The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. (2565). สูจิบัตรการแสดงนิทรรศการศิลปะร่วมสมัย Imagination of Hypothesis: จินตภาพแห่งสมมติฐาน โดย ศิลปินแห่งชาติ ศิลปินจากสถาบันการศึกษาด้านศิลปกรรม และคณาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี เนื่องในวาระ 6 รอบ 72 ปี ศาสตราจารย์เกียรติคุณสุชาติ เถาทอง. ระหว่างวันที่ 21-31 สิงหาคม 2565 ณ หอศิลป์ BTU Gallery คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.
บรรณาธิการ: สุริยะ ฉายะเจริญ
เจ้าของและผู้จัดทำ : คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by artdesign.btu, 2022-08-18 04:36:11

สูจิบัตรนิทรรศการศิลปะร่วมสมัย Imagination of Hypothesis จินตภาพแห่งสมมติฐาน

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. (2565). สูจิบัตรการแสดงนิทรรศการศิลปะร่วมสมัย Imagination of Hypothesis: จินตภาพแห่งสมมติฐาน โดย ศิลปินแห่งชาติ ศิลปินจากสถาบันการศึกษาด้านศิลปกรรม และคณาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี เนื่องในวาระ 6 รอบ 72 ปี ศาสตราจารย์เกียรติคุณสุชาติ เถาทอง. ระหว่างวันที่ 21-31 สิงหาคม 2565 ณ หอศิลป์ BTU Gallery คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.
บรรณาธิการ: สุริยะ ฉายะเจริญ
เจ้าของและผู้จัดทำ : คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

Keywords: คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี,สูจิบัตรการแสดงนิทรรศการศิลปะร่วมสมัย Imagination of Hypothesis: จินตภาพแห่งสมมติฐาน,ศิลปะร่วมสมัย,ศิลปิน,ศิลปินแห่งชาติ,ศาสตราจารย์เกียรติคุณสุชาติ เถาทอง

ธาตรี เมืองแกว้

Thatree Muangkaew

Plant of Imagination ๓๐๕๖๕ (2565/ 2022)
Size 500x100x200 cm.

Bring pottery containers from Tao Hong Tai factory, Ratchaburi province.
Let's assemble them into ceramic sculptures to decorate the landscape of
Silpakorn University, Sanam Chandra Palace Campus.

50

นวตั เลิศแสวงกิจ
Nawat Lertsawaengkit
Tawal of anarchy. (2022)
Size 80x100 cm.
Mixed Media

51

พรพิมล ศกั ดา
Pornpimon Sakda
“ลูก” ศิษย์ (2565)
Disciples (2022)
Size 100x100 cm.
COMPUTER GRAPHIC: ILLUSTRATE

52

ภาณุวฒั น์ เสง่ียม
Panuwat Sangiam
Girl and old heritage (2022)
Girl and old heritage (2565)
Size 1024×1024 pixel
Digital Paint

53

สุดวดี สุวรรณ
Suwadee Suwan
2 ปี 7 เดือน (2565)
2 Years 7 Months (2022)
Size 80 × 80 cm.
Mixed Media

54

ไพฑูรย์ ทองดี
Paithoon Thongdee
จินตภาพเเหง่ ปัญญา (2565)
Image of wisdom (2022)
Size 43x60 cm.
Digital

55

พฒั นะ ดวงพตั รา
Patana Duangpatra
Chemistry (2565/ 2022)
Size 21x29.7 cm.
Digital Print

56

พิทวลั สุวภาพ
Pittawan Suwapab
I can't hide it more (2565/ 2022)
Size 35x50 cm.
Digital Print

57

วิศิษฐ พิมพิมล
Wisit Pimpimon
นาฏยะลีลาสกั การะเทวราช1 (2565)
The dance of Sakkarathewarat 1 (2022)
Size 54 x 78 cm.
Charcoal

58

วิศิษฐ พิมพิมล
Wisit Pimpimon
นาฏยะลีลาสกั การะเทวราช 2 (2022)
The dance of Sakkarathewarat 2 (2022)
Size 54 x 78 cm.
Charcoal

59

วิสุทธ์ิ ย้ิมประเสริฐ
Mr.Wisut Yimprasert
ภาพเหมือนตนเองในเดือนพฤษภาคม 2565 (2565)
Self-portrait in May 2022 (2022)
Size 26 x 28 x 46 cm.
Mixed Technique

60

วราภรณ์ ชลอสนั ติสกุล
Varaporn Chalosantisakul
อาจารยท์ ่ ีปรึกษาของฉัน (2565)
My Advisor (2022)
Size 9x13 cm (9 pcs)
Mixed Media

61

เจษฎา คงสมมารถ
Jesada Kongsomat
ลานาดอกไมแ้ ดง (2564/ 2021)
Size 40x50 cm.
Acrylic and oil on canvas

62

ปานพรรณ ยอดมณี
Pannaphan Yodmanee
Goddess Black and White 3 (2563/ 2020)
Size 60x35 cm.
Mixed media on jute

63

64

ศิลปิ น/คณำจำรย์
คณะศิลปกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลยั กรงุ เทพธนบุรี

ที่เขำ้ ร่วมแสดงนิทรรศกำร

ศาสตราจารย์ วา่ ท่ีรอ้ ยโท ดร.พิชยั สดภิบาล
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชยั ยศ วนิชวฒั นานุวตั ิ
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ชินวฒั น์ ประยูรรัตน์
ดร.กรกต อารมณด์ ี
ดร.พศุตม์ กรรณรตั นสูตร
ดร.รตั ติพร ล้ีพานุวงศ์
ดร.วนั ชยั แกว้ ไทรสุน่
ดร.สุริยะ ฉายะเจริญ
อาจารยเ์ มธาสิทธ์ิ อดั ดก
อาจารยน์ พอนันต์ บาลิสี
อาจารยน์ ิวฒั น์ ชูทวน
อาจารยป์ ราเมศวร์ กลางหม่ืนไวย
อาจารยพ์ รวิภา สุริยากานต์
อาจารยส์ มลกั ษณ์ วนั ทา
อาจารยอ์ ษุ าวดี ศรีทอง

65

พิชยั สดภิบาล
Pichai Sodbhiban
125 ปี โรงพยาบาลกลาง (2565)
Size 90x90 cm.
Digital Delineation Collage

66

ชยั ยศ วนิชวฒั นานุวตั ิ
Chaiyot Vanitwatthananuwat
สตั ตมหาสถาน มุมมองภาพท่ ีสมบรู ณ์ ของจิตรกรรมฝาผนังในอุโบสถ
วดั เกาะแกว้ สุทธาราม (2563/ 2020)
Size 95 x33 cm.
Photography

67

ชินวฒั น์ ประยูรรัตน์
Chinnawat Prayoonrat
End of War / Wars do not make one great, instead, they result in a
significant lose of life. (2021)
Size 75x100 cm.
3D Computer Graphic

68

กรกต อารมณด์ ี
Korakot Aromdee
ปลากดั (2565)
Fighting Fish (2022)
Size 190×144x30 cm. & 130×68 x30 cm.
Handicrafts of rattan bending and tying of colored ropes

69

พศุตม์ กรรณรัตนสูตร
Pasutt Kanrattanasutra
UNKNOWN LANGUAGE 1 (2021)
Size 60x80 cm. /piece
Acrylic color on canvas

70

พศุตม์ กรรณรัตนสูตร
Pasutt Kanrattanasutra
UNKNOWN LANGUAGE 2 (2021)
Size 60x80 cm. /piece
Acrylic color on canvas

71

รตั ติพร ล้ีพานุวงศ์
Ruttiporn Leepanuwong
Imaginary land no.4. (2563/ 2020)
Size 37.5 X 55 cm.
Printmaking: Woodcut

72

รตั ติพร ล้ีพานุวงศ์
Ruttiporn Leepanuwong
Imaginary land no.3. (2563/ 2020)
Size 37.5 X 55 cm.
Printmaking: Woodcut

73

วนั ชยั แกว้ ไทรสุน่
Wanchai Kaewsaisoon
พระสุริ ยเทพ หน่ ึงในจิตวิญญาณไทย. (2563/ 2020)
Size 60x80cm.
Acrylic color on canvas

74

สุริยะ ฉายะเจริญ
Suriya Chayacharoen
สายลม ทุง่ หญา้ และการเปล่ ียนแปลงตามกาลเวลา (2564)
The wind, the meadow and the change in the traces of time. (2021)
Size 70x90 cm.
Acrylic color on canvas

75

สุริยะ ฉายะเจริญ

Suriya Chayacharoen

แมว้ า่ ฉันจะไมเ่ ห็นอะไรในยามท่ ีมองไป ณ ทุง่ หญา้ ยามรัตติกาล แตส่ รรพส่ ิงก็ลว้ นมี
ตวั ตนเสมอ (2564)

When I looked at the meadow at night, I couldn't see anything. But
everything has its own existence. (2021)

Size 70x90 cm.

Acrylic color on canvas

76

เมธาสิทธ์ิ อดั ดก
Mathasit Addok
เสวยวิมุตติสุข (2564)
Savi Vimuwimutisuk (2021)
Size 25x20 cm (2 pieces)
Acrylic color on canvas

77

นพอนันต์ บาลิสี
Nopanan Balosee
พลงั ความงามแหง่ พฤกษา (2564)
Beauty of plants (2021)
Size 40 x 55 x 120 cm.
Sculpture/ Ceramics

78

นพอนันต์ บาลิสี
Nopanan Balosee
ความงามแหง่ ชีวิต (2565)
The beauty of life (2022)
Size 15 x 10 x 80 cm.
Ceramics,Wood

79

นิวฒั น์ ชูทวน
Niwat Chootoun
บา้ นกลางสวน (2564)
Baan Klang Suan (2021)
Size 80x120 cm.
Acrylic color on canvas

80

ปราเมศวร์ กลางหม่ืนไวย
PRAMET KLANGMUENWAI
ฤดรู อ้ น หมายเลข1(2565)
Summer No1 (2022)
Size 35x30x45cm.
ceramic local clay on 850 C

81

ปราเมศวร์ กลางหม่ืนไวย
PRAMET KLANGMUENWAI
ฤดรู อ้ น หมายเลข 2 (2565)
Summer No2 (2022)
Size 35x30x45cm.
ceramic local clay on 850 C

82

พรวิภา สุริยากานต์
Pornwipa Suriyakarn
ใจเพชร (2565)
strong-minded (2022)
Size 60x80 cm.
Digital Collage

83

สมลกั ษณ์ วนั ทา
Somluk Wantha
รูปลกั ษณแ์ หง่ ความเจริ ญ (2565)
Appearance of Prosperity (2022)
Size 18x27x33 cm.
Fiberglass casting

84

สมลกั ษณ์ วนั ทา
Somluk Wantha
ความตา่ งสรา้ งสมดุล(2565)
Difference Creates Balance (2022)
Size 17 x 28 x 24 cm.
Fiberglass casting

85

รักษ์สุชา ชมภูบุตร
Raksucha Chompoobut
ความยตุ ิธรรม (2565)
Lmpartially (2022)
Size 40x30 cm.
Oil on canvas

86

รกั ษส์ ุชา ชมภูบุตร
Raksucha Chompoobut
ตแู้ หง่ ความทรงจา (2565)
Cabinet of Memories (2022)
Size 50x40 cm.
Oil on canvas

87

อุษาวดี ศรีทอง
Usawadee Srithong
ความกระอกั กระอว่ นในวฒั นธรรม (2560-2561)
Questions to culture (2017-2018)
Size 26x80 cm.
Weaving and natural color prints

88

89

จินตภำพแห่งสมมติฐำน: นิทรรศกำรศิลปะบชู ำครู
เนื่องในวำระครบ 6 รอบ 72 ปี
ศำสตรำจำรยเ์ กียรติคณุ สุชำติ เถำทอง

โดย: อาจารยอ์ ุษาวดี ศรีทอง
(อาจารยป์ ระจา คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรุงเทพธนบรุ ี )

90

จินตภำพแห่งสมมติฐำน: นิทรรศกำรศิลปะบชู ำครู เน่ืองในวำระครบ 6 รอบ 72 ปี
ศำสตรำจำรยเ์ กียรติคุณสุชำติ เถำทอง
โดย: อาจารยอ์ ุษาวดี ศรีทอง (อาจารยป์ ระจา คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรุงเทพธนบุรี)

ในชีวิตหน่ึ งจะมีสักก่ีคร้ังท่ีเราไดเ้ ขา้ ไปอยู่ในประวตั ิศาสตร์ ห รื อเป็ นคนสร้าง
ประวตั ิศาสตร์ใหเ้ ป็นท่ีจดจา แตส่ าหรับศาสตราจารยเ์ กียรติคุณสุชาติ เถาทอง หรื อท่ี
เหลา่ ลูกศิษยเ์ รียกทา่ นวา่ “อาจารยส์ ุชาติ” กลบั เป็นผูท้ ่ีทงั้ เคยอยูร่ ่วมประวตั ิศาสตร์ของทง้ั
ประเทศไทยและอินเดีย และยงั เป็นผูส้ รา้ งประวตั ิศาสตรส์ าคญั ใหว้ งการศิลปะร่วมสมยั ของ
ประเทศไทยดว้ ยเชน่ กนั

ยอ้ นหลงั กลบั ไปเม่ือประมาณ 10 ปีกอ่ น การเรียนการสอนในระดบั ปริญญาเอก
ทางดา้ นศิลปกรรมในประเทศไทยยงั ไม่เป็ นท่ีพูดถึงมากนัก กระท่งั ทางคณะศิลปกรรม
ศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา ท่ีมีอาจารยส์ ุชาติร่วมกอ่ ตงั้ และยงั วางรากฐานการเรียนการ
สอนทางศิลปะใหม้ หาวิทยาลยั บูรพามากวา่ 40 ปี อาจารยส์ ุชาติไดม้ องเห็นและพยายาม
เช่ือมตอ่ ชอ่ งวางดา้ นการศึกษา ดว้ ยการวางโครงสรา้ งและหลกั สูตรบณั ฑิตศึ กษาทง้ั ใน
ระดบั ปริญญาโท และปริญญาเอก ใหค้ ณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา ทง้ั ยงั เป็น
ประธานโครงการกอ่ ตงั้ หอศิลปะและวฒั นธรรมภาคตะวนั ออก รวมถึงการเขียนตาราดา้ น
ศิลปะ และการเป็นท่ีปรึกษาในร่างหลกั สูตรศิลปกรรมศาสตรใ์ หอ้ ีกหลายสถาบนั การศึกษา
ในประเทศไทย เชน่ เดียวกบั มหาวิทยาลยั กรุงเทพธนบุรีท่ีปัจจุบนั ศาสตราจารย์เกียรติคุณสุ
ชาติ เถาทอง ไดเ้ ป็นประธานหลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา สาขาการจดั การศิลปกรรม
คณะศิลปกรรมศาสตร์ ซ่ึงเปิ ดการเรียนการสอนระดบั ปริญญาโทและปริญญาเอกให้
นักศึกษาชาวไทยและชาวตา่ งชาติ ไดเ้ ขา้ มาเรียนรูร้ ะบบการจดั การดา้ นศิลปกรรมท่ีถือวา่
ในปัจจุบนั นน้ั มีความสาคญั ตอ่ วงการศิลปะร่วมสมยั ทงั้ ไทยและนานาชาติเป็นอยา่ งมาก

91

คุณูปการท่ีศาสตราจารยเ์ กียรติคุณสุชาติ เถาทอง ไดว้ างไวใ้ หก้ บั วงการศึกษา
ศิลปกรรมของไทยน้ัน มีมากมาย จนนามาซ่ึงคาถามถึงช่วงวัยและการบ่มเพาะ
คุณลกั ษณะของความรักในการเรียนรูข้ องบุคคลผูน้ ้ีวา่ มีท่ีมาอยา่ งไร กระทง่ั อาจารยส์ ุชาติ
ไดใ้ หค้ วามกระจา่ ง ผา่ นบทสนทนาในครง้ั น้ี

ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณสุชาติ เถาทอง เกิดและเติบโตในบา้ นท่ีมีอาณาเขตติดกบั วดั
สุวรรณารามราชวรวิหาร (วดั ทอง) เขตบางกอกนอ้ ย กรุงเทพมหานคร ซ่ึงไดช้ ่ือว่ามีงาน
จิตรกรรมฝีมือชา่ งชนั้ ครูของหลวงวิจิตรเจษฎา(ครูทองอยู)่ และหลวงเสนีบริรกั ษ์(ครูคงแป๊ ะ)
จิตรกรไทยท่ีมีช่ือเสียงในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ ความงามของจิตรกรรมฝาผนังท่ีบง่
บอกถึงชว่ งเวลาระหวา่ งอดีตกบั ปัจจุบนั ยงั เป็นแรงบนั ดาลใจและบม่ เพาะใหท้ ้ังอาจารยส์ ุ
ชาติ และพ่ี - นอ้ ง ทงั้ 4 ทา่ น เจริญรอยตามในเสน้ ทางของครู อาจารย์ และศิลปิน จน
ไดร้ ับขนานนามจากพ่ีนอ้ งในวงการศิลปะวา่ “4 เถาทอง” คือ ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ
ปรีชา เถาทอง , ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณสุชาติ เถาทอง , คุณสมชาย เถาทอง และ
อาจารยส์ ุวิชาญ เถาทอง

การใชช้ ีวิตในวยั เด็กของอาจารยส์ ุชาติจึงผูกโยงอยูก่ บั วดั สุวรรณารามฯ ทง้ั การเป็น
ลูกศิษยว์ ดั เดินตามพระสงฆเ์ ม่ือออกบิณฑบาต รวมถึงการฟงั เทศน์ฟงั ธรรม และร่วมงาน
บุญตา่ งๆ ท่ีจดั ข้ึนภายในวดั ทาใหท้ า่ นไดซ้ ึมซบั ธรรมะและความรูท้ างศิลปะจากจิตรกรรม
ฝาผนงั วดั มาตง้ั แตเ่ ยาวว์ ยั พรอ้ มพฒั นาองคค์ วามรูเ้ หลา่ น้นั ในสถาบนั ทางศิลปะของประเทศ
ไทยและตา่ งแดน เชน่ วิทยาลยั เพาะชา่ งและมหาวิทยาลยั ศิลปากร รวมถึงการเดินทางไป
ศึกษาศิลปะในตน้ กาเหนิดของอารยธรรมโลก ณ มหาวิทยาลยั วิศวภารตี, ศานติเกตนั
ประเทศอินเดีย

ท่ีห่างไกลจากเทคโนโลยีการส่ื อสาร อนั เป็ นท่ีต้งั ของโรงเรียนใตร้ ่ม ไม้ หรื อ
มหาวิทยาลยั วิศวภารตี, ศานตินิเกตนั ซ่ึงกอ่ ตงั้ โดยทา่ นรพินทรนาถฐากุร ปราชญช์ าว
อินเดีย โดยหวงั ใหพ้ ้ืนท่ีแห่งน้ีเป็นท่ีพกั พิงแห่งสากลโลก ซ่ึงจะไม่มีการแบง่ แยกเช้ือชาติ
หรือศาสนา และใหน้ ักเรียนไดเ้ รียนรูศ้ ิลปะและปรชั ญาร่วมกบั ธรรมชาติและชาวบา้ น 92

ซ่ึงในปี พ.ศ. 2527 ท่ีอาจารยส์ ุชาติเดินทางไปถึงยงั ตรงกบั ชว่ งจุดเปล่ียนสาคญั ทางการ
เมืองของประเทศอินเดีย เม่ือนางอินทิรา คานที นายกรฐั มนตรีหญิงคนแรกของอินเดียได้
ถูกลอบสงั หาร สรา้ งความโกรธแคน้ จนเกิดเหตุจลาจลระหวา่ งชาวฮินดูและชาวซิกขใ์ น
ประเทศอินเดีย

แตส่ าหรับชาวพุทธอยา่ งอาจารยส์ ุชาติน้ัน กลบั เลือกเรียนรูจ้ ากประเด็นปัญหา
ดงั กลา่ วและผนวกรวมเขา้ สู่ผลงานศิลปนิพนธใ์ นชุดปริญญาโท ท่ีจดั แสดง ณ Nandan
Museum คณะกาลาภาวนา(คณะศิลปกรรมศาสตร์) มหาวิทยาลยั วิศวภารตี, ศานตินิเก
ตนั ซ่ึงผลงานชุดดงั กลา่ วไดร้ ับความช่ืนชมทง้ั จากอาจารยแ์ ละนักสะสมผลงานศิลปะชาว
อินเดียเป็ นอยา่ งมาก จนทาใหผ้ ลงานเหลา่ น้ีปัจจุบนั อยูใ่ นกรรมสิทธ์ิของนักสะสมชาว
อินเดียเกือบทงั้ หมด

หลงั สาเร็จการศึกษาในระดบั ปริญญาโทจากศานตินิเกตนั อาจารยส์ ุชาติไดท้ ุม่ เท
ใหก้ บั การสอนและการทางานวิจยั เก่ียวกบั ภาพจิตรกรรมไทยและสถาปัตยกรรมไทยเป็น
อยา่ งมาก ทาใหอ้ งคค์ วามรูท้ ่ีส่งั สมจากการตีความในสญั ญะหรือสญั ลกั ษณต์ า่ งๆ ในภาพ
จิตรกรรมไทย กลายเป็นแหลง่ ขุมทรัพยท์ างปัญญาท่ีทา่ นบรรยายผา่ นหนังสื อหรือตารา
ทางศิลปะหลากหลายเลม่ กระทง่ั ในปี พ.ศ. 2564 ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณสุชาติ เถาทอง
ไดเ้ ขา้ มาร่วมวางรากฐานระดบั บณั ฑิตศึกษาสาขาการจดั การศิลปกรรม คณะศิลปกรรม
ศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรุงเทพธนบุรี ทา่ นยงั พฒั นาองคค์ วามรูผ้ า่ นการสอนและสรา้ งสรรค์
ศิลปะควบคูก่ นั จนเกิดเป็นหนังสือท่ีมีช่ือวา่ “กาลงั จิตจินตนาการ+พลงั คิดสรา้ งสรรค์ :
พลานุภาพศิลปะ นวตั กรรมใหม่” ซ่ึงรวบรวมเร่ื องราวของศาสตร์แห่งศิลป์ ท่ีผูกโยงกบั
แนวคิดทางจิตวิเคราะห์ นวตั กรรมใหม่ และหลกั คาสอนทางศาสนาของซีกโลกตะวันออก
เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั

แนวคิดขา้ มศาสตรย์ งั เป็นท่ีมาของนิทรรศการศิลปะ “จินตภาพแหง่ สมมติฐาน” ซ่ึง
อาจารยส์ ุชาติ ไดน้ าแนวคิดจากกระบวนการกลน่ั กรองของจิตและจินตนาการจนปรากฏ
เป็นภาพ ดง่ั ผลงานศิลปะท่ีศิลปินไดบ้ รรจงรงั สรรคผ์ า่ นรูปสญั ลกั ษณต์ า่ งๆ ดงั เชน่ ผลงานท่ี
มีช่ือวา่ “เทศกาล” ซ่ึงเป็นภาพท่ีอาจารยส์ ุชาติไดร้ ับแรงบนั ดาลใจเม่ือคร้ังเดินทางไปชม
เทศกาลย่ีเป็ง ณ จงั หวดั เชียงใหม่ และพบกบั แสงสวา่ งของโครมลอยท่ีเคล่ือนไหวอยา่ งชา้ ๆ

93

ในทอ้ งฟ้ายามค่าคืน ความระยิบระยบั ของแสงท่ีกระทบกบั สายตานามาซ่ึงความรูส้ ึกปิติ
กอ่ นจะแปรเปล่ียนภาพดงั กล่าวท่ีไดบ้ นั ทึกอยูใ่ นห่วงขณะจิต สู่ผลงานจิ ตรกรรมก่ึง
นามธรรมดว้ ยสีอะคริลิกบนผา้ ใบ เพ่ือสะทอ้ นภาพความงามเหลา่ น้ันท่ีแฝงนัยยะของความ
เกิด ดบั ดง่ั แสงของเปลวเทียนจากโครมลอย ท่ีถูกจุดข้ึนและดบั ลง เชน่ เดียวกบั หลกั ธรรม
ทางพุทธศาสนาท่ีทุกอยา่ งลว้ นเกิดข้ึน ตงั้ อยู่ และดบั ไป อนั เป็นความหมายแฝงในผลงาน
จิตรกรรมของอาจารยส์ ุชาติ ท่ีท้ิงไวใ้ หผ้ ูช้ มไดข้ บคิด

ซ่ึงนอกจากผลงานของอาจารยส์ ุชาติท่ีจดั แสดงในนิทรรศการศิลปะ “จินตภาพแหง่
สมมติฐาน” แลว้ นิทรรศการครง้ั น้ียงั มีผลงานของศิลปินแหง่ ชาติ คณาจารย์ และศิลปินท่ีมี
ช่ือเสียงอีกหลายทา่ นเขา้ ร่วมแสดงกวา่ 50 ช้ิน ในหลากหลายเทคนิค เพ่ือแสดงใหเ้ ห็น
ความลงตวั จากความแตกตา่ งของจินตนาการท่ีชว่ ยขบั เคล่ือนโลกใบน้ีใหเ้ กิดผลงานศิลปะ
นวัตกรรม เทคโนโลยี หรื อส่ิงประดิษฐ์แปลกใหม่ ท่ีลว้ นมีจุดเร่ิ มตน้ จาก ภาพฝัน
จินตนาการ หรือสมมติฐาน ตา่ งๆ เหลา่ น้ี

นิทรรศการศิลปะ “จินตภาพแหง่ สมมติฐาน” จดั แสดงระหวา่ งวนั ท่ี 21-31 สิงหาคม
2565 ณ หอศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรุงเทพธนบุรี เน่ืองในวาระครบ 6
รอบ 72 ปี ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณสุชาติ เถาทอง ครูท่ีไมเ่ คยหยุดพกั และพร้อมจะมอบ
วิชาความรูใ้ หศ้ ิษย์ จนหลายคนไดเ้ ติบโตเป็นศิลปิน ครู อาจารย์ บรรณาธิการ ภณั ฑารักษ์
นักออกแบบ และผูเ้ ช่ียวชาญทางดา้ นศิลปกรรมในวงการศิลปะร่วมสมยั ของประเทศไทย
เฉกเชน่ ปัจจุบนั

94

กำรวิเครำะหเ์ ชิงทฤษฎีสำหรบั หลกั กำรวิเครำะหแ์ ละ
กำรตีควำมแก่นควำมรทู้ ำงศิลปะออกแบบขนั้ สูง

ท่ีมา: การวิจยั เร่ือง “หลกั การวิเคราะหแ์ ละการตีความแกน่ ความรูท้ างศิลปะออกแบบ
ขนั้ สูง” ไดร้ บั ทุนจากมหาวิทยาลยั กรุงเทพธนบุรี ประจาปี 2564

โดย ดร.สุริ ยะ ฉายะเจริ ญ
(อาจารยป์ ระจาหลกั สูตรบณั ฑิตศึกษา สาขาการจดั การศิลปกรรม คณะ
ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรุงเทพธนบุรี )

95

กำรวิเครำะหเ์ ชิงทฤษฎีสำหรบั หลกั กำรวิเครำะหแ์ ละกำรตีควำมแก่นควำมรูท้ ำงศิลปะ
ออกแบบขนั้ สงู
โดย ดร.สุริ ยะ ฉายะเจริ ญ
(อาจารยป์ ระจาหลกั สูตรบณั ฑิตศึกษา สาขาการจดั การศิลปกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลยั กรุงเทพธนบุรี)

การวิเคราะหข์ อ้ มูลเป็นการวิเคราะหใ์ นเชิงทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ งกบั หลกั การวิเคราะหแ์ ละ
การตีความแกน่ ความรูท้ างศิลปะออกแบบขน้ั สูง ไดแ้ ก่ (1) ทฤษฎีของมอนโร ซี เบียสลีย์
(Monroe C. Beardsley) (2) ทฤษฎีศิลปวิจารณข์ อง ยีน เอ มิทเลอร์ (Gene A. Mittler)
และ (3) ทฤษฎีของเอ็ดมนั ด์ เบิร์ก เฟลดแ์ มน (Edmund Burke Feldman) ซ่ึงทฤษฎี
เหลา่ น้ีลว้ นนามาสูก่ ารสงั เคราะหใ์ หมเ่ พ่ือเป็นทฤษฎีสาหรับวิเคราะห์และตีความแกน่ สาระ
ผลงานศิลปะออกแบบขนั้ สูงได้

โดยทฤษฎีดงั กลา่ วน้ีผูว้ ิจยั ไดน้ ิยามวา่ แบบแผนการวิเคราะหแ์ ละตีความแกน่ ความรู้
ทางศิลปะออกแบบขน้ั สูง (A model of analysis and interpretation of advanced
design art knowledge)

แบบแผนการวิเคราะหแ์ ละตีความแกน่ ความรูท้ างศิลปะออกแบบขนั้ สูงน้ีเป็นการนา
ทฤษฎีของมอนโร ซี เบียสลีย์ ยีน เอ มิทเลอร์ และเอ็ดมนั ด์ เบิรก์ เฟลดแ์ มน ตงั้ ตน้ และ
วิเคราะหอ์ อกมาเป็นแนวทางการวิเคราะหร์ ่วมกนั ของนักทฤษฎีทง้ั 3 ทา่ น

ซ่ึงผูว้ ิจยั พบวา่ มีการวิเคราะห์ 4 ขนั้ คือ การวิเคราะหข์ น้ั แรก: การอธิบายหรือการ
พรรณนา การวิเคราะหข์ นั้ สอง: การวิเคราะหล์ กั ษณะโดยรวม การวิเคราะหข์ น้ั สาม: การ
ถอดรหสั และตีความ และการวิเคราะหข์ น้ั ส่ี: การประเมินคุณคา่ โดยสามารถอธิบายอยา่ ง
ละเอียด ได้ ดงั น้ี

96

กำรวิเครำะหข์ น้ั แรก: กำรอธิบำยหรือกำรพรรณนำ
ขนั้ แรกของการวิเคราะหศ์ ิลปะออกแบบขน้ั สูงนั้นเป็นเร่ืองของการอธิ บายหรือการ

พรรณนา (Descriptive) อนั เป็นวิธีการอรรถาธิบายสภาวการณแ์ ละปรากฏการณภ์ ายนอก
ทงั้ หมดท่ีสมั ผสั ไดด้ ว้ ยอายตนะ (การเห็น การไดย้ ิน การล้ิมรส การไดก้ ล่ิน และสมั ผสั ทาง
กาย) เป็นการอธิบายและพรรณนาวา่ ส่ิงท่ีปรากฏการณ์นั้นมีอะไรบา้ ง มีสภาพโดยรวม
อยา่ งไร มีทศั นธาตุอะไรบา้ ง มีสว่ นประกอบอะไรบา้ ง อะไรเป็ นจุดเดน่ ๆ ของผลงาน
สรา้ งสรรคช์ ้ินน้ัน ๆ
กำรวิเครำะหข์ น้ั สอง: กำรวิเครำะหล์ กั ษณะโดยรวม

ขนั้ ท่ีสองเป็นขน้ั ตอนของการวิเคราะหล์ กั ษณะโดยรวม (Overall Characteristics
Analysis) อนั เป็นการเจาะลึกไปถึงองคป์ ระกอบของผลงานสรา้ งสรรคศ์ ิลปะออกแบบนน้ั
ส่ิงท่ีปรากฏเป็นผลงานศิลปะออกแบบนนั้ มาจากการประกอบสรา้ งข้ึนจากอะไร มีท่ีมาท่ีไป
อย่างไร มีการใชเ้ ทคนิควิธีการแสดงออกทางสุนทรียภาพอยา่ งไรบา้ ง มีรูปลกั ษณ์ท่ี
แสดงออกถึงความงามอยา่ งไร ใชร้ ูปร่าง รูปทรง เสียง กล่ิน รสชาติ อยา่ งๆไร และทาไมจ่ ึง
เป็นเชน่ น้ัน และส่ิงนั้น ๆ ใหผ้ ลลพั ธท์ างความคิดความรูส้ ึกของผูด้ ู ผูช้ ม หรือผูฟ้ งั อยา่ งไร
บา้ งในเบ้ืองตน้ ทงั้ หมดน้ีกลา่ วไดว้ า่ การวิเคราะหล์ กั ษณะโดยรวมคือการถอดรหสั ขนั้ ตน้
ของผูว้ ิเคราะหท์ ่ีไดร้ ับจากส่ิงท่ีเป็นปรากฏการณใ์ นผลงานสรา้ งสรรค์ ท่ีเป็นสมั ผสั แรกท่ีได้
จากการการเห็น การไดย้ ิน การล้ิมรส การไดก้ ล่ิน และสมั ผสั ทางกาย ซ่ึงสว่ นน้ีอาจจยงั
ไมเ่ ขา้ ขนั้ ของการถอดรหสั ขนั้ สูงท่ีเป็นเร่ื องของความหมายท่ีแฝงเรน้ เป็ นนัยสาคญั ของ
ผลงานนน้ั ๆ
กำรวิเครำะหข์ น้ั สำม: กำรถอดรหสั และตีควำม

ขน้ั ท่ีสามน้ันเป็นสว่ นการถอดรหสั และตีความ (Decoding and Interpretation) ท่ี
เป็นเร่ื องของการคิด วิเคราะห์ ในดา้ นของความหมาย เน้ื อหาสาระ และการส่ือสารของ
ผลงานน้ัน ๆ วา่ มีสารัตถะอยา่ งไรบา้ ง มีความหมายตรง (denotation) และความนัยแฝง
(connotation) อยา่ งไร เช่ือมโยงกบั บริบทอะไรบา้ ง ส่ือถึงอะไร เกาะเก่ียวกบั ประเด็นอะไร
มีเน้ื อเร่ื องหรื อหวั เร่ื องท่ีสมั พนั ธก์ บั ประเด็นใด ๆ บา้ ง การถอดรหสั และการตีความเป็ น
หวั ใจสาคญั ท่ีทาใหก้ ารวิเคราะหเ์ ขา้ ไปถึงแกน่ สาระความหมายท่ีเช่ือมโยงกบั รูปแบบของ

97

งานศิลปกรรมท่ีกรากฏใหเ้ ห็นไดด้ ว้ ยการสมั ผสั ภายนอก เพราะจะทาใหเ้ กิดการตรวจสอบ
ถึงการรับรูจ้ ากส่ิงท่ีเป็ นปรากฏการณ์กบั เป้าหมายของส่ือส่ิงในผลงานสรา้ งสรรคว์ า่ มี
ความสมั พนั ธก์ นั ในระดบั ใดบา้ ง ผลงานสรา้ งสรรคศ์ ิลปะออกแบบน้ันสามารถส่ื อสาร
ความหมายและเน้ื อหาสาระตรงประเด็นดงั ท่ีผูส้ รา้ งตง้ั ใจไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด ซ่ึงในสว่ นน้ี
เสมือนเป็นการทวนสอบใหเ้ ห็นถึงความเช่ือมโยงกนั ระหวา่ งรูป-ความหมายวา่ สามารถ
แสดงความเช่ือมโยงใหส้ มั ผสั ไดใ้ นระดบั ใด
กำรวิเครำะหข์ นั้ สี่: กำรประเมินคุณค่ำ

ขน้ั ท่ีส่ีหรือขน้ั สุดทา้ ยคือการประเมินคุณคา่ (Valuation) อนั หมายถึงกระบวนการ
ตดั สินจากการอธิบาย การวิเคราะห์ การถอดรหสั /การตีความสู่การตดั สินเพ่ือประเมิน
คุณลกั ษณะอนั มีคา่ หรือคุณคา่ ของงานศิลปะออกแบบน้ัน ๆ (หรือรวมถึงงานสิลปกรรมใน
สาขาตา่ ง ๆ ดว้ ย) โดยในสว่ นน้ีเป็นสว่ นสาคญั ท่ีจะเป็นการช้ีชดั วา่ ผลงานสรา้ งสรรคน์ ั้นมี
คุณคา่ อยา่ งไรบา้ ง มีเหตุและผลอยา่ งไรบา้ ง ซ่ึงการประเมินคุณคา่ น้ันสามารถแบง่ ได้
ออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ คุณคา่ ดา้ นสุนทรียภาพท่ีเป็นคุณคา่

คุณค่าทางดา้ นสุนทรียภาพนั้นก็คือคุณคา่ ท่ีวา่ ดว้ ยเร่ื องของความงามรูปลกั ษณ์
ภายนอกหรื อส่ิงท่ีถูกทาใหร้ ับรูว้ า่ เป็นเร่ื องของความงาม ความลงตวั ประสานกลมกลืน
(harmony) และเอกภาพ (unity) ท่ีปรากฏในผลงานศิลปะออกแบบน้ัน ซ่ึงในสว่ นน้ีก็เป็น
สว่ นหน่ึงท่ีสมั พนั ธก์ บั วิถีทางแบบคุณวิทยา (Axiology) ปรชั ญาท่ีวา่ ดว้ ยเร่ืองคุณคา่ ซ่ึงก็คือ
คุณคา่ ท่ีเกิดข้ึนจากความรู้ อนั เกิดจากการปฏิบตั ิติการสรา้ งสรรคท์ างศิลปะท่ีเป็นดา้ นการ
สง่ เสริมใหเ้ กิดสุนทรียภาพตามหลกั สุนทรียศาสตร์ท่ีวา่ ดว้ ยศาสตร์แหง่ ความงาม (ท่ีอยูใ่ น
สว่ นของคุณวิทยา) อนั เป็นความรับรูใ้ นดา้ นของความเป็นอตั วิสยั ซ่ึงผูว้ ิเคราะหห์ รือผูท้ ่ีทา
วิจารณก์ ็จะตอ้ งมีประสบการณ์ไมท่ างใดก็ทางหน่ึงท่ีเก่ียวขอ้ งกบั สุนทรียภาพของศาสตร์
และศิลป์ ในสาขาใด ๆ ก็ตามท่ีจะชว่ ยส่งเสริมเก้ือหนุนใหเ้ กิดการคิด พินิ จนึก ตึกตรอง
เพ่ือใหเ้ กิดความเขา้ ใจถึงศาสตรส์ าระท่ีซุกซอ่ นอยูภ่ ายใตผ้ ลงานสรา้ งสรรคน์ น้ั

อีกดา้ นหน่ึงก็คือคุณคา่ ในเร่ืองของการส่ือสารความหมาย อนั เกิดจากการตีความ
หรือการถอดรหสั ความหมายจากรูปสญั ลกั ษณ์ท่ีถูกปรากฏอยูใ่ นผลงานน้ัน ไมว่ า่ ผลงาน
นั้นจะอยูใ่ นรูปแบบใดก็ตาม ไมว่ า่ ผลงานนน้ั จะเป็นลกั ษณะของภาพ ถอ้ ยคา เสียง กล่ิน

98

รส หรื อการสัมผสั ทางกายก็ตาม ส่ิงตา่ ง ๆ เหลา่ น้ีก็ถือเป็ นเคร่ื องหมายท่ีทาใหน้ ักคิด
นักวิเคราะห์ และนักวิจารณ์เองตอ้ งจาเป็นในการถอดรหสั ตีความหมายนั้นให้ออกมา
เพ่ือใหเ้ กิดความเขา้ ใจในสาระฐานท่ีเกิดข้ึนอนั ซุกซอ่ นภายใตผ้ ลงานสรา้ งสรรคท์ ่ีปรากฏน้ัน

ทงั้ น้ี ความหมายท่ีปรากฏจากการท่ีถอดรหัสและตีความหมายก็สามารถแบ่ง
ออกเป็ นสองระดับ ระดับแรกเป็ นความหมายชัน้ ตน้ ท่ีเรี ยกกันว่าความหมายตรง
(denotation meaning) เป็นลกั ษณะของความหมายท่ีปรากฏอยา่ งชดั แจง้ หรื อเป็น
ความหมายท่ีปรากฏในผลงานท่ีประสบพบเจอไดโ้ ดยปกติจากการใช้ ตา หู จมูก ล้ิน และ
ร่างกายสมั ผสั สว่ นอีกความหมายหน่ึงนนั้ เป็นความหมายท่ีซุกซอ่ นอยูใ่ นภาพท่ีปรากฏหรือ
เสียงท่ีไดย้ ินหรือถอ้ ยความท่ีเห็น ซ่ึงเรียกกนั วา่ ความหมายแฝงหรือเป็นความหมายท่ีเป็นนัย
ยะสาคญั (connotation meaning) ท่ีซุกซอ่ นอยูใ่ นผลงานน้ัน นัยยะสาคญั ท่ีวา่ คือหวั ใจ
สาคญั ของสารตั ถะท่ีอยูภ่ ายใตต้ วั งานสรา้ งสรรค์

ส่ิงเหลา่ น้ีคือคุณคา่ ในเร่ืองของการส่ือสารความหมายท่ีอาจจะสมั พันธใ์ นเร่ื องของ
บริบททางสงั คม การเมือง เศรษฐกิจ หรือแมก้ ระทง่ั อตั ชีวิตของแตล่ ะบุคคล ส่ิงเหลา่ น้ีลว้ น
ก็ข้ึนอยูก่ บั ศิลปินหรือนกั ออกแบบหรือนักประพนั ธท์ ่ีเป็นผูส้ รา้ งสรรคข์ ้ึนมาวา่ คิดเห็นเชน่ ไร
หรืออยากจะส่ือสารความหมายอะไร หรืออยากจะตีแผอ่ ะไรใหก้ บั สงั คมผา่ นผลงานศิลปะ
ออกแบบหรืองานศิลปกรรมอ่ืน ๆ

ซ่ึงในเร่ืองของความหมายนั้นมนั คือคุณคา่ ท่ีวา่ ดว้ ยเร่ืองการอรรถาธิบายความหมาย
การอธิบายถึงรายละเอียดหรื อสาระในเร่ื องของคุณคา่ หรื อเน้ื อหาท่ีอยูใ่ นผลงานนั้น อนั
ปฏิเสธไมไ่ ดว้ า่ มนั คือหวั ใจสาคญั ของการทาความเขา้ ใจในงานสรา้ งสรรคศ์ ิลปะ เพราะ
เม่ือใดท่ีคุณคา่ ท่ีเป็นเร่ืองของสุนทรียภาพนาแลว้ แตถ่ า้ ไมม่ ีความหมายเป็นตวั คุณคา่ กากบั
แลว้ ก็กลายเป็นเร่ืองของคุณคา่ ของความงามท่ีลอ่ งลอย แตไ่ มไ่ ดม้ ีความยึดมน่ั เช่ือมน่ั อนั
เป็นน้าหนักท่ีชดั เจน เพราะน้าหนกั ท่ีชดั เจนของงานศิลปกรรมเก่ียวขอ้ งกบั ความหมายหรือ
เน้ือหาสาระในผลงานท่ีจะเป็นตวั บง่ บอกถึงความหนักแน่นในตวั ผลงานนั้น ไม่ไดเ้ ป็นการ
สรา้ งสรรคข์ ้ึนอยา่ งลอ่ งลอยขาดการควบคุม แตเ่ ป็นความคิดการเห็นท่ีอยู่บนฐานสารตั ถะ
มีระบบทางความคิดของการสรา้ งสรรคส์ ่ือสุนทรียภาพ

99


Click to View FlipBook Version