ยากร ให้รูจ้ ักหวงแหนและรูจ้ ักการ
นาไปใชป้ ระโยชน์อย่างยั่งยืนโดยมคี มู่ ือการดาเนนิ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นสถาบันการศึกษาสามารถสมัครเป็น

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนือ่ งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 31

สมาชิกงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นโดยตรงมาท่ี อพ.สธ. โดยสามารถติดต่อขอใบสมัครและตัวอย่าง
การสมคั รได้ท่ี

สานักงาน อพ.สธ. สนามเสือป่า พระราชวังดุสิต เขตดสุ ติ กทม. 10300
โทร. : 0-2280-8710, 0-2281-7999, 0-2281-8422 ต่อ 2219, 2220-22
โทรสาร : 0-2280-8710, 0-2281-7999, 0-2281-8422 ต่อ 2221
E-mail :[email protected]
ดาวนโ์ หลดใบสมคั รได้จากเว็บไซต์ อพ.สธ. (www.rspg.or.th)
http://www.rsps.or.th/botanical schoo/school bot 2.htm

1.2 อพ.สธ. กาหนดแนวทางและหลักเกณฑ์การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
คอื การทีส่ ถานศึกษาสมคั รเข้ามาเปน็ สมาชกิ ในงานสวนพฤกษศาสตร์ และคณุ คร/ู อาจารย์ นาพรรณไม้ทีม่ ีอยู่
ในโรงเรยี นไปเปน็ สอ่ื ในการเรยี นการสอนในวชิ าต่างๆ ทอี่ ยใู่ นหลกั สตู ร และสถานศึกษาถา้ สถานศึกษามีพ้ืนท่ี
สามารถใช้พื้นท่ีในสถานศึกษาเป็นที่รวบรวมพืชพรรณไม้ท้องถ่ินและรวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นที่เก็บ
พรรณไม้แห้ง พรรณไม้ดอง มีห้องสมุดสาหรบั ค้นคว้าและนางานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นใช้เป็นส่ือ
การเรยี นการสอนในวชิ าต่างๆ ใชป้ จั จยั พชื เปน็ ปัจจยั หลกั ในการเรยี นรถู้ ้าในกรณีทีส่ ถานศกึ ษาไม่มีพ้ืนทใ่ี นการ
สารวจหรอื เกบ็ รวบรวมพรรณพชื ให้ใช้พื้นท่ีที่อยู่รอบๆ โรงเรยี นและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ
ท่สี ถานศกึ ษาต้ังอยู่เพอื่ ใชพ้ ืน้ ทน่ี อกสถานศึกษา

1.3 สมาชิกสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นรว่ มกับองค์การบรหิ ารส่วนท้องถ่ินและชุมชน
ในการสารวจจดั ทาฐานทรพั ยากรท้องถิน่ นาไปสูก่ ารจดั ทาหลักสตู รท้องถ่ิน

1.4 สมาชิกงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ทบทวนและปรบั ปรุงการดาเนินงานสวน
พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นที่ทาอยู่เดิมให้ครบถ้วนตามคุณสมบัติและเกณฑ์มาตรฐานที่ อพ.สธ. กาหนดและ
นาไปสกู่ ารประเมนิ เพื่อรบั ป้ายพระราชทานและเกยี รติบตั รฯ

1.5 การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นของสมาชกิ ใหม่ ควรดาเนินงานให้เปน็ ไปตาม
คุณสมบัติและเกณฑ์มาตรฐานที่ อพ.สธ. กาหนดข้ึน และรบั คาแนะนาจากคณะผู้ทรงคุณวุฒิและที่ปรกึ ษา
อพ.สธ. ในงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น

1.6 อพ.สธ. ประสานรว่ มมือกับหน่วยงานหลักท่ีเก่ียวข้องดาเนินการจัดนิทรรศการแสดงผล
การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นตามแนวพระราชดารฯิ โดยคัดเลือกจากโรงเรยี นสมาชกิ ในระดับ
จงั หวดั ระดับภาค และระดับประเทศ โดยเนน้ และให้ความสาคัญในเรอ่ ื งกระบวนการ และผลลัพธก์ ารดาเนินงาน
เปน็ หลักอยา่ งนอ้ ยปีละหน่ึงครงั้

1.7 ส า นั ก ง า น ป ลั ดก ร ะท ร ว ง ศึ ก ษา ธิก าร ส า นั ก ง า น ส ภา กา ร ศึ กษ า ส า นั ก ง าน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการ
การอดุ มศกึ ษากระทรวงศึกษาธกิ าร และสานกั มาตรฐานการศึกษา สนับสนนุ ในการดาเนินงานรว่ มกับ อพ.สธ.
รว่ มกันพิจารณาและวางแผน เพื่อนาแนวทางดาเนินงาน อพ.สธ.บรรจุไว้ในหลักสตู รการเรยี นการสอนระดับ
ต่างๆ โดยเฉพาะในระบบโรงเรยี น

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 32

2. งานพิพิธภัณฑ์ เป็นการขยายผลการดาเนินงานเพ่ือเสรมิ สรา้ งกระบวนการเรยี นรู้ ไปสู่
ประชาชน กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ให้กว้างขวางยิ่งข้ึน โดยใช้การนาเสนอในรูปของพิพิธภัณฑ์ ซ่งึ เป็นส่ือเข้าถึง
ประชาชนทวั่ ไป ตัวอย่าง เชน่

2.1 งานพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติท่ีมีชีวติ ดาเนินการโดยศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาร ิ และจังหวัดต่าง ๆ จดั ทาแปลงสาธิตการปลูกรกั ษาเพื่ออนุรกั ษ์พันธุกรรมพืชในลักษณะโดยมี
กิจกรรมต่างๆ ท่ีถูกต้องและครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนดไว้ในพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ และ
พนื้ ทีอ่ ่นื ๆ ตามความเหมาะสม

2.2 งานพิพิธภัณฑ์พืชดาเนินการโดยหน่วยงานที่รว่ มสนองพระราชดาร ิเช่นกรมอุทยาน
แห่งชาติสัตวป์ ่าและพันธพุ์ ืช กรมป่าไม้ กรมวชิ าการเกษตร มหาวทิ ยาลัยต่าง ๆ หน่วยงานเหลา่ น้ีมผี ูเ้ ชย่ี วชาญ
นกั พฤกษศาสตร์ ดแู ลอยู่

2.3 งานพิพธิ ภณั ฑ์ธรรมชาติวทิ ยาดาเนินการโดยหน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดาร ิ เชน่
มหาวทิ ยาลยั เทคนโลยรี าชมงคลอีสาน จงั หวดั นครราชสีมาและมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ จ.ขอนแกน่ เปน็ ต้น

2.4 งานพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวทิ ยาเกาะและทะเลไทย เช่น พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวทิ ยาเกาะ
และทะเลไทย เขาหมาจอ ตาบลแสมสาร อาเภอสัตหีบ จงั หวัดชลบรุ ี สนองพระราชดาร ิ อพ.สธ.โดยกองทัพเรอื

2.5 งานพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น หอศิลปวัฒนธรรม ของจังหวัดและหน่วยงานท่ีรว่ มสนอง
พระราชดาร ิ

2.6 นทิ รรศการถาวรต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกับทรพั ยากรต่าง ๆ
2.7 ศูนยก์ ารเรยี นรู้

3. งานอบรม อพ.สธ. ดาเนินงานอบรมเรอ่ ื งงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น, งานฝึกอบรม
ปฏิบัติการสารวจและจดั ทาฐานทรพั ยากรท้องถิ่น หรอื งานที่เกี่ยวข้องกับการสรา้ งจิตสานึกในการอนุรกั ษ์
ทรพั ยากร โดยอาจจดั ณ ศูนย์ฝึกอบรมของ อพ.สธ. รว่ มกับหน่วยงานที่รว่ มสนองพระราชดาร ิท่ีกระจายอยู่
ตามภมู ภิ าคต่างๆ ตัวอยา่ งเชน่

1) ศนู ย์เรยี นรฯู้ สูเ่ ศรษฐกจิ พอเพียง อพ.สธ. ต.คลองไผ่ อ.สีควิ้ จ.นครราชสีมา
2) ศูนยเ์ รยี นรฯู้ สูเ่ ศรษฐกจิ พอเพียง อพ.สธ. อ.ไทรโยค จ.กาญจนบรุ ี
3) ศนู ยเ์ รยี นรฯู้ ส่เู ศรษฐกจิ พอเพียง อพ.สธ. อ.ตากฟ้า จ.นครสวรรค์
4) ศนู ยเ์ รยี นรฯู้ ส่เู ศรษฐกิจพอเพยี ง อพ.สธ. อ.วงั ม่วง จ.สระบุร ี
5) ศนู ยฝ์ ึกอบรม อพ.สธ. ลาตะคอง ต.คลองไผ่ อ.สีคว้ิ จ.นครราชสีมา
6) ศูนย์ฝึกอบรม อพ.สธ. เขาหมาจอ ต.แสมสาร อ.สัตหีบ จ.ชลบุร ี (พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติ
วทิ ยาเกาะและทะเลไทย) เขาหมาจอ อ.สตั หบี จ.ชลบุร ี โดย อพ.สธ.-ทร.
7) ศนู ยฝ์ กึ อบรม อพ.สธ. สวนสัตวเ์ ปิดเขาเขียว อ.ศรรี าชา จ.ชลบรุ ี โดย อพ.สธ.-อสส.
8) ศู น ย์ ว จิ ัย อ นุ รัก ษ์ พั ฒ น า ใ ช้ป ร ะ โ ย ช น์ ท รัพ ย า ก ร ท ะ เ ล อ พ . ส ธ . เ ก า ะ ท ะ ลุ
จ.ประจวบครี ขี ันธ์ (พืน้ ที่สนองพระราชดารขิ องมูลนิธฟิ ้ นื ฟูทรพั ยากร ทะเลสยาม และพ้นื ท่สี นองพระราชดารขิ อง
จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ)์
9) ศูนยป์ ระสานงาน อพ.สธ. ภาคเหนือ มหาวทิ ยาลัยแมโจ้ จ.เชยี งใหม่ โดย อพ.สธ. - มจ.
10) ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตสุราษฎรธ์ านี

โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 33

11) ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. ภาคใต้ฝ่ ังอันดามัน มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ศรวี ชิ ยั จ.ตรงั โดย อพ.สธ.- มทร.ศรวี ชิ ยั

12) ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. ภาคกลางตอนบน ศูนย์เครอื ข่ายการเรยี นรูเ้ พื่อภูมิภาค
จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย จ.สระบรุ ี โดย อพ.สธ.-จฬ.

13) ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. มหาวทิ ยาลัยมหิดล วทิ ยาเขตศาลายา จ.นครปฐม โดย
อพ.สธ.-ม.มหิดล

14) ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. มหาวทิ ยาลยั มหิดล วทิ ยาเขตอานาจเจรญิ จ.อานาจเจรญิ
โดย อพ.สธ.-ม.มหดิ ล

15) ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จ.นครราชสีมา
โดย อพ.สธ.- มทร.อสี าน

16) ศูนยป์ ระสานงาน อพ.สธ. มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแกน่ โดย อพ.สธ.-มข.
17) ศนู ย์ประสานงาน อพ.สธ. มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี โดย อพ.สธ.- มอบ.
18) ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ
อุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี โดย อพ.สธ.-มรภ.อบ.
19) ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. ภาคเหนือตอนล่าง มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
จ.อุตรดิตถ์ โดย อพ.สธ.-มรภ.อต.

หมายเหตุ

ถ้าหน่วยงานอ่ืนเป็นผูด้ าเนนิ งานจดั ฝึกอบรม จัดค่ายต่าง ๆ ภายใต้แนวทางการดาเนินงาน
และสนับสนุนงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นและงานฐานทรพั ยากรท้องถ่ินในลักษณะเดียวกัน ให้อยู่ใน
กิจกรรมท่ี 8 กิจกรรมพิเศษสนบั สนุนการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร

กิจกรรมท่ี 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนนุ การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร

เป้าหมาย

1. เพือ่ เปดิ โอกาสให้หนว่ ยงานต่าง ๆ ทั้งภาครฐั และเอกชน เข้ารว่ มสนบั สนุนงานของ อพ.สธ.
ในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในรูปของทุนสนับสนุน หรอื ดาเนินงานท่ีเกี่ยวข้องและสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ
ของ อพ.สธ. โดยอยู่ในกรอบของแผนแมบ่ ท อพ.สธ.

2. เพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชนและประชาช นได้สมัครเข้ามาศึกษาหาความรู้เกี่ย วกั บ
ทรพั ยากรธรรมชาติ

ในสาขาต่างๆ ตามความถนัดและสนใจ โดยมีคณาจารย์ผู้เช่ียวชาญในแต่ละสาขาให้
คาแนะนา และให้แนวทางการศึกษา โดยจดั ตั้งเปน็ ชมรมนกั ชวี วทิ ยา อพ.สธ.

3. เพ่ือรวบรวมนักวจิ ัย นักวชิ าการคณาจารย์ผู้เช่ียวชาญจากท้ังภาครัฐและเอกชน เป็น
อาสาสมัครและเข้ามาทางานตามแนวทางการดาเนินงานในกิจกรรมของ อพ.สธ. ทั้งส่วนตัวและผ่านทาง

โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพืชอนั เน่ืองมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 34

หน่วยงานที่ตนเองสังกัดอยู่ โดยจดั ตั้งเป็นชมรมคณะปฏิบัติงานวทิ ยาการ อพ.สธ. ซึ่งจะเป็นผู้นาในการถ่ายทอด
ความรแู้ ละสรา้ งจติ สานึกในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรของประเทศให้แก่เยาวชนและประชาชนชาวไทยต่อไป

4. เพ่อื สนบั สนุนองคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ เทศบาลตาบล เทศบาลเมือง ใหด้ าเนินงานสมัคร
สมาชิกเข้ามาในงานฐานทรพั ยากรท้องถิ่น โดย อพ.สธ. รว่ มกับหน่วยงานที่รว่ มสนองพระราชดาร ิ กาหนด
เป้าหมายในการดาเนินงานปี ให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และ
จัดทาแผนประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยของตนให้ชัดเจน พรอ้ มทั้งวางแผนปฏิบัติงานรว่ มกันให้ชัดเจน
ผา่ นการประชมุ คณะกรรมการดาเนินงาน อพ.สธ. ของหนว่ ยงานนัน้ ๆ

แนวทางการดาเนินกิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรกั ษ์ทรพั ยากร

1. อพ.สธ. เปน็ เจา้ ภาพรว่ มกับหน่วยงานที่รว่ มสนองพระราชดารทิ ี่มีความพรอ้ มในการดาเนินการ
จัดการประชุมวชิ าการและนิทรรศการ อพ.สธ. จัดการประชุมใหญ่ทุกๆ 2 ปี ตามท่ีได้พระราชทานพระราช
วนิ จิ ฉยั โดยมีการรว่ มจดั แสดงนิทรรศการกบั หน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดารทิ ุกหน่วยงาน นอกจากน้ันยัง
มีการจัดการประชุมวชิ าการและนิทรรศการสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น และฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน ระดับ
ภมู ภิ าครว่ มกับสมาชิกงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นและสมาชกิ งานฐานทรพั ยากรทอ้ งถิ่น โดยมีกาหนดการ
ประชุมฯ สาหรบั ในระยะ 5 ปีท่ีหก ดังนี้

พ.ศ. 2560 การประชุมวชิ าการและนทิ รรศการ ทรพั ยากรไทย : ศกั ยภาพมากล้นมใี หเ้ หน็
28 พฤศจกิ ายน - 4 ธนั วาคม 2560
พ.ศ. 2561 ณ ศูนย์เครอื ข่ายการเรยี นรเู้ พือ่ ภมู ิภาค จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั จ.สระบุร ี
พ.ศ. 2562 การประชมุ วชิ าการและนทิ รรศการสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นและงานฐานทรพั ยากรทอ้ งถนิ่
พ.ศ. 2563 ระดับภูมภิ าค ครงั้ ท่ี 5
พ.ศ. 2564 การประชมุ วชิ าการและนทิ รรศการ ทรพั ยากรไทย : ชาวบ้านไทยได้ประโยชน์
การประชมุ วชิ าการและนทิ รรศการสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นและงานฐานทรพั ยากรท้องถนิ่
ระดับภูมภิ าค ครง้ั ที่ 6
การประชุมวชิ าการและนทิ รรศการ ทรพั ยากรไทย : ประโยชน์แทแ้ ก่มหาชน

2. อพ.สธ. สนบั สนนุ ให้มกี ารนาเสนอผลงานวจิ ยั ของเจ้าหน้าทแ่ี ละนักวจิ ยั อพ.สธ. รวมถึง
งานของหนว่ ยงานที่รว่ มสนองพระราชดาร ิในงานประชุมวชิ าการต่างๆ ระดับประเทศ และต่างประเทศ และให้
มีการขออนุญาตในการนาเสนอผลงานทุกครง้ั

3. หนว่ ยงานภาครฐั เอกชน และผูม้ ีจติ ศรทั ธาสนบั สนนุ เงนิ ทนุ ให้ อพ.สธ. (โดยการทลู เกลา้ ฯ
ถวายโดยผ่านทางมลู นธิ ิ อพ.สธ. เพอ่ื ใชใ้ นกิจกรรม อพ.สธ.)

4. การดาเนินงานของชมรมนกั ชวี วทิ ยา อพ.สธ. และชมรมคณะปฏิบัติงานวทิ ยาการ อพ.สธ.
โดยท่ี อพ.สธ. สนับสนุนให้มีผู้สมัครเป็นสมาชิกชมรมฯ ตามเง่อื นไขของชมรมฯ โดยที่ชมรมท้ังสอง มีการ
ดาเนินงานสนับสนุนงานในกิจกรรมท่ี 1-7 ตามแผนแม่บทของ อพ.สธ. เช่นเข้าไปศึกษาทางานวจิ ยั ในพื้นที่
ปกปกั ทรพั ยากร อพ.สธ. รว่ มในกิจกรรมสารวจทรพั ยากรต่าง ๆ ในพน้ื ท่ีท่ี อพ.สธ. กาหนด

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อนั เน่อื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 35

5. หน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดาร ิ สามารถดาเนินการฝึกอบรมในการสรา้ งจิตสานึกในการ
อนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพืชและทรพั ยากรต่ง ๆ เพ่อื สนองพระราชดารติ ามแผนแม่บท อพ.สธ. เพ่อื สนบั สนนุ ในกิจกรรม
ที่ 1 - 7 ตามแผนแม่บทของ อพ.สธ. โดยอาจมีการฝึกอบรมตามสถานท่ีต่างๆ ของหน่วยงานน้ันๆ เอง หรอื ขอใช้
สถานท่ีของ อพ.สธ. โดยรว่ มกับวทิ ยากรของ อพ.สธ. หรอื เป็นวทิ ยากรของหน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดารเิ อง
แต่ผา่ นการวางแผนและเหน็ ชอบจาก อพ.สธ. และอบรมให้กับเครอื ขา่ ย อพ.สธ. เชน่ สมาชกิ งานสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรยี น และสมาชกิ งานฐานทรพั ยากรท้องถิ่น

6. การทาหลักสตู รท้องถิน่ ของมหาวทิ ยาลัยต่าง ๆ ตามแผนแม่บทของ อพ.สธ.
7. การเผยแพรโ่ ดยส่ือต่าง ๆ เช่น การทาหนังสือ วดี ีทัศน์ เอกสารเผยแพร่ เว็บไซต์
ประชาสัมพันธท์ ี่ได้รบั ความเห็นชอบจาก อพ.สธ. เพ่ือสนับสนุนงานกิจกรรมต่าง ๆ ของ อพ.สธ. สามารถใช้
สัญลักษณ์ของ อพ.สธ. ได้เมื่อได้รบั การพจิ ารณาและเห็นชอบจาก อพ.สธ.
8. การจัดงานประชุมวชิ าการและนิทรรศการต่าง ๆ ของหน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดาร ิ
ในส่วนทเ่ี ผยแพรง่ านของ อพ.สธ. และได้รบั ความเหน็ ชอบจาก อพ.สธ.
9. หนว่ ยงานเอกชน หรอื บคุ คลทั่วไป สมคั รเปน็ อาสาสมคั รในการรว่ มงานกบั อพ.สธ.
10. การดาเนนิ งานอ่นื ๆ เพอื่ เปน็ การสนับสนนุ งานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ.
11. องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สมัครเข้ามางานฐานทรพั ยากรท้องถ่ินองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ิน เทศบาลตาบล เทศบาลเมือง สามารถสนองพระราชดาร ิ โดยการสมัครเข้ามาเป็นสมาชิกและ
ดาเนินงานฐานทรพั ยากรท้องถิ่นโดยตรงกับ อพ.สธ. สามารถดาเนินงานครอบคลุมท้ังสามฐานทรพั ยากร
(ทรพั ยากรกายภาพ ทรพั ยากรชีวภาพ และทรพั ยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา) โดยท่ีมีคณะกรรมการ
ดาเนนิ งานฐานทรพั ยากรทอ้ งถิ่น อพ.สธ. ตาบล ทส่ี นองพระราชดาร ิมี 3 ด้าน ได้แก่

1. ด้านบรหิ ารและด้านจดั การ
2. ด้านการดาเนินงาน ซงึ่ แบง่ เปน็ อีก 6 งาน ได้แก่

1) งานปกปกั ทรพั ยากรท้องถ่ิน
2) งานสารวจเกบ็ รวบรวมทรพั ยากรท้องถนิ่
3) งานปลูกรกั ษาทรพั ยากรทอ้ งถิน่
4) งานอนรุ กั ษแ์ ละใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากรทอ้ งถนิ่
5) งานศนู ย์ข้อมลู ทรพั ยากรท้องถิ่น
6) งานสนบั สนุนในการอนรุ กั ษแ์ ละจดั ทาฐานทรพั ยากรท้องถ่นิ
3. ด้านผลการดาเนินงาน โดยที่ทางองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สามารถทาหนังสือเข้ามา
สนองพระราชดารโิ ดยตรง การแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน อพ.สธ. ตาบลที่รว่ มสนอง
พระราชดาร ิ จัดทาแผนแม่บทโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพ
รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารฐี านทรพั ยากรท้องถ่ิน ตาบลท่ีสนองพระราชดาร ิ และนาไปส่กู ารประเมินเพื่อรบั
การประเมินรบั ป้ายพระราชทานในการสนองพระราชดารใิ นงานฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอนั เน่อื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 36

ประโยชน์จากการเปน็ สมาชกิ งานฐานทรพั ยากรทอ้ งถนิ่

1. สนับสนุนงานปกติท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีหน้าที่ความรบั ผิดชอบท่ีต้องทราบใน
เรอ่ ื งข้อมูลทางกายภาพ ข้อมูลชีวภาพ เศรษฐกิจสังคม ศักยภาพชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อนา
ภูมิปัญญานั้นไปพฒั นาต่อยอด เปน็ ผลิตภณั ฑต์ ่าง ๆ ท่ที าใหเ้ ปน็ มาตรฐานสากล

2. สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทางานใกล้ชิดกับสถานศึกษาท่ีอยู่ในพ้ืนที่ประสาน
กับชุมชนและโรงเรยี น เพ่ือมาเป็นกาลังในการรว่ มสารวจและจัดทาฐานทรพั ยากรท้องถ่ินระดับ ตาบล/เทศบาล
เกดิ การสรา้ งจติ สานึกในการรกั ท้องถ่ินใหก้ ับนักเรยี นและประชาชนในท้องถ่ินนั้นๆ เพราะสถานศึกษา มหี ลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปี พ.ศ.2551 ซ่ึงบ่งชี้ว่าในสาระวทิ ยาศาสตร์ นักเรยี นจะต้องทราบในเร่อื ง
ทรพั ยากรในท้องถิ่น และการใช้ทรพั ยากรในท้องถิ่น นั่นคือจะต้องมีภูมิปัญญามากากับการใช้ประโยชน์ เช่น
พืชผักพ้ืนเมือง พืชสมุนไพร และยังสามารถบูรณาการไปยังกลุ่มสาระสังคมส่ิงแวดล้อม เมื่อมีการทางานรว่ ม
ระหวา่ งองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ จะได้ข้อมลู ทรพั ยากรท่ีเปน็ ปัจจบุ ันในการวางแผนพัฒนา อปท.

3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ข้ึนทะเบียนทรพั ยากรท้องถิ่นตามรูปแบบการทาทะเบียน
ทรพั ยากรต่างๆ ของ อพ.สธ. ให้กับท้องถิ่นของตนเอง เพื่อนาไปสู่การยืนยันสิทธใ์ิ นการเป็นเจ้าของทรพั ยากร
นาไปสู่การเป็นหลักฐานในการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indication) และการ
ข้ึนทะเบียนอื่นๆ ต่อไป และเป็นการยืนยันสิทธิ์ความเป็นเจ้าของทรพั ยากรต่าง ๆ เพื่อเตรยี มพร้อมสาหรับ
การเข้าถึงและแบ่งปันผลประโยชน์จากการใช้ทรพั ยากรนั้น ๆ ที่มีอยู่ในท้องถิ่น ตามพิธสี ารนาโงย่า (Nagoya
protocol)

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพืชอนั เน่ืองมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 37

การดาเนินงานสนองพระราชดารโิ ครงการอนุรกั ษ์พันธกุ รรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดาร ิ
สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี(อพ.สธ.)
ของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี
………………………………………..

โครงการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดารสิ มเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมาร ี(อพ.สธ.) เป็นโครงการที่สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ีทรงสืบสาน
พระราชปณิธาน ในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช ซงึ่ ทรงมีสาย
พระเนตรยาวไกล โดยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงให้ ความสาคัญและ
เห็นความสาคญั ของการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพชื ตัวอยา่ งที่เห็นได้ชดั ในปี พ.ศ.๒๕0๓ ทรงอนุรกั ษ์ต้นยางนา และ
ในปี พ.ศ.๒๕0๔ ทรงใหน้ าพรรณไม้ จากภมู ภิ าคต่างๆ มาปลูกไวใ้ นสวนจติ รลดา เพื่อเปน็ แหล่งศึกษาและทรง
มีโครงการพระราชดารทิ ี่เกี่ยวกับการอนุรกั ษ์พัฒนาทรพั ยากร พัฒนาแหล่งน้า การอนุรกั ษ์และพัฒนาดิน
อนรุ กั ษ์ทรพั ยากรป่าไม้ เป็นการอนุรกั ษ์และพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๕ สมเด็จพระเทพ
รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี ได้ทรงสืบทอดพระราชปณิธานต่อโดยมีพระราชดารกิ ับนายแก้วขวัญ
วัชโรทัย เลขาธิการพระราชวัง ให้ดาเนินการอนุรกั ษ์พืชพรรณของประเทศ โดยพระราชทานให้โครงการ
ส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ฝ่ายวชิ าการเป็นผู้ดาเนินการจัดต้ังธนาคารพืชพรรณขึ้น ในปี พ.ศ.๒๕๓๖-๒๕๔๙
โดยรบั ทุนสนบั สนุนจากสานักงานคณะกรรมการพิเศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ
(กปร.) และเป็นหน่วยงานขึ้นตรงกับเลขาธิการพระราชวัง ต้ังแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๙ และต่อมาในปีงบประมาณ
พ.ศ.๒๕๕0 สานกั พระราชวงั ดาเนนิ การจดั สรรงบประมาณให้ และให้ อพ.สธ. ดาเนินการแยกส่วนอยา่ งชดั เจน
จากโครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา การดาเนินงาน อพ.สธ. ดาเนินงานโดยอยู่ภายใต้แผนแม่บท ซ่งึ เป็น
ระยะ ๆ ละห้าปี ต้ังแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๕ เป็นต้นมาจนมาถึงแผนท่หี ก จงึ เรยี กวา่ แผนแมบ่ ท อพ.สธ. ระยะ ๕ ปที ่ีหก

การดาเนินงาน อพ.สธ. ต้ังแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๕ จนถึงปัจจุบันมีหน่วยงานต่างๆ รว่ มสนอง
พระราชดาร ิ เพิ่มข้ึนมากกว่า ๗๗๖ หน่วยงาน สมาชิกสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นซึ่งเป็นสถานศึกษาเป็น
สมาชิกมากกว่า ๓,๐๒๘ โรงเรยี น (ข้อมูล ณ วันท่ี ๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐) ในแผนแม่บทระยะ ๕ ปีที่ห้า อพ.สธ.
กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น ขอเข้ารว่ มสนองพระราชดาร ิ โดยพระราชานุญาตให้เป็นหน่วยงานที่รว่ ม
สนองพระราชดาร ิ อพ.สธ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่ิน เป็นนโยบาย
สนับสนนุ ให้องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นในการดาเนนิ งานฐานทรพั ยากรทอ้ งถ่ินซงึ่ ดาเนนิ งานอยู่ภายใต้กรอบ

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรมพืชอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 38

การสรา้ งจติ สานึก กิจกรรมที่ ๘ กจิ กรรมพเิ ศษสนับสนุนการอนุรกั ษ์ทรพั ยากร โดยใหม้ ีสมาชกิ ฐานทรพั ยากร
ทอ้ งถ่ินในอาเภอละหน่งึ ตาบล/หนง่ึ เทศบาลเป็นอยา่ งน้อย โดยเรม่ ิ ต้นการสารวจฐานทรพั ยากรทอ้ งถิ่นที่มีอยู่
จรงิ ว่ามีอะไรอยู่ทไ่ี หน และเรม่ ิ การดูแลอนรุ กั ษแ์ ละใช้ประโยชนอ์ ย่างย่ังยืนในทรพั ยากรท้องถนิ่ ทมี่ ีอยู่นาไปสู่
การวางแผนพัฒนาตาบล บนพื้นฐานของทรพั ยากรที่มีอยู่จรงิ โดยเรม่ ิ ต้ังแต่การสารวจและการทาฐานขอ้ มูล
ทรพั ยากรท้องถิ่นซ่ึงประกอบด้วย ๓ ฐานทรพั ยากร ได้แก่ ทรพั ยากรชวี ภาพ สิ่งท่ีมีชวี ติ , ทรพั ยากรกายภาพ
(สิ่งท่ีไม่มีชวี ติ ) และทรพั ยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ทาให้พื้นที่และกิจกรรมดาเนินงานของโครงการฯ
กระจายออกไปในภูมิภาคต่างๆ และมีการดาเนินงานที่หลากหลายมากขึ้น การดาเนินงานในแผนแม่บท
ทุกระยะ ๕ ปีท่ีผ่านมาของ อพ.สธ. ได้ดาเนินการสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
มาโดยตลอด และในแผนแม่บทระยะ ๕ ปีท่ีหกนี้ มแี นวทางดาเนินการท่สี อดคล้องและสนับสนุนแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (ปงี บประมาณ พ.ศ.๒560 - ๒๕๖๔) ซง่ึ มกี รอบแนวคดิ และหลักการ
ในการวางแผนที่สาคัญ ได้แก่ ๑) การน้อมนาและประยุกต์ใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒) คนเป็น
ศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมีส่วนรว่ ม ๓) การสนับสนุนและส่งเสรมิ แนวคิดการปฏิรูปประเทศ และ
๔) การพัฒนาสู่ความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เพ่ือให้สังคมอยู่รว่ มกันอยา่ งมีความสุข ซึ่งกรอบแนวความคิดทั้งสี่
น้นั ลว้ น แต่ต้องดาเนินการภายใต้การดูแลรกั ษาทรพั ยากรและการนามาใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งย่ังยนื ย่งิ ไปกวา่ น้ัน
อพ.สธ. ยังมีกิจกรรมตามกรอบแผนแม่บท อพ.สธ. ที่สอดคล้องกับแผนการขับเคล่ือนและปฏิรูประบบวจิ ัย
แบบบูรณาการของประเทศและกรอบยุทธศาสตรก์ ารวจิ ยั แห่งชาติ ๒๐ ปี ท้ัง ๗ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ๑) ด้าน
ความมั่นคง ๒) ด้านการเกษตร ๓) ด้านอุตสาหกรรม ๔) ด้านสงั คม 5)ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุข ๖) ด้าน
พลังงาน ๗) ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ือให้สง่ ผลประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชนให้
มากที่สุด เพ่ือการบรหิ ารจัดการความรูผ้ ลงานวจิ ัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ทรพั ยากรและภูมิปัญญาของ
ประเทศสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์และสาธารณะ ด้วยยุทธวธิ ที ่ีเหมาะส มท่ีเข้าถึงประชาชน และประชา
สังคมอย่างแพรห่ ลาย แผนแม่บท อพ.สธ. ระยะ ๕ ปีท่ีหก (ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ - กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๔)
เป็นแผนแม่บทท่ีจัดทาข้ึน เพื่อใช้เป็นกรอบในการดาเนินงานตามแนวทางพระราชดารสิ มเด็จพระเทพ
รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี โดยมีหน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดาร ิ เข้ามามีส่วนรว่ มวางแผนงาน
ทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคท่ัวประเทศไทยทั้งภาครฐั และเอกชนให้มีแนวทางดาเนินงานต่อเน่ือง
ตามกรอบแผนแม่บทโดยเน้นการทางานเข้าไปสรา้ งจิตสานึกในการรกั ษาทรพั ยากรตั้งแต่ในสถานศึกษา
ดาเนินงานในระดับท้องถ่ินในการทาฐานข้อมูลทรพั ยากรท้องถ่ินซ่ึงประกอบด้วย ๓ ฐานทรพั ยากร ได้แก่
ทรพั ยากรชีวภาพ, ทรพั ยากรกายภาพ และ ทรพั ยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญา จากฐานข้อมูลดังกล่าว
จะนาไปสกู่ ารอนุรกั ษ์และใชป้ ระโยชนอ์ ย่างย่ังยืนบนพ้ืนฐานของการมีจติ สานึกในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรที่มีอยู่
ในประเทศไทยต่อไป

ในปีงบประมาณ ๒๕๖0 (ตลุ าคม ๒๕๕๙ - กันยายน ๒๕๖0) อพ.สธ. ได้ดาเนินกจิ กรรมต่างๆ
ให้สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากสานักพระราชวัง โดยดาเนินการต่อเนื่องจาก
ปงี บประมาณท่ผี ่านมา รวมทัง้ การแนะนาและประสานงานกับหนว่ ยงานทีร่ ว่ มสนองพระราชดารถิ ึงงบประมาณ
และการดาเนินงานในปี ๒๕65 ให้เป็นไปตามกรอบแผนแม่บทระยะ ๕ ปีท่ีหกของ อพ.สธ. โดยเน้นในเรอ่ ื ง
การทาฐานทรพั ยากรท้องถน่ิ โดยประสานองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ สามารถสมัครมารว่ มสนองพระราชดาร ิ
ได้โดยตรงกับ พ.สร. และรว่ มดาเนินงานฐานทรพั ยากรท้องถ่ิน เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย

โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อนั เน่อื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 39

ทก่ี าหนดไว้ขา้ งต้น โดยที่ อพ.สธ.สนับสนุนและรว่ มมือกับหน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดารจิ ดั ทาแผนปฏิบัติ
งานในกิจกรรมต่างๆ ภายใต้แผนแม่บทในแต่ละปีงบประมาณ ตลอดระยะเวลา ๕ ปี ให้สอดคล้องกับ
แนวทางการดาเนนิ งานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. หน่วยงานท่ีรว่ มสนองพระราชดารจิ ดั ทาแผนปฏิบัติ
งานประจาปีเฉพาะในส่วนของหน่วยงานของตนให้ชดั เจน โดยระบุสาระสาคัญในการดาเนินงาน เชน่ พ้ืนท่ี
เป้าหมายในการดาเนินงาน วธิ ีการและขั้นตอนการดาเนินงาน และการบรหิ ารจัดการ โดยเฉพาะเร่อื ง
ผู้รบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิงานและงบประมาณในการดาเนินงาน โดยมี อพ.สธ. เปน็ ผสู้ นับสนนุ แผนปฏบิ ัติงาน
ประจาป/ี โครงการภายใต้แผนแม่บทของ อพ.สธ.ไปยังแหลง่ ทนุ ต่างๆ ต่อไป

การดาเนินงานตามแนวทางพระราชดาร ิ ในเรอ่ ื งของการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรในระยะ ๒๕ ปี
ที่ผ่านมาของ อพ.สธ. ทาให้ อพ.สธ. ขอพระราชทานพระราชานญุ าติในการเปลี่ยนชือ่ กิจกรรมท้ัง ๘ กิจกรรม
ของ อพ.สธ. ท่ีอยู่ภายใต้กรอบการดาเนินงานท้ัง ๓ ฐานทรพั ยากร เพ่ือให้ชื่อของกิจกรรมได้ส่ือถึงงาน
ทด่ี าเนนิ งานในกจิ กรรมได้ชดั เจนมากยิ่งข้ึนดังนี้

กจิ กรรมท่ี ๑ กจิ กรรมปกปักทรพั ยากร
กจิ กรรมที่ ๒ กิจกรรมสารวจเกบ็ รวบรวมทรพั ยากร
กิจกรรมท่ี ๓ กิจกรรมปลกู รกั ษาทรพั ยากร
กิจกรรมที่ ๔ กิจกรรมอนรุ กั ษ์และใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากร
กิจกรรมท่ี ๕ กจิ กรรมศูนย์ขอ้ มูลทรพั ยากร
กิจกรรมท่ี ๖ กิจกรรมวางแผนพฒั นาทรพั ยากร
กิจกรรมที่ 7 กจิ กรรมสรา้ งจติ สานึกในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากร
กจิ กรรมท่ี ๘ กจิ กรรมพิเศษสนับสนุนการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร
ปัจจบุ นั อพ.สธ. มกี ารดาเนนิ งานใน ๘ กิจกรรม โดยแบ่งตามกรอบการดาเนินงาน ๓ กรอบ
การดาเนนิ งาน ได้แก่
๑. กรอบการเรยี นรทู้ รพั ยากร ประกอบด้วย
กจิ กรรมที่ ๑ กิจกรรมปกปกั ทรพั ยากร
กจิ กรรมท่ี ๒ กิจกรรมสารวจเก็บรวบรวมทรพั ยากร
กิจกรรมท่ี 3 กิจกรรมปลกู รกั ษาทรพั ยากร
๒. กรอบการใชป้ ระโยชน์ ประกอบด้วย
กิจกรรมที่ ๔ กิจกรรมอนุรกั ษ์และใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากร
กจิ กรรมที่ ๕ กิจกรรมศูนยข์ อ้ มลู ทรพั ยากร
กิจกรรมท่ี ๖ กจิ กรรมวางแผนพัฒนาทรพั ยากร
๓. กรอบการสรา้ งจติ สานึก ประกอบด้วย
กจิ กรรมท่ี ๗ กจิ กรรมสรา้ งจติ สานึกในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากร
กจิ กรรมที่ ๘ กจิ กรรมพเิ ศษสนบั สนุนการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 40

เป้าหมาย
๑. เพื่อนาทรพั ยากรท่ีมีค่าใกล้สูญพันธุ์ หรอื ต้องการเพ่มิ ปรมิ าณ เพ่ือนามาใชป้ ระโยชน์จาก

พื้นท่ีในกิจกรรมที่ ๑และกิจกรรมท่ี ๒ ทาการคัดเลือกมาเพื่อดาเนินงานเป็นกิจกรรมต่อเน่ืองโดยการนา
พนั ธกุ รรมทรพั ยากรชวี ภาพต่างๆ ไปเพาะพนั ธุ์ ปลกู เล้ียง และขยายพนั ธเุ์ พ่มิ ในพื้นท่ีที่ปลอดภัย เรยี กว่าพน้ื ท่ี
ปลูกรกั ษาทรพั ยากร

๒. ส่งเสรมิ ให้เพ่ิมพนื้ ท่แี หล่งรวบรวมพนั ธทุ์ รพั ยากรตามพื้นที่ของหนว่ ยงานต่างๆ (ex-situ)
ทั้งในแปลงเพาะขยายพันธุ์ ห้องปฏิบัติ การฯ แหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ เช่น ในศูนย์ศึกษาการพัฒนา
อนั เน่ืองมาจากพระราชดาร ิ ท่ีมีอยู่ ๖ ศนู ย์ท่ัวประเทศ พ้นื ที่ศูนย์วจิ ยั และสถานที ดลองของกรมวชิ าการเกษตร
สวนสัตว์ฯ พ้ืนท่ีจังหวัด พ้ืนท่ีสถาบันการศึกษาที่เข้ารว่ มสนองพระราชดาร ิเป็นลักษณะของสวนพฤกษศาสตร์
สวนรุกขชาติ ปา่ ชุมชนที่รว่ มสนองพระราชดาร ิ และยงั มีการเกบ็ รกั ษาในรปู เมลด็ เนอ้ื เยอ่ื และสารพันธุกรรม
ในห้องปฏิบัติการฯ ในหน่วยงานต่างๆ รวมถึงการเก็บรกั ษาพันธุกรรมต่างๆ ในธนาคารพืชพรรณ อพ.สธ.
สวนจิตรลดา เก็บในรูปสารพันธุกรรมหรอื ดีเอ็นเอ และศูนย์อนุรกั ษ์พันธุกรรมพืช อพ.สธ. คลองไผ่ โดยท่ี
อพ.สธ. ดาเนนิ การประสานงาน สนับสนุนด้านวชิ าการรว่ มกบั หน่วยงานที่รว่ มสนองพระราชดาร ิ เชน่ จงั หวัดต่างๆ
กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองทัพอากาศ กรมวชิ าการเกษตร
สถาบันการศึกษาต่างๆ ฯลฯ กาหนดพื้นที่เป้าหมายในการดาเนินงานสารวจเก็บรวบรวมทรัพยากร
ให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามกรอบแผนแม่บทของ อพ.สธ. และจัดทาแผนประจาปี เฉพาะ
ในส่วนของหน่วยงานของตนให้ชัดเจน พรอ้ มท้ังวางแผนปฏิบัติงานรว่ มกันให้ชัดเจนทั้งในเรอ่ ื งวธิ กี าร และ
ข้ันตอนการดาเนินงานและการบรหิ ารจัดการ โดยเน้นการดาเนินงานในพ้ืนที่เป้าหมายเดิมให้แล้วเสรจ็
เป็นลาดับแรกก่อนพิจารณาขยายผลออกไป โดยแต่ละหน่วยงานเป็นผู้รับผิดชอบและเป็นแกนกลาง
ดาเนินงานในพ้ืนท่ีรบั ผิดชอบของหน่วยในแต่ละพ้ืนที่ ทั้งน้ี มีการประชุมคณะกรรมการดาเนินงาน อพ.สธ.
ของหน่วยงานนน้ั ๆ

แนวทางการดาเนินกิจกรรมปลูกรกั ษาทรพั ยากร
- ทรพั ยากรพันธกุ รรมพืช
๑. การปลูกรักษาต้นพันธุกรรมพืชในแปลงปลูก การปลูกรกั ษาต้นพืชมีชีวติ ลักษณะป่า
พันธุกรรมพืชมีแนวทางดาเนินงานคือ สารวจสภาพพื้นท่ีและสรา้ งสิ่งอานวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน
งานขยายพันธุพ์ ืช งานปลูกพันธุกรรมพชื และบันทึกผลการเจรญิ เติบโต งานจดั ทาแผนท่ีต้นพันธุกรรมและทา
พิกดั ต้นพันธกุ รรม
๒. การตรวจสอบพชื ปราศจากโรคกอ่ นการเก็บรกั ษาพนั ธุกรรมพืชในรูปแบบต่างๆ
๓. การเก็บรกั ษาทั้งในรูปของเมล็ด ในระยะส้ัน ระยะกลาง และระยะยาว ในรูปของธนาคาร
พนั ธกุ รรมศึกษาหาวธิ กี ารเกบ็ เมลด็ พนั ธุ์ และทดสอบการงอกของเมล็ดพนั ธุ์
๔. การเก็บรกั ษา โดยศึกษาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชแต่ละชนิด ศึกษาการฟอก
ฆ่าเชอ้ื ศึกษาสูตรอาหารท่ีเหมาะสม ศึกษาการเก็บรกั ษาโดยการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือในระยะสั้น ระยะกลาง
ระยะยาว และในไนโตรเจนเหลว (cryopreservation) และการขยายพนั ธโุ์ ดยการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อ
๕. การเก็บรกั ษาในรูปสารพันธุกรรม (DNA) เพื่อการนาไปใช้ประโยชน์ เช่น การวเิ คราะห์
ลายพมิ พด์ ีเอน็ เอ การปรบั ปรงุ พันธพุ์ ชื เปน็ ต้น

โครงการอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรมพืชอนั เนื่องมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 41

๖. การดาเนนิ งานในรปู ของสวนพฤกษศาสตร์ สวนรกุ ขชาติ สวนสาธารณะต่างๆ การปลูกพืช
ในสถานศกึ ษาโดยมรี ะบบฐานข้อมลู ทสี่ ามารถใชป้ ระโยชนไ์ ด้ในอนาคต

- ทรพั ยากรพันธกุ รรมสัตว์และทรพั ยากรพันธกุ รรมอื่น ๆ

ให้ดาเนินการให้มีสถานท่ีเพาะเล้ียงหรอื ห้องปฏิบัติการท่ีจะเก็บรกั ษา เพาะพันธุ์/
ขยายพนั ธตุ์ ามมาตรฐานความปลอดภยั โดยมีแนวทางการดาเนินงานคลา้ ยคลึงกบั การดาเนนิ งานใน
ทรพั ยากรพันธกุ รรมพืช ขา้ งต้น

หมายเหตุ ขอ้ มลู ทไี่ ด้จากกจิ กรรมปลูกรกั ษาทรพั ยากร สามารถนาไปจดั การและเก็บ
เข้าสู่งานฐานข้อมูลในกิจกรรมที่ ๕ กจิ กรรมศนู ย์ขอ้ มลู ทรพั ยากรและนาไปสกู่ ารดาเนินงานในกิจกรรม
อ่นื ๆ ต่อไป

เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดารฯิ
เป้าหมาย
๑. เพ่ือพัฒนาบุคลากร
๒. อนุรกั ษแ์ ละพฒั นาทรพั ยากรพนั ธกุ รรมพชื และทรพั ยากรให้เกิดประโยชนถ์ งึ
มหาชนชาวไทย
วัตถปุ ระสงค์
๑. ให้เข้าใจและเห็นความสาคัญของพนั ธกุ รรมพชื และทรพั ยากร
๒. ให้รว่ มคดิ รว่ มปฏิบตั ิ จนเกดิ ประโยชน์ถึงมหาชนชาวไทย
๓. ใหม้ ีระบบข้อมลู พนั ธกุ รรมพชื และทรพั ยากร ส่ือถงึ กนั ได้ทว่ั ประเทศ

แผนแม่บทของ อพ.สธ. ดาเนินงานใน ๓ ฐานทรพั ยากร ได้แก่

๑. ทรพั ยากรกายภาพ
๒. ทรพั ยากรชวี ภาพ
3. ทรพั ยากรวฒั นธรรมและภูมปิ ัญญา
การดาเนินงานสนองพระราชดารโิ ครงการอนรุ กั ษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ
สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.) ของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี
กรมการพฒั นาชมุ ชน ได้อนุมัติให้ศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชน และวทิ ยาลัยการพัฒนาชุมชน
ดาเนินโครงการส่งเสรมิ การอนรุ กั ษ์พันธกุ รรมพชื ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ประจาปีงบประมาณ
๒๕๖๒ โดยจดั ทาปา้ ยประชาสมั พันธโ์ ครงการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพืชอนั เนอื่ งมาจากพระราชดารสิ มเด็จพระเทพ
รตั นราชสุดาฯสยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.) จานวน ๒๘ ป้าย (ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ๑๑ แห่ง จานวน
๒๖ ป้าย และวทิ ยาลยั การพัฒนาชมุ ชน จานวน ๒ ป้าย)
ศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนชลบุร ี ได้รบั การจดั สรรงบประมาณโครงการส่งเสรมิ การอนุรกั ษ์
พันธุกรรมพืชตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ เพ่ือเป็นค่าใช้จา่ ยใน

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพชื อนั เน่อื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 42

การจัดทาป้าย รวมเป็นเงนิ 7,๐๐0 บาท (เจ็ดพันบาทถ้วน) โดยจดั ทาป้าย "โครงการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพืช
อนั เน่ืองมาจากพระราชดารสิ มเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)" จานวน ๑ ป้าย ติดตั้ง
ไว้ภายในรว้ั บรเิ วณทางเข้าศูนย์ฯ เดือนกันยายน ๒๕๖๓ สถาบันการพัฒนาชุมชน ให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนา
ชุมชนชลบุร ี ดาเนินงานสนองพระราชดารโิ ครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ
สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.) ดังนี้

๑. ศกึ ษาแนวทางการดาเนินงานโครงการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อนั เนื่องมาจากพระราชดาร ิ
สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯสยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.) ทางเว็บไซต์ www.rspg.o.th และแบนเนอร์
"แอนนิเมชนั่ งานฐานทรพั ยากรทอ้ งถนิ่ "

๒. รายงานผลการดาเนินงานสนองพระราชดารโิ ครงการอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนอ่ื งมาจาก
พระราชดารสิ มเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.) ตามแบบรายงานทุกวันที่ ๒๑ ของเดือน
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี ได้ดาเนินงานสนองพระราชดาร ิ "โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
อันเนื่องมาจากพระราชดารสิ มเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.) ตั้งแต่เดือน
ตลุ าคม ๒๕๖๓ พรอ้ มรายงานผลการดาเนินงานฯใหส้ ถาบนั การพัฒนาชุมชน ทุกวันท่ี ๒๑ ของเดือน

3. ปีงบประมาณ 2564 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชนชลบุร ีได้ดาเนินการสารวจพันธุไ์ ม้ที่ยงั
มิได้จดั เก็บข้อมูล เพ่ือจับพิกัด ทารหัสพันธุไ์ ม้ บันทึกข้อมูลระบบโปรแกรม GIS และจัดทาป้าย QR Code
ในพ้ืนทศ่ี นู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชนชลบุร ี จดั หาพันธไุ์ ม้พื้นถ่นิ พันธุไ์ ม้ใกลส้ ญู พนั ธ(์ สาหรบั อนรุ กั ษ์) สมนุ ไพร
พืน้ ถ่ิน พันธไุ์ ม้ใหส้ ี สาหรบั ปลูกในพน้ื ท่ีศูนย์ศึกษาและพฒั นาชมุ ชนชลบุร ี

4. ปีงบประมาณ 2565 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี ได้ดาเนินการจัดทานิทรรศการ
เพ่ือให้ความรคู้ วามเขา้ ใจโครงการ อพ.สธ. การจดั ทาฐานการเรยี นรโู้ ครงการ อพ.สธ. การจดั ทาฐานการเรยี นรู้
พืชพ้ืนถ่นิ หายากและสมุนไพรพืน้ ถน่ิ และปรบั ปรุงปา้ ยพนั ธุไ์ ม้

โครงการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 43

ภาคผนวก

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพืชอนั เน่อื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 44

แผนผังต้นไมภ้ ายในบรเิ วณศูนยศ์ ึกษาและพัฒนา

ชุมชนชลบรุ ชี ลบุร ี

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เน่อื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 45

1. โซนหอพัก ขอ้ มูลพรรณไม้ต่างๆ ของศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี

ชมุ ชนชลบรุ ชี ลบุร ี

2. โซนอาคารพระยาสัจจา

โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนื่องมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 46

3. โซนตึกอานวยการ

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนื่องมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุร ี 47

4. โซนอาคารบรรยาย

5. โซนบา้ นพัก

โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรมพืชอนั เน่อื งมาจากพระราชดาร ิ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี (อพ.สธ.)


Click to View FlipBook Version