The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาพร่างต้นแบบและรายชื่อผู้สร้างสรรค์ Sam Chuk Street Art Project ของคณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี วิทยาลัยช่างศิลป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by artdesign.btu, 2022-04-04 21:40:02

ภาพร่างต้นแบบและรายชื่อผู้สร้างสรรค์ Sam Chuk Street Art Project ของคณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี วิทยาลัยช่างศิลป

ภาพร่างต้นแบบและรายชื่อผู้สร้างสรรค์ Sam Chuk Street Art Project ของคณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี วิทยาลัยช่างศิลป

ผลงานสรา้ งสรรค์
Sam Chuk Street Art Project

โดย
คณะศิลปวิจิตร สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์

วิทยาลยั ชา่ งศิลปสพุ รรณบรุ ี
วิทยาลยั ช่างศิลป

ช่ือผลงาน:
เลา่ เร่ืองสามชกุ
แนวความคิด:
เร่ืองเลา่ ของสามชกุ ผา่ นภาพสญั ลกั ษณแ์ หง่ ความทรงจา

สถานที่ : ดา้ นขา้ งอาคาร ซอย 9
ขนาด : 22.5 x 2.50
ผรู้ บั ผดิ ชอบ : คณะศิลปวิจิตร สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์ วิทยาลยั ชา่ งศิลปสพุ รรณบรุ ี
และวิทยาลยั ชา่ งศิลป

คณะศิลปวิจิตร สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์

อาจารยผ์ ปู้ ระสานงาน
1. อาจารยว์ ิสทุ ธ์ิ ย้ิมประเสริฐ
2. อาจารยภ์ ทั รพร เล่ียนพานิช
3. อาจารยพ์ ิทวลั สวุ ภาพ
4. อาจารยณ์ ฐั วฒุ ิ แตง่ วฒั นไพบลู ย์

นกั ศึกษาที่เขา้ รว่ มกจิ กรรม

1. นายสรุ สทิ ธิ์ มีงาม
2. นายศภุ ฤกษ์ วิสทุ ธิ
3. นายกรกวี ประเสริฐศรี
4. นายภทั รดนยั นว่ มขยนั
5. นางสาวศศกร ทบั วลั

วิทยาลยั ช่างศิลปสพุ รรณบรุ ี

อาจารยผ์ ปู้ ระสานงาน

นกั ศึกษาที่เขา้ รว่ มกจิ กรรม 1. อาจารยข์ วญั ใจ พิมพิมล
(ผอู้ านวยการวิทยาลยั ชา่ งศิลปสพุ รรณบรุ ี)

1. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยโ์ กเมศ คนั ธิก
2. อาจารยว์ ิศิษฐ พิมพิมล
3. อาจารยพ์ ิษณุ ศรีไหม
4. อาจารยโ์ ดม คลา้ ยสงั ข์
5. อาจารยป์ ภณ กมลวฒุ ิพงศ์

1. นางสาวธีรวดี กาจาย 10. นางสาวสธุ าสนิ ี เชาวร์ กั ษ์
2. นางสาวสภุ าภร แกว้ งาม 11. นายนฤภพ ซ่ือสตั ย์
3. นายศภุ วิชญ์ นาศรี 12. นายปรเมษฐ์ แสงนาค
4. นายปฏิภาณ แยม้ กลบี 13. นางสาวฐติ ยิ า แผนสมบรู ณ์
5. นายปวริศ ลงลา 14. นายธนาธิป แซ่ลอ
6. นายขวญั แกว้ มเี สมอ 15. นางสาวอรวรรณ ชา้ งนานอก
7. นางสาวชลดา ฉตั รฉาย 16. นายณชั พล จาดสดี
8. นายธนดล พนั ธรุ ะ 17. นายณฏั ฐชยั จาดสดี
9. นายธนวฒั น์ ทองชนั รกุ

วิทยาลยั ชา่ งศิลป

อาจารยผ์ ปู้ ระสานงาน
1. นายณรงค์ แสงสวสั ด์ิ
2. นายพณิช ผปู้ ารถนา

นกั ศึกษาท่ีเขา้ รว่ มกิจกรรม

1. นายธนรตั น์ ฤทธิ์ครบรุ ี
2. นายสภุ คั วี แซ่อง้ั
3. นายณฐั กนั ต์ เกสรธมั กิตตวิ ทุ
4. นายกฤษณ สว่างแจง้
5. นายภรู ิภทั ร ภหู มน่ื
6. นายภาม เอมระดี
7. นายมนญั ชยั เป่ี ยมใย

รายช่ือองคก์ รผสู้ นบั สนนุ

1. คณะกรรมการพฒั นาตลาดสามชกุ เชงิ อนรุ กั ษ์
2. บริษทั ย.ู อาร.์ เคมคี อล จากดั
3. บริษทั เอทเี อ็ม สเปรย์ (Atm Spray)
4. บริษทั Chumphol 8888
5. click education
6. True Vision
7. มลู นธิ ิวิทยาการจดั การจนั ทรเกษม



ภาคผนวก

กจิ กรรม Sam Chuk Street Art Project ภายใตโ้ ครงการพฒั นาตลาด
สามชกุ รอ้ ยปี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ในเชิงอนรุ กั ษ์ ผ่านศิลปกรรมกบั ชมุ ชน
เพื่อรองรบั หลงั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรสั โคโรน่า
2019 (โควิด-19)

หลกั การและเหตผุ ล

สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ตอ่ เชอื้ ไวรัสโคโรนา่ 2019 (โควิด-19)
ทาใหส้ ่งผลกระทบกระเทือนในการอนุรักษ์และรักษาผลงานดา้ นศิลปกรรมและ
สถาปัตยกรรมของชมุ ชนตลาดพื้นถิ่นใหด้ ารงอย่ใู นทอ้ งถิ่นอย่างยงั่ ยืนและมนั่ คงทาง
เศรษฐกิจ แมแ้ ตต่ ลาดสามชกุ รอ้ ยปี จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ก็อย่ใู นสภาพการณท์ ี่เกิดผล
กระทบจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ก็ตอ้ ง
ปฏิบัติตามกฎขอ้ บังคับการควบคมุ โรคระบาด จึงทาใหก้ ารท่องเท่ียวและการสรา้ ง
เศรษฐกิจของชมุ ชนลดถอยลง

ชมุ ชนจึงมีแนวคิดร่วมกันกับภาคีเครือข่ายสถาบันการศึกษาทางด้า น
ศิลปกรรม เพ่ือทาการฟ้ื นฟูและสรา้ งสรรคส์ ิ่งท่ีจะสามารถทาใหต้ ลาดสามชกุ รอ้ ยปี
จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ฟ้ื นคืนสภาพหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อ
ไวรัสโคโรนา่ 2019 (โควิด-19) โดยเป็ นการจดั กิจกรรมศิลปะที่สื่อสะทอ้ นถึงสัมพนั ธ์
ของวิถีชวี ติ ของชาวตลาดสามชกุ กับพ้ืนท่ีชมุ ชน จึงนามาสกู่ ารสรา้ งสรรคส์ ตรีทอารต์
(Sam Chuk Street) หรือผลงานศิลปกรรมในพ้ืนที่สาธารณะในชือ่ กิจกรรม Sam Chuk
Street Art Project ภายใตโ้ ครงการพฒั นาตลาดสามชกุ รอ้ ยปี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ในเชิงอนรุ ักษ์ ผา่ นศิลปกรรมกับชมุ ชน เพื่อรองรับหลังสถานการณก์ ารแพร่ระบาด
ของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) ซึ่งนบั เป็ นการสรา้ งสรรค์ผลงาน
ศิลปกรรมสมยั ใหมท่ คี่ งอยคู่ วบคไู่ ปกบั ชมุ ชนโบราณใหส้ ืบไปอยา่ งยงั่ ยืน

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือจัดกิจกรรมทางดา้ นศิลปกรรมร่วมสมยั ร่วมกบั ชมุ ชนภายใตช้ ่ือ Sam Chuk
Street Art Project อนั เป็ นการทานุ บารงุ รักษา และตอ่ ยอดศิลปะ วฒั นธรรม และ
ความเป็ นไทยใหย้ นื หยดั อยรู่ ่วมกบั ชมุ ชนไทยอยา่ งยงั่ ยนื

2. เพื่อสรา้ งสรรคผ์ ลงานทางดา้ นศิลปกรรมร่วมสมยั ร่วมกับชมุ ชนตลาดสามชกุ
รอ้ ยปี จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ในนามของภาคีเครือข่ายสถาบันศิลปกรรมที่มีการ
เรียนการสอนทางดา้ นศิลปะ การออกแบบ และการจดั การศิลปกรรม ใหเ้ กิดการ
เรียนรแู้ ละการสรา้ งสรรคร์ ว่ มกนั ในพื้นทส่ี าธารณะและมสี ว่ นร่วมกับชมุ ชน

3. เพอ่ื ใหก้ ารจดั การ การดาเนนิ การ และการสรา้ งสรรคก์ ิจกรรม Sam Chuk Street
Art Project เป็ นแนวทางในการธารง รักษา พัฒนา และสรา้ งสรรคช์ มุ ชน สงั คม
และประเทศชาติ ภายใตพ้ ันธกิจดา้ นการบริการวิชาการทางดา้ นศิลปกรรมแก่
สงั คมของภาคเี ครือขา่ ยสถาบันศิลปกรรม

ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั

1. เกิดกิจกรรมทางดา้ นศิลปกรรมร่วมสมัยร่วมกับชมุ ชนภายใตช้ ื่อ Sam Chuk
Street Art Project อนั เป็ นการทานุ บารงุ รกั ษา และตอ่ ยอดศิลปะ วฒั นธรรม และ
ความเป็ นไทยใหย้ ืนหยดั อยรู่ ่วมกบั ชมุ ชนไทยอยา่ งยงั่ ยืน

2. กิจกรรม Sam Chuk Street Art Project เป็ นการสรา้ งสรรคผ์ ลงานทางดา้ น
ศิลปกรรมร่วมสมยั ร่วมกบั ชมุ ชนตลาดสามชกุ รอ้ ยปี จังหวดั สพุ รรณบุรี ในนาม
ของภาคีเครือขา่ ยสถาบันศิลปกรรมที่มีการเรียนการสอนทางดา้ นศิลปะ การ
ออกแบบ และการจดั การศิลปกรรม ใหเ้ กิดการเรียนรแู้ ละการสรา้ งสรรคร์ ว่ มกนั
ในพืน้ ทีส่ าธารณะและมสี ว่ นรว่ มกบั ชมุ ชน

3. กิจกรรม Sam Chuk Street Art Project เป็ นแนวทางในการธารง รักษา พฒั นา
และสรา้ งสรรค์ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ ภายใตพ้ ันธกิจดา้ นการบริการ
วิชาการทางดา้ นศิลปกรรมแก่สังคมของภาคีเครือขา่ ยสถาบันศิลปกรรม ผ่าน
กระบวนวธิ กี ารจดั การ การดาเนนิ การ และการสรา้ งสรรค์

กาหนดการกจิ กรรม Sam Chuk Street Art Project
โดยภาคีเครอื ขา่ ยสถาบนั ศิลปกรรม

ระหว่างวนั ที่ 8-9 เมษายน พ.ศ. 2565

วนั ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2565

08.30-09.30 น. • ภาคีเครือข่ายสถาบันศิลปกรรมที่เขา้ ร่วมกิจกรรมฯ ลงทะเบียน ณ กอง
09.30-10.00 น. อานวยการท่ี 1 บริเวณลานโพธิ์ ซอย 2 ตลาดสามชกุ

• รับประทานอาหารเชา้ รับของท่ีระลึกและเส้ือยืดของกิจกรรมฯ สาหรับใส่เขา้
รว่ มพิธสี ง่ มอบผลงานฯ

• พิธีเปิ ดกิจกรรม Sam Chuk Street Art Project ณ เวที บริเวณลานโพธิ์ ซอย 2
ตลาดสามชกุ

• ศาสตราจารย์ ว่าท่ีรอ้ ยโท ดร.พิชัย สดภิบาล ประธานโครงการพัฒนาตลาด
สามชกุ รอ้ ยปี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ในเชงิ อนรุ ักษ์ ผา่ นศิลปกรรมกับชมุ ชน เพ่ือ
รองรับหลังสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดตอ่ เช้อื ไวรัสโคโรนา่ 2019
(Covid-19) กลา่ วความเป็ นมาของกจิ กรรม Sam Chuk Street Art Project

• คณุ พงษว์ ิน ชัยวิรัตน์ ประธานคณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชกุ เชงิ อนุรักษ์
กลา่ วตอ้ นรบั ภาคีเครือขา่ ยสถาบันศิลปกรรมทเ่ี ขา้ รว่ มกิจกรรมฯ

• เรียนเชิญ ผศ.ดร.อมรา รัตตากร ประธานมลู นธิ ิวิทยาการจดั การจันทรเกษม
สง่ มอบเงนิ สนบั สนนุ สงิ่ ของและอปุ กรณใ์ หก้ บั คณุ พงษว์ ิน ชยั วิรัตน์

• พิธีกรชแ้ี จงและอธบิ ายกาหนดการ รายละเอยี ด และคณะผปู้ ระสานงานในแตล่ ะ
ฝ่ ายของกจิ กรรมฯ

10.00-10.30 น. • ศิลปิ นและตวั แทนแตส่ ถาบัน/หนว่ ยงานของภาคีเครือขา่ ยสถาบันศิลปกรรมรับ
10.30-12.00 น. อปุ กรณ์สาหรับสร้างสรรค์ผลงาน (สี กระป๋ องน้า และจานสี) ณ กอง
อานวยการท่ี 2 ลานจอดรถบนถนนมิตรสัมพันธ์ใกลซ้ มุ้ ประตทู างเขา้ ชมุ ชน
12.00-13.00 น. ตลาดสามชกุ ดา้ นทิศเหนอื
13.00-16.30 น.
16.30-17.30 น. • ศิลปิ นและตัวแทนแต่สถาบัน/หน่วยงานฯ เดินทางไปยังพื้นที่ปฏิบัติการ
สรา้ งสรรคท์ ก่ี าหนดไวแ้ ตล่ ะจดุ ตามขอ้ ตกลงไว้

• ศิลปิ นและตวั แทนแต่สถาบัน/หนว่ ยงานของภาคีเครือขา่ ยสถาบันศิลปกรรม
ร่วมปฏิบตั กิ ารสรา้ งสรรคแ์ ละติดตง้ั ผลงาน Sam Chuk Street Art Project (ภาค
เชา้ )

• โดยตลอดกิจกรรมมกี ารเก็บบันทึกการปฏิบัติงานเป็ นไฟลภ์ าพถ่าย เสียง และ
คลิปวิดีโอ สาหรับผลิตสื่อ การประชาสัมพันธ์ และบันทึกเป็ นหลั กฐาน
ปฏิบตั กิ ารสรา้ งสรรคเ์ ชงิ ประจกั ษ์

• พกั รบั ประทานอาหารกลางวนั ทีส่ นบั สนนุ โดยชาวชมุ ชนตลาดสามชกุ
• ศิลปิ นและตัวแทนแต่สถาบัน/หน่วยงานฯ มารับอาหารกลางวันท่ีกอง

อานวยการท่ี 1 บริเวณลานโพธ์ิ ซอย 2 ตลาดสามชกุ
• ศิลปิ นและตัวแทนแตส่ ถาบัน/หน่วยงานของภาคีเครือขา่ ยสถาบันศิลปกรรม

ร่วมปฏบิ ตั กิ ารสรา้ งสรรคแ์ ละตดิ ตงั้ ผลงาน Sam Chuk Street Art Project (ภาค
บ่าย)
• ภาคีเครือข่ายสถาบันศิลปกรรมร่วมกันสรปุ และประเมินผลการปฏิบัติงาน
ประจาวนั การสนทนา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตามอธั ยาศัย ณ บริเวณ
ลานโพธิ์ ซอย 2 ตลาดสามชกุ

17.30-20.00 น. • พักรับประทานอาหารค่า ณ บริเวณตลาดสามชกุ สนับสนนุ โดยชาวชมุ ชน
20.00 น. ตลาดสามชกุ

• กจิ กรรมภาคเี ครือขา่ ยสถาบันศิลปกรรมสมั พนั ธ์ การสนทนา การแลกเปล่ียน
ความคิดเห็น กลมุ่ ใหญแ่ ละกลมุ่ ยอ่ ยตามอธั ยาศยั

• ศิลปิ นและตัวแทนแต่สถาบัน/หน่วยงานของภาคีเครือขา่ ยสถาบันศิลปกรรม
เดนิ ทางกลบั ทพ่ี กั และพกั ผอ่ นตามอธั ยาศยั

08.30-09.00 น. วนั ท่ี 9 เมษายน พ.ศ. 2565
09.00-12.00 น.
• ภาคีเครือขา่ ยสถาบันศิลปกรรมรับประทานอาหารเชา้ ณ กองอานวยการท่ี 1
12.00-13.00 น. บริเวณลานโพธิ์ ซอย 2 ตลาดสามชกุ
14.00-15.30 น
• ศิลปิ นและตัวแทนแต่สถาบัน/หน่วยงานของภาคีเครือขา่ ยสถาบันศิลปกรรม
รว่ มปฏิบัตกิ ารสรา้ งสรรคแ์ ละตดิ ตงั้ ผลงาน Sam Chuk Street Art Project (ตอ่ )

• จดั การและทาความสะอาดพนื้ ที่สรา้ งสรรคเ์ พื่อเตรียมสง่ มอบใหก้ ับชมุ ชนตลาด
สามชกุ

• พกั รับประทานอาหารกลางวนั ทีส่ นบั สนนุ โดยชาวชมุ ชนตลาดสามชกุ
• พิธีสง่ มอบผลงาน Sam Chuk Street Art Project ใหก้ บั ชมุ ชนตลาดสามชกุ ณ

บริเวณพนื้ ทสี่ รา้ งสรรคข์ องศิลปิ นกลุ ่ม Street Art King Bhumibol (ลานจอดรถ
บนถนนมติ รสมั พนั ธใ์ กลซ้ มุ้ ประตทู างเขา้ ชมุ ชนตลาดสามชกุ ดา้ นทศิ เหนอื )
• ศาสตราจารย์ ว่าที่รอ้ ยโท ดร.พิชัย สดภิบาล ประธานโครงการพัฒนาตลาด
สามชกุ รอ้ ยปี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี กลา่ วสรปุ ผลกิจกรรม Sam Chuk Street Art
Project

15.30-16.30 น. • พธิ ีสง่ มอบผลงาน Sam Chuk Street Art Project ใหก้ บั ชมุ ชนตลาดสามชกุ
16.30 น. • ณ บริเวณพ้ืนท่สี รา้ งสรรคข์ องศิลปิ นกลุ ่ม Street Art King Bhumibol (ลานจอด

รถบนถนนมติ รสมั พนั ธใ์ กลซ้ มุ้ ประตทู างเขา้ ชมุ ชนตลาดสามชกุ ดา้ นทิศเหนอื )
• ศาสตราจารย์ ว่าที่รอ้ ยโท ดร.พิชัย สดภิบาล ประธานโครงการพัฒนาตลาด

สามชกุ รอ้ ยปี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี กลา่ วสรปุ ผลกิจกรรม Sam Chuk Street Art
Project
• รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง เลขานุการ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
กลา่ วชน่ื ชมโครงการท่ีสถาบันอดุ มศึกษามีส่วนร่วมกับชมุ ชนตามพันธกิจดา้ น
การบริการวชิ าการแกส่ งั คม
• รองศาสตราจารย์ ดร.บังอร เบ็ญจาธิกลุ อธิการบดีมหาวิทยาลัยกรงุ เทพ
ธนบรุ ี กลา่ วเปิ ดพธิ สี ง่ มอบผลงาน Sam Chuk Street Art Project
• รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกลุ ชยั รงุ่ เรือง และรองศาสตราจารย์
ดร.บงั อร เบ็ญจาธิกลุ (ประธานในพิธี) มอบของที่ระลึกใหก้ บั ภาคีเครือขา่ ยแต่
ละสถาบัน และมอบเกียรติบัตรใหก้ ับคณาจารย์ ศิลปิ น และนกั ศึกษาผู้เขา้ ร่วม
การสรา้ งสรรค์ Sam Chuk Street Art Project
• คณุ พงษว์ ิน ชัยวิรัตน์ ประธานคณะกรรมการพัฒนาตลาดสามชกุ เชงิ อนุรักษ์
กล่าวขอบคณุ ภาคีเครือข่ายสถาบันศิลปกรรมท่ีเขา้ ร่วมกิจกรรมและการ
สรา้ งสรรค์ Sam Chuk Street Art Project
• ประธานในพิธี ชาวชมุ ชนตลาดสามชกุ และคณาจารย์ ศิลปิ น และนกั ศึกษาใน
ภาคีเครือข่ายสถาบันศิลปกรรมถ่ายภาพหม่รู ่วมกันเป็ นท่ีระลึก ณ บริเวณ
พื้นท่ีสรา้ งสรรคข์ องศิลปิ นกลุ ่ม Street Art King Bhumibol ลานจอดรถบนถนน
มติ รสมั พนั ธใ์ กลซ้ มุ้ ประตทู างเขา้ ชมุ ชนตลาดสามชกุ ดา้ นทศิ เหนอื
• ประธานในพิธี ชาวชมุ ชนตลาดสามชกุ และคณาจารย์ ศิลปิ น และนกั ศึกษาใน
ภาคีเครือขา่ ยสถาบันศิลปกรรมออกเดนิ ทางกลบั จากชมุ ชนตลาดสามชกุ

สตรที อารต์ กบั การท่องเท่ียว

ดร.วันชัย แกว้ ไทรส่นุ

อาจารย์ประจาหลักสูตรบัณฑติ ศึกษา สาขาการจัดการศิลปกรรม
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยกรุงเทพธนบรุ ี

การท่องเที่ยวยคุ ใหม่นักท่องเท่ียวตอ้ งการที่จะหาประสบการณ์ท่ีแปลก
ใหมอ่ ยเู่ สมอ เพือ่ หลดุ พน้ จากความจาเจจากแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเดมิ ๆ ทมี่ ีอยู่ จึงมคี วาม
ตอ้ งการทจ่ี ะหาสถานทที่ อ่ งเทยี่ วใหม่ ๆ และถึงแมว้ า่ สถานท่ีทอ่ งเท่ียวแห่งใหมน่ ีจ้ ะอยู่
ใกล้หรือไกลก็ตาม จะใชเ้ วลาในการเดินทางท่ียาวนานก็ไม่เป็ นปัญหาสาหรั บ
นกั ท่องเท่ียวท่ีจะไปเที่ยวชม แตด่ ว้ ยปัญหาสถานท่ีท่องเที่ยวที่แปลกใหมน่ น้ั มีไม่มาก
นัก และดว้ ยสภาวการณ์ระบาดขอโควิด-19 ท่ีเกิดขึ้น ทาใหก้ ารสรา้ ง การค้นหา
แหล่งท่องเท่ียวแห่งใหม่ ๆ ไม่สามารถท่ีจะจัดการไดเ้ ต็มที่ ซึ่งประเด็ นนี้ถา้ มีการ
จัดการที่สามารถจะนาเสนอสถานท่ีทอ่ งเที่ยวแหลง่ เดิม ที่มีการท่องเที่ยวกันอย่แู ลว้
แต่เกิดซบเซาลงหรือเป็ นสถานท่ีท่ีจัดเป็ นแหล่งท่องเท่ียวแห่งใหม่ ได้มีการออกแบบ
สถานทีน่ น้ั มกี ารเพ่มิ เตมิ กิจกรรมบางสิ่งบางอย่างเขา้ ไปในแหลง่ ทอ่ งเที่ยวเดิม ก็จะ
เป็ นแรงกระตนุ้ ใหน้ กั ทอ่ งเที่ยวเกิดความสนใจเดินทางเขา้ มาหาประสบการณ์ใหม่ อนั
จะเป็ นทางเลือกใหม่ใหก้ ับนักท่องเที่ยว ซ่ึงผลท่ีไดร้ ับจะทาใหแ้ หล่งท่องเที่ยวนั้น ๆ
เกิดการทอ่ งเท่ียวอย่างยัง่ ยืนตอ่ ไปและส่งผลใหช้ มุ ชนจะมีเศรษฐกิจที่ดีขนึ้ โดยลาดับ
ซ่ึงการจัดการกับพ้ืนท่ีท่องเท่ียวดังกล่าวนี้ก็คือ การจัดการที่นาเอารปู แบบศิลปะที่
เรียกวา่ สตรีทอารต์ (Street Art) มาสรา้ งสรรคก์ ับพ้ืนที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม
เพื่อสรา้ งแรงจงู ใจเชอื้ เชญิ นกั ทอ่ งเทย่ี วจานวนมากเขา้ มายงั ในพ้นื ที่สตรีทอารต์

ความหมายและพฒั นาการการเกิดสตรีทอารต์ คาว่า สตรีท
อารต์ (Street Art) มีนกั วิชาการไดใ้ หค้ วามหมายอย่หู ลายท่านดว้ ยกนั แตโ่ ดย
ภาพรวมแลว้ ผเู้ ขยี นขอสรปุ ความหมายดงั น้ี

สตรที อารต์ หมายถึงงานศิลปะที่ถ่ายทอดลงบนผนงั หรอื พ้ืนท่ี
ว่างทงั้ ภาพและหรือตวั อกั ษร โดยใชว้ สั ดอุ ยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรืออาจเป็ น
เทคนิคผสมกนั เช่นการใชพ้ ่กู นั สีสเปรย์ สติกเกอร์ กระดาษ เป็ นตน้
ถ่ายทอดออกมาเป็ นงานจิตรกรรมหรืออาจใชเ้ ทคนิคงานประติมากรรม
ผสม หรือถ่ายทอดออกมาเป็ นประติมากรรมอยา่ งเดียวก็ไดห้ รืออาจเป็ น
งานศิลปะส่ือผสมท่ีรวมเทคนิคต่าง ๆ ไวด้ ว้ ยกนั และงานสตรีทอารต์
จะตอ้ งเป็ นงานที่ไดร้ บั อนญุ าตใหใ้ ชพ้ ้ืนท่ีสรา้ งสรรคผ์ ลงานได้

พฒั นาการท่ีมาของงานสตรีทอารต์ เร่ิมตน้ จากร่องรอยจารึก
รอยขีดขว่ นในสมัยโบราณแลว้ จนถึงชว่ งเวลาผ่านมายคุ สมัยใหม่ก่อนหนา้ เมื่อ
65 ปี ท่ีผ่านมาจากกล่มุ แก็งสเตอร์ (gangster) เป็ นกลมุ่ อนั ธพาลที่พวกเขาไดใ้ ชส้ ี
สเปรยพ์ ่นลงบนผนงั มีคาเฉพาะของรปู แบบศิลปะกราฟฟิ ตี้ (Graffiti) (จักรพนั ธ์
,วรวิภา 2563, 212) ทาเครื่องหมายอาณาเขตของตน เริ่มแรกในเมืองฟิ ลาเดล
เฟี ย รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา ไดเ้ กิดศิลปิ นยคุ ใหม่คนแรกของโลกคือ
Darry Mccray เขามีชื่อแท็กว่า Combread เขาไดร้ บั การยกย่องว่าเป็ นนกั กราฟฟิ ตี้
คนแรกของสมยั ใหม่ (Cornbread, online) (ดภู าพท่ี 1 ประกอบ) จากนนั้ ไดแ้ พร่สู่
เมืองนิวยอรก์ ซึ่งมีที่มาจากการเหยียดผิวสีและต่อมาในปี พ.ศ. 2510 ไดเ้ กิด
วฒั นธรรมฮปิ ฮอปขนึ้ (Powers 1969,139)

ภาพที่ 1 : Darryl McCray มชี อ่ื แท็กวา่ ท า ใ ห้ก ร า ฟิ ต้ีเ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ง ข อ ง
" Cornbread " (ดา้ นหลงั ) นกั เขยี นกราฟฟิ ตี้ วัฒนธรรมฮิปฮอป ต่อมาไดม้ ีการ
จาก ฟิ ลาเดลเฟี ย นาเสนอในรปู แบบเรียกว่า แท็กกิง
(tagging) เป็ นรปู แบบโลโกห้ รือเป็ น
ที่มา : สญั ลักษณข์ องกล่มุ เป็ นการนาเสนอ
https://www.sprayplanet.com/blogs/news/a- ช่ือของตนเองและเป็ นการเขียนอย่าง
history-of-graffiti-the-60s-and-70s รวดเร็ว ผลงานเป็ นการนาเสนอเชิญ
ชวนเขา้ งานปารต์ ้รี วมถึงบอกสถานที่
จัดงาน เวลา ตอ่ มาพัฒนาการกราฟ
ฟิ ต้ีน้ีเป็ นไปในทางทาลายลักลอบ
สร้างผลงาน จ นต่อมาได้มีการ
นาเสนอวิธีใหม่ เทคนิคใหม่ มีการใช้
วัสดตุ ่าง ๆ นาเสนออย่างมากมาย
ภาพน้ันปรากฏอย่บู นรถไฟ กาแพง
ของทอ้ งถนน โดยเฉพาะรถไฟใตด้ ิน
เป็ นสถานที่กระจายช่ือศิลปิ นทีดีท่ีสดุ
(แมนฤทธ์ิ 2559, 2426) กลายเป็ น
นิทรรศการกลางแจ้ง ที่ทาให้ผู้คน
โดยทัว่ ไปไดช้ มงานอย่างไม่รตู้ ัวจน
เรียกว่าศิลปะสตรีทอารต์ ในทสี่ ดุ

จากพฒั นาดงั กลา่ วพบว่า รปู แบบของงานทง้ั สองมีความแตกตา่ งกนั
คือ งานกราฟฟิ ต้ี ศิลปิ นนน้ั อาจไม่ตอ้ งการนาเสนอเปิ ดเผยตัวตนท่ีแทจ้ ริงใช้
พื้นทสี่ รา้ งสรรคน์ อ้ ย แตศ่ ิลปิ นสตรีทอารต์ อาจเปิ ดเผยตวั ตนและนาเสนอผลงาน
ของตนก็ไดห้ รือไม่เปิ ดเผยแนวคิดของผลงานก็ได้ โดยใชพ้ ้ืนที่สรา้ งผลงานท่ี
มากกว่า

สตรีทอารต์ กบั การทอ่ งเท่ียวในตา่ งประเทศ ไดท้ ากนั มากอ่ นประเทศ
ไทยเรา โดยมีชื่อเรียกหลายช่ือดว้ ยกันไดแ้ ก่ graffiti excursion, street art
sightseeing หรืองาน mural journeying เป็ นตน้ จนชว่ งปี พ.ศ. 2540 เป็ นตน้ มาใน
ต่างประเทศถกู มองว่ากราฟฟิ ตี้และสตรีทอาร์ต เป็ นส่วนหนึ่งของเศรษฐกิจ
สรา้ งสรรค์ โดยรัฐบาลทอ้ งถ่ินไดใ้ ชส้ ตรีทอารต์ โปรโมทพื้นท่ีของตน (Mcauliffe
2012,197) มีเป้ าหมายที่ม่งุ เพ่ือใหเ้ กิดเมืองสรา้ งสรรค์ (จักรพันธ์,วรวิภา
2563, 213) เห็นไดจ้ ากตามเมืองใหญ่ของทวีปยโุ รป ออสเตรเลียและอเมริกา
เช่น ท่ีถนนเฮาเชอร์ เมืองเมลเบิรน์ ประเทศออสเตรเลียไดจ้ ัดงาน ในหัวข้อ All
Your Walls เป็ นการนาเสนอแนวกราฟฟิ ต้ีและสตรีทอารต์ โดยไดร้ บั แรงบนั ดาล
ใจจาก Urban Art จากนิวยอรก์ ซึ่งตอ่ มาทาใหม้ หานครเมลเบิรน์ ไดร้ บั ขนานนาม
ว่า เมืองศิลปะผ่านลายฉลขุ องโลก (Stencil Capital of the World) (ดภู าพที่ 2
ประกอบ)

ส่ ว น ป ร ะ เ ท ศ ที่ ใ ก ล้บ้า น เ ร า ใ น ปี
พ . ศ . 2 5 5 6 เ ร่ิ ม ที่ เ มื อ ง ปี นั ง
สหพันธรัฐมาเลเซีย เมืองน้ไี ดร้ ับเป็ น
เมืองมรดกโลกในปี พ .ศ. 2551
นาเสนองานชื่อ Penang Street Art ใน
ปี พ.ศ. 2555 เป็ นการสรา้ งสรรค์
ผลงานโดยไมท่ าลายอาคารเกา่ แสดง
เร่ืองราววิถีชีวิตดงั้ เดิมของชาวเมือง
มศี ิลปิ นตา่ งประเทศร่วมสรา้ งผลงาน
จานวนมาก ทาใหม้ ีนกั ท่องเที่ยวมาก
ขนึ้ และนกั ทอ่ งเท่ียวมีความตอ้ งการท่ี
จะถ่ายภาพค่กู บั ภาพสตรีทอารต์ ของ
ศิลปิ นทตี่ ดิ ตงั้ อยโู่ ดยทวั่ ไปของเมอื ง

ภาพที่ 2 : สตรีทอารต์ ซอยบลสู โตน ในเมอื งเมลเบริ น์ ประเทศออสเตรเลยี
ทมี่ า : https://www.visitvictoria.com/regions/mel สบื คน้ 7 มนี าคม 2565

ภาพที่ 3 : สตรีทอารต์ ในปี นงั ชอื่ ภาพ Boy on a Bike โดย Ernest Zacharevic

ทม่ี า : https://www.kathmanduandbeyond.com/street-art-geo สบื คน้ 7 มนี าคม 2565

สาหรบั สตรีทอาร์ตกบั การท่องเที่ยวในประเทศไทย โดยท่ี
ประเทศไทยเราไดร้ บั อิทธิพลจากตา่ งประเทศไดท้ ามาก่อนแลว้ เริ่มจากการสรา้ ง
งานของศิลปิ นบุคคลไดท้ าศิลปะกราฟฟิ ตี้มาก่อน ประมาณปี พ.ศ. 2543
จากนัน้ ช่วงปี พ.ศ.2554 เริ่มมีการจัดนิทรรศการแนวกราฟฟิ ต้ีครั้งแรกใชช้ ่ือ
งาน For Wall Painting Showcase เป็ นการนาเสนอดว้ ยเทคนิคที่หลากหลายไดแ้ ก่
สีสเปรย์ สีอคลิลิก สีพาสเทล และการสกรีนบนผนัง จากนั้นไดม้ ีการจัดงาน
นิทรรศการในปี พ.ศ. 2556 ช่ืองาน Bukruk Urban Arts Festival จัดที่หอ
ศิลปวฒั นธรรมกรงุ เทพมหานครทง้ั ภายในและภายนอกอาคาร

ซึ่งการจัดนิทรรศการที่ผ่านมาจะเป็ นการเชิญชวนเขา้ ชมในหอศิลป์
เป็ นหลัก ต่อมาไดม้ ีการจัดนิทรรศการคร้ังที่ 2 ในหัวขอ้ เดียวกัน ช่วงระหว่าง
วันที่ 23-31 มกราคม 2559 แต่คร้ังนี้สรา้ งผลงานนอกพ้ืนท่ีโดยใช้ผนัง
บริเวณถนนเจริญกรงุ ถนนทรงวาด ถนนเดโช (siam2nite,online) เป็ นการ
ร่วมมือกับชมุ ชนสมาคมตลาดนอ้ ยและโครงการพื้นท่ีสรา้ งสรรคร์ ิมแม่นา้ โดย
ศิลปิ นไทยและตา่ งประเทศ จดุ มงุ่ หมายเพื่อใหช้ มุ ชนไดเ้ ห็นความสาคัญของศิลปะ
และความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละเป็ นการสรา้ งสสี นั แปลกใหมใ่ หก้ บั กรงุ เทพมหานคร

ในปี เดียวกนั น้เี อง (ปี 2559) ไดม้ ีการเริ่มเขียนภาพแบบสตรีทอารต์
กบั การท่องเท่ียวอย่างแทจ้ ริง เร่ิมข้ึนครั้งแรกที่เมืองเก่าสงขลา จังหวัดสงขลา
ผลงานที่นาเสนอเป็ นเรื่องราวของวิถีชีวิตของผคู้ นคร้ังอดีตที่ผ่านมาของเมือง
ภายใตห้ วั ขอ้ “เมอื งเกา่ วิถีเดมิ เสริมการทอ่ งเทย่ี ว” (ดวงดาว 2562, 182)

ภาพที่ 4 : สตรีทอารต์ เมอื งเก่าสงขลา
ทม่ี า: http://www.songkhla.go.th/

เป็ นการเชิญชวนใหน้ ักท่องเที่ยวไดไ้ ปเที่ยวชมคือเมืองเก่าสงขลา (ดภู าพที่ 4
ประกอบ) การนาเสนอภาพสตรีทอาร์ตเป็ นการไดร้ ับอิทธิพลแนวคิดมาจาก
เมืองปี นัง สหพันธรัฐมาเลเซียท่ีทามาก่อนหนา้ แลว้ 4 ปี ผลท่ีเกิดทาให้
นกั ทอ่ งเท่ียวเขา้ มาท่องเท่ียวเมืองเกา่ สงขลาเป็ นจานวนมากข้นึ โดยลาดบั เมื่อ
มาแลว้ ก็ตอ้ งการท่ีจะถ่ายภาพที่เขียนขึ้นตามจดุ ตา่ ง ๆ ของเมืองและที่สาคัญ
ยงั ทาใหเ้ จา้ ของพ้ืนทเี่ กิดความรกั หวงแหนในบา้ นเกิดของตน จากเจ้าของพ้ืนท่ี
ทอ่ี าศยั อยทู่ อ่ี ่ืนไดก้ ลบั มาพฒั นาปรบั ปรงุ บา้ นของตนเพ่ือรองรบั นกั ทอ่ งเทย่ี ว

ภาพที่ 5 : สตรีทอารต์ เชยี งคาน
ทมี่ า : ผเู้ ขยี น

จากนนั้ จังหวัดอ่ืน ๆ ไดร้ ับเอาแนวคิดน้ีไปใชต้ อ่ อย่างหลากหลาย เช่นท่ีถนน
สายวัฒนธรรมบา้ นเรือนอาคารเก่าเมืองเชียงคาน จังหวัดเลย พบว่ามีการ
เขยี นภาพแนวสตรีทอารต์ บางจดุ ของถนนคนเดิน ทาใหน้ กั ท่องเท่ียวถ่ายภาพ
เป็ นที่ระลึก ซ่ึงต่อมาผลของการถ่ายภาพสตรีทอาร์ตได้กลายเป็ นจุด
ประชาสมั พนั ธใ์ หก้ บั เมอื งเชยี งคานเชอื้ เชญิ ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วมาเที่ยวตอ่ ไป

(ดภู าพที่ 5 ประกอบ)

ภาพท่ี 6 : สตรีทอารต์ ในเอเชยี ทคี เร่ืองการถ่ายภาพท่ีระลึกน้ี มี
ที่มา : ผเู้ ขยี น นกั วิชาการไดท้ าการศึกษาพบว่า พฤติกรรม
ภาพที่ 7 : สตรีทอารต์ ในเอเชยี ทคี ข อ ง ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว นั ก ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ม า เ ท่ี ย ว
ทีม่ า : ผเู้ ขยี น สถานท่ีใดสถานท่ีหน่ึงจะถ่ายภาพบคุ คลกับ
สถานท่ีนน้ั และนาเสนอผา่ นสื่ออินสตาแกรม
ใหโ้ ลกออนไลนร์ วู้ ่าเวลานี้ “อย่ทู ี่นี่” พรอ้ มกับ
การเช็คอินสถานท่ีนนั้ (เสมา, กฤษณ์ 2563,
415)

ในกรงุ เทพมหานครมีตวั อย่างการ
น า ภ า พ ส ต รี ท อ า ร์ ต เ ข ้า ม า เ ขี ย น ใ น พื้ น ที่
ยกตวั อย่างท่ีเอเชยี ทีคเดอะรีเวอรฟ์ รอ้ นทเ์ ป็ น
พ้ืนที่ทางประวัติศาสตรข์ องเอกชน นาเสนอ
จัดใหเ้ ป็ นพื้นที่ท่องเท่ียว โดยจัดการข้ึนมา
ใหม่แลว้ สรา้ งงานสตรีทอาร์ตประกอบใน
พื้นที่ ใช้ภาพจิตรกรรมแสดงรวมแหล่ง
ท่องเท่ียวเพ่ือสื่อถึงสินคา้ ทัว่ โลกมาไวใ้ นท่ี
ท่องเท่ียวแห่งนี้ และมีงานประติมากรรม
สรา้ งสรรค์ผลงาน ท่ีส่ือเร่ืองราวถึงวิถีชีวิต
ในอดตี ของพ้ืนท่ี (ดภู าพที่ 6-7 ประกอบ)

มีตัวอย่างการใชส้ ตรีท
อารต์ รปู แบบประติมากรรมห่นุ ฟาง
ประดบั ในหม่บู า้ นชิราคาวาโก เมือง
มรดกโลกในปี 2538 ได้ติดต้ัง
ผลงานตามผนังบ้านและบริเวณ
ว่างข อ งพ้ื น ที่ ใช้วัสดุฟางข้าว
เสื้อผา้ จริง สื่อถึงวิถีชีวิตในหม่บู า้ น
ทาใหน้ ักท่องเที่ยวถ่ายภาพเป็ นที่
ร ะ ลึ ก แ ล ะ ท่ี ส าคัญ ผ ล ง า น น้ีไ ม่
ทาลายอาคารมรดกโลก
(ดภู าพที่ 8-9 ประกอบ)

ภาพท่ี 8 : การใชฟ้ างขา้ ว เสอ้ื ผา้ ทาเป็ นห่นุ ประดบั ตามถนนและผนงั อาคารมรดกโลก ชริ าคาวาโก
ทม่ี า : ผเู้ ขยี น
ภาพท่ี 9 : การใชฟ้ างขา้ ว เสอื้ ผา้ ทาเป็ นห่นุ ประดบั ตามถนนและผนงั อาคารมรดกโลก ชริ าคาวาโก
ท่มี า : ผเู้ ขยี น

ภาพท่ี 10 : โปสเตอรโ์ ฆษณาชม Street Art สว่ นในไทยมีตวั อย่างขอ้ ดีหน่ึงที่
ที่มา : https://www.google.co.th/search สืบเน่ืองจากการนาเสนอสตรีทอาร์ตใน
กรงุ เทพมหานครที่ผ่านมาในปี 2559 จน
ต่อมาในช่วงตน้ เดือนมีนาคมปี น้ี (2565)
ส่ว น ร า ช ก า ร ต่า ง ๆ ไ ด้ร่ ว ม กับ ก า ร
ท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย จัดงานส่งเสริม
การท่องเที่ยว Journey in the city เพ่ือเชิญ
ชวนนักท่องเท่ียวเปิ ดประสบการณ์การ
ทอ่ งเทีย่ วไทยแบบใหม่ ไปสมั ผสั วิถีชีวิตของ
ชมุ ชน ธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม รวมถึง
ได้ชิม อาหารอร่อ ยอย่างหลากหลาย
ประเด็นสาคญั ในทีน่ กี้ ็คือ การจดั งานในครัง้
นมี้ ีการเชิญชวนใหช้ มศิลปะ Street Art ใน
แ ห ล่ ง ชุ ม ช น ข อ ง ใ จ ก ล า ง เ มื อ ง
กรงุ เทพมหานคร เป็ นการแสดงใหเ้ ห็นถึง
คณุ คา่ ประโยชนข์ องศิลปะสตรีทอารต์ เป็ น
แรงจงู ใจใหน้ ักท่องเท่ียวชมอย่างต่อเนื่อง
อยา่ งไมร่ จู้ บ จนกว่าภาพนน้ั จะเส่ือมหรือถกู
ลบออกไป (ดภู าพที่10 ประกอบ)

ขอ้ เสนอแนะ
การสรา้ งงานสตรีทอารต์ ควรไดร้ ับอนญุ าตจากชมุ ชนเจา้ ของพื้นท่ี

ผลงานสรา้ งสรรคค์ วรใหส้ อดคลอ้ งกบั พ้ืนที่และเจา้ ของพ้ืนที่ควรรับรเู้ ร่ืองราว
การสรา้ งผลงาน ผลงานไม่ควรทาลายพื้นที่อนรุ ักษ์ ควรกาหนดระยะเวลาการ
คงสภาพของชิ้นงาน ควรมีขอ้ ตกลงการเปลี่ยนแปลงดแู ลรักษาและการซ่อมท่ี
ชดั เจน และควรมีขอ้ ตกลงลขิ สทิ ธิ์ของผลงานใหช้ ดั เจนเม่ือมีรายไดท้ ี่เกดิ ขน้ึ

บรรณานกุ รม
จักรพันธ์ เชาวป์ รีชา และ วรวิภา วัฒนสนุ ทร. “การเรียนรแู้ บทวิวัจนผ์ ่านการ

สร้างสรรค์สตรีทอาร์ต” วารสารวิจิตรศิลป์ ปี ท่ี 11 ฉบับที่ 2
กรกฎาคม-ธนั วาคม 2563 : 207-232.

ตวงทอง สรประเสริฐ. “ ศิลปะสตรีทอารต์ กับการท่องเท่ียว” วารสารวชิ าการ
มหาวทิ ยาลัยหอการคา้ ไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปี ที่ 39 ฉบบั ที่
1 เดอื นมกราคม-มีนาคม 2562 : 178-189.

แมนฤทธิ์ เต็งยะ. “ จากวัฒนธรรมกราฟฟิ ตีส่งู านสตรีทอาร์ตในประเทศไทย”
วารสารสาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปี ท่ี9 ฉบับที่ 2
พฤษภาคม-สิงหาคม 2559 : 2414-2436.

เสมา ธนาภบิ รู ณ์ และ กฤษณ์ ทองเลศิ . “สตรีทอารต์ เพื่อการสอ่ื สารการ
ทอ่ งเท่ยี วเมืองเกา่ ในเขตกรงุ เทพมหานครผา่ นสือ่ ใหม่” การประชมุ วิชาการ
ระดบั ชาติ มหาวิทยาลยั รงั สิต ประจาปี 2563: 426-420 Cornbread,
[online]. Retrived March 1, 2021 from
https://en.wikipedia.org/wiki/Cornbread_(graffiti_artist)

Mcauliffe, Cameron. “Graffiti or Street Art? Negotiating the Moral Geographies of
the Creative City” The Journal of Urban Affair Association, 34, no. 2
(2012): 189-206.

Powers, Lynn A. “ Whatever Happened to the Graffiti Art Movement?”. Journal
of Popular Culture, 29, no.4 (1996): 137-142.

Siam2nite, [online]. Retrived March 1, 2021 from
https://www.siam2nite.com/th/magazine/lifestyle/item/394-bukruk-2-
an-artistic-sashimi-experience.

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรงุ เทพธนบรุ ี
ผจู้ ดั ทาสอื่ ประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรม Sam Chuk Street Art Project


Click to View FlipBook Version