The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาพร่างต้นแบบและรายชื่อผู้สร้างสรรค์ Sam Chuk Street Art Project ของคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by artdesign.btu, 2022-03-29 23:50:42

ภาพร่างต้นแบบและรายชื่อผู้สร้างสรรค์ Sam Chuk Street Art Project ของคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ภาพร่างต้นแบบและรายชื่อผู้สร้างสรรค์ Sam Chuk Street Art Project ของคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผลงานสรา้ งสรรค์
Sam Chuk Street Art Project

โดย
คณะมณั ฑนศิลป์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

ช่ือผลงาน:
พ้นื ท่ ีสานสมัคร (Site Specific Installation)
แนวความคิด:
ปรบั ปรงุ พน้ื ท่สี ำหรบั กำรเสวนำในชมุ ชนใหเ้ กดิ อัตลกั ษณ์ จำกควำม
เชอ่ื และควำมสำมคั คีรว่ มกนั ของชมุ ชนสำมชกุ

สถำนท่ี : ลำนโพธิ์
ผรู้ บั ผิดชอบ :คณะมณั ฑนศิลป์ มหำวิทยำลยั ศิลปำกร

คณะมณั ฑนศิลป์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร

อาจารยผ์ ปู้ ระสานงาน
1. อำจำรยอ์ ำนภุ ำพ จนั ทรมั พร
2. ผชู้ ว่ ยศำสตรำจำรยน์ วตั เลศิ แสวงกจิ

นกั ศึกษาที่เขา้ รว่ มกจิ กรรม
1. นำยสมกมล ไชยสภุ ำ
2. นำยภำนพุ งษ์ วิเศษสิริ
3. นำยสิทธิพงษ์ โยธำ

รายช่ือองคก์ รผสู้ นบั สนนุ

1. คณะกรรมกำรพฒั นำตลำดสำมชกุ เชงิ อนรุ กั ษ์
2. บริษทั ย.ู อำร.์ เคมคี อล จำกดั
3. บริษทั เอทเี อ็ม สเปรย์ (Atm Spray)
4. บริษทั Chumphol 8888
5. click education
6. True Vision
7. มลู นธิ ิวิทยำกำรจดั กำรจนั ทรเกษม



ภาคผนวก

กจิ กรรม Sam Chuk Street Art Project ภายใตโ้ ครงการพฒั นาตลาด
สามชกุ รอ้ ยปี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ในเชิงอนรุ กั ษ์ ผ่านศิลปกรรมกบั ชมุ ชน
เพื่อรองรบั หลงั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดต่อเช้ือไวรสั โคโรน่า
2019 (โควิด-19)

หลกั การและเหตผุ ล

สถำนกำรณก์ ำรแพรร่ ะบำดของโรคตดิ ตอ่ เชอื้ ไวรัสโคโรนำ่ 2019 (โควิด-19)
ทำใหส้ ่งผลกระทบกระเทือนในกำรอนุรักษ์และรักษำผลงำนดำ้ นศิลปกรรมและ
สถำปัตยกรรมของชมุ ชนตลำดพื้นถิ่นใหด้ ำรงอย่ใู นทอ้ งถิ่นอย่ำงยงั่ ยืนและมนั่ คงทำง
เศรษฐกิจ แมแ้ ตต่ ลำดสำมชกุ รอ้ ยปี จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ก็อย่ใู นสภำพกำรณท์ ี่เกิดผล
กระทบจำกสถำนกำรณก์ ำรแพร่ระบำดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่ำ 2019 ก็ตอ้ ง
ปฏิบัติตำมกฎขอ้ บังคับกำรควบคมุ โรคระบำด จึงทำใหก้ ำรท่องเท่ียวและกำรสรำ้ ง
เศรษฐกิจของชมุ ชนลดถอยลง

ชมุ ชนจึงมีแนวคิดร่วมกันกับภำคีเครือข่ำยสถำบันกำรศึกษำทำงด้ำ น
ศิลปกรรม เพ่ือทำกำรฟ้ื นฟูและสรำ้ งสรรคส์ ิ่งท่ีจะสำมำรถทำใหต้ ลำดสำมชกุ รอ้ ยปี
จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ฟ้ื นคืนสภำพหลังสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคติดต่อเชื้อ
ไวรัสโคโรนำ่ 2019 (โควิด-19) โดยเป็ นกำรจดั กิจกรรมศิลปะที่สื่อสะทอ้ นถึงสัมพนั ธ์
ของวิถีชวี ติ ของชำวตลำดสำมชกุ กับพ้ืนท่ีชมุ ชน จึงนำมำสกู่ ำรสรำ้ งสรรคส์ ตรีทอำรต์
(Sam Chuk Street) หรือผลงำนศิลปกรรมในพ้ืนที่สำธำรณะในชือ่ กิจกรรม Sam Chuk
Street Art Project ภำยใตโ้ ครงกำรพฒั นำตลำดสำมชกุ รอ้ ยปี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

ในเชิงอนรุ ักษ์ ผำ่ นศิลปกรรมกับชมุ ชน เพื่อรองรับหลังสถำนกำรณก์ ำรแพร่ระบำด
ของโรคติดต่อเช้ือไวรัสโคโรน่ำ 2019 (โควิด-19) ซึ่งนบั เป็ นกำรสรำ้ งสรรค์ผลงำน
ศิลปกรรมสมยั ใหมท่ คี่ งอยคู่ วบคไู่ ปกบั ชมุ ชนโบรำณใหส้ ืบไปอยำ่ งยงั่ ยืน

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือจัดกิจกรรมทำงดำ้ นศิลปกรรมร่วมสมยั ร่วมกบั ชมุ ชนภำยใตช้ ่ือ Sam Chuk
Street Art Project อนั เป็ นกำรทำนุ บำรงุ รักษำ และตอ่ ยอดศิลปะ วฒั นธรรม และ
ควำมเป็ นไทยใหย้ นื หยดั อยรู่ ่วมกบั ชมุ ชนไทยอยำ่ งยงั่ ยนื

2. เพื่อสรำ้ งสรรคผ์ ลงำนทำงดำ้ นศิลปกรรมร่วมสมยั ร่วมกับชมุ ชนตลำดสำมชกุ
รอ้ ยปี จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ในนำมของภำคีเครือข่ำยสถำบันศิลปกรรมที่มีกำร
เรียนกำรสอนทำงดำ้ นศิลปะ กำรออกแบบ และกำรจดั กำรศิลปกรรม ใหเ้ กิดกำร
เรียนรแู้ ละกำรสรำ้ งสรรคร์ ว่ มกนั ในพื้นทส่ี ำธำรณะและมสี ว่ นร่วมกับชมุ ชน

3. เพอ่ื ใหก้ ำรจดั กำร กำรดำเนนิ กำร และกำรสรำ้ งสรรคก์ ิจกรรม Sam Chuk Street
Art Project เป็ นแนวทำงในกำรธำรง รักษำ พัฒนำ และสรำ้ งสรรคช์ มุ ชน สงั คม
และประเทศชำติ ภำยใตพ้ ันธกิจดำ้ นกำรบริกำรวิชำกำรทำงดำ้ นศิลปกรรมแก่
สงั คมของภำคเี ครือขำ่ ยสถำบันศิลปกรรม

ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั

1. เกิดกิจกรรมทำงดำ้ นศิลปกรรมร่วมสมัยร่วมกับชมุ ชนภำยใตช้ ื่อ Sam Chuk
Street Art Project อนั เป็ นกำรทำนุ บำรงุ รกั ษำ และตอ่ ยอดศิลปะ วฒั นธรรม และ
ควำมเป็ นไทยใหย้ ืนหยดั อยรู่ ่วมกบั ชมุ ชนไทยอยำ่ งยงั่ ยืน

2. กิจกรรม Sam Chuk Street Art Project เป็ นกำรสรำ้ งสรรคผ์ ลงำนทำงดำ้ น
ศิลปกรรมร่วมสมยั ร่วมกบั ชมุ ชนตลำดสำมชกุ รอ้ ยปี จังหวดั สพุ รรณบุรี ในนำม
ของภำคีเครือขำ่ ยสถำบันศิลปกรรมที่มีกำรเรียนกำรสอนทำงดำ้ นศิลปะ กำร
ออกแบบ และกำรจดั กำรศิลปกรรม ใหเ้ กิดกำรเรียนรแู้ ละกำรสรำ้ งสรรคร์ ว่ มกนั
ในพืน้ ทีส่ ำธำรณะและมสี ว่ นรว่ มกบั ชมุ ชน

3. กิจกรรม Sam Chuk Street Art Project เป็ นแนวทำงในกำรธำรง รักษำ พฒั นำ
และสรำ้ งสรรค์ชมุ ชน สังคม และประเทศชำติ ภำยใตพ้ ันธกิจดำ้ นกำรบริกำร
วิชำกำรทำงดำ้ นศิลปกรรมแก่สังคมของภำคีเครือขำ่ ยสถำบันศิลปกรรม ผ่ำน
กระบวนวธิ กี ำรจดั กำร กำรดำเนนิ กำร และกำรสรำ้ งสรรค์

กาหนดการกจิ กรรม Sam Chuk Street Art Project
โดยภาคีเครอื ขา่ ยสถาบนั ศิลปกรรม

ระหว่างวนั ที่ 8-9 เมษายน พ.ศ. 2565

วนั ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2565

08.30-09.30 น. • ภำคีเครือข่ำยสถำบันศิลปกรรมที่เขำ้ ร่วมกิจกรรมฯ ลงทะเบียน ณ กอง
09.30-10.00 น. อำนวยกำรท่ี 1 บริเวณลำนโพธิ์ ซอย 2 ตลำดสำมชกุ

• รับประทำนอำหำรเชำ้ รับของท่ีระลึกและเส้ือยืดของกิจกรรมฯ สำหรับใส่เขำ้
รว่ มพิธสี ง่ มอบผลงำนฯ

• พิธีเปิ ดกิจกรรม Sam Chuk Street Art Project ณ เวที บริเวณลำนโพธิ์ ซอย 2
ตลำดสำมชกุ

• ศำสตรำจำรย์ ว่ำท่ีรอ้ ยโท ดร.พิชัย สดภิบำล ประธำนโครงกำรพัฒนำตลำด
สำมชกุ รอ้ ยปี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ในเชงิ อนรุ ักษ์ ผำ่ นศิลปกรรมกับชมุ ชน เพ่ือ
รองรับหลังสถำนกำรณก์ ำรแพร่ระบำดของโรคติดตอ่ เช้อื ไวรัสโคโรนำ่ 2019
(Covid-19) กลำ่ วควำมเป็ นมำของกจิ กรรม Sam Chuk Street Art Project

• คณุ พงษว์ ิน ชัยวิรัตน์ ประธำนคณะกรรมกำรพัฒนำตลำดสำมชกุ เชงิ อนุรักษ์
กลำ่ วตอ้ นรบั ภำคีเครือขำ่ ยสถำบันศิลปกรรมทเ่ี ขำ้ รว่ มกิจกรรมฯ

• เรียนเชิญ ผศ.ดร.อมรำ รัตตำกร ประธำนมลู นธิ ิวิทยำกำรจดั กำรจันทรเกษม
สง่ มอบเงนิ สนบั สนนุ สงิ่ ของและอปุ กรณใ์ หก้ บั คณุ พงษว์ ิน ชยั วิรัตน์

• พิธีกรชแ้ี จงและอธบิ ำยกำหนดกำร รำยละเอยี ด และคณะผปู้ ระสำนงำนในแตล่ ะ
ฝ่ ำยของกจิ กรรมฯ

10.00-10.30 น. • ศิลปิ นและตวั แทนแตส่ ถำบัน/หนว่ ยงำนของภำคีเครือขำ่ ยสถำบันศิลปกรรมรับ
10.30-12.00 น. อปุ กรณ์สำหรับสร้ำงสรรค์ผลงำน (สี กระป๋ องน้ำ และจำนสี) ณ กอง
อำนวยกำรท่ี 2 ลำนจอดรถบนถนนมิตรสัมพันธ์ใกลซ้ มุ้ ประตทู ำงเขำ้ ชมุ ชน
12.00-13.00 น. ตลำดสำมชกุ ดำ้ นทิศเหนอื
13.00-16.30 น.
16.30-17.30 น. • ศิลปิ นและตัวแทนแต่สถำบัน/หน่วยงำนฯ เดินทำงไปยังพื้นที่ปฏิบัติกำร
สรำ้ งสรรคท์ ก่ี ำหนดไวแ้ ตล่ ะจดุ ตำมขอ้ ตกลงไว้

• ศิลปิ นและตวั แทนแต่สถำบัน/หนว่ ยงำนของภำคีเครือขำ่ ยสถำบันศิลปกรรม
ร่วมปฏิบตั กิ ำรสรำ้ งสรรคแ์ ละติดตง้ั ผลงำน Sam Chuk Street Art Project (ภำค
เชำ้ )

• โดยตลอดกิจกรรมมกี ำรเก็บบันทึกกำรปฏิบัติงำนเป็ นไฟลภ์ ำพถ่ำย เสียง และ
คลิปวิดีโอ สำหรับผลิตสื่อ กำรประชำสัมพันธ์ และบันทึกเป็ นหลั กฐำน
ปฏิบตั กิ ำรสรำ้ งสรรคเ์ ชงิ ประจกั ษ์

• พกั รบั ประทำนอำหำรกลำงวนั ทีส่ นบั สนนุ โดยชำวชมุ ชนตลำดสำมชกุ
• ศิลปิ นและตัวแทนแต่สถำบัน/หน่วยงำนฯ มำรับอำหำรกลำงวันท่ีกอง

อำนวยกำรท่ี 1 บริเวณลำนโพธ์ิ ซอย 2 ตลำดสำมชกุ
• ศิลปิ นและตัวแทนแตส่ ถำบัน/หน่วยงำนของภำคีเครือขำ่ ยสถำบันศิลปกรรม

ร่วมปฏบิ ตั กิ ำรสรำ้ งสรรคแ์ ละตดิ ตงั้ ผลงำน Sam Chuk Street Art Project (ภำค
บ่ำย)
• ภำคีเครือข่ำยสถำบันศิลปกรรมร่วมกันสรปุ และประเมินผลกำรปฏิบัติงำน
ประจำวนั กำรสนทนำ กำรแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น ตำมอธั ยำศัย ณ บริเวณ
ลำนโพธิ์ ซอย 2 ตลำดสำมชกุ

17.30-20.00 น. • พักรับประทำนอำหำรค่ำ ณ บริเวณตลำดสำมชกุ สนับสนนุ โดยชำวชมุ ชน
20.00 น. ตลำดสำมชกุ

• กจิ กรรมภำคเี ครือขำ่ ยสถำบันศิลปกรรมสมั พนั ธ์ กำรสนทนำ กำรแลกเปล่ียน
ควำมคิดเห็น กลมุ่ ใหญแ่ ละกลมุ่ ยอ่ ยตำมอธั ยำศยั

• ศิลปิ นและตัวแทนแต่สถำบัน/หน่วยงำนของภำคีเครือขำ่ ยสถำบันศิลปกรรม
เดนิ ทำงกลบั ทพ่ี กั และพกั ผอ่ นตำมอธั ยำศยั

08.30-09.00 น. วนั ท่ี 9 เมษายน พ.ศ. 2565
09.00-12.00 น.
• ภำคีเครือขำ่ ยสถำบันศิลปกรรมรับประทำนอำหำรเชำ้ ณ กองอำนวยกำรท่ี 1
12.00-13.00 น. บริเวณลำนโพธิ์ ซอย 2 ตลำดสำมชกุ
14.00-15.30 น
• ศิลปิ นและตัวแทนแต่สถำบัน/หน่วยงำนของภำคีเครือขำ่ ยสถำบันศิลปกรรม
รว่ มปฏิบัตกิ ำรสรำ้ งสรรคแ์ ละตดิ ตงั้ ผลงำน Sam Chuk Street Art Project (ตอ่ )

• จดั กำรและทำควำมสะอำดพนื้ ที่สรำ้ งสรรคเ์ พื่อเตรียมสง่ มอบใหก้ ับชมุ ชนตลำด
สำมชกุ

• พกั รับประทำนอำหำรกลำงวนั ทีส่ นบั สนนุ โดยชำวชมุ ชนตลำดสำมชกุ
• พิธีสง่ มอบผลงำน Sam Chuk Street Art Project ใหก้ บั ชมุ ชนตลำดสำมชกุ ณ

บริเวณพนื้ ทสี่ รำ้ งสรรคข์ องศิลปิ นกลุ ่ม Street Art King Bhumibol (ลำนจอดรถ
บนถนนมติ รสมั พนั ธใ์ กลซ้ มุ้ ประตทู ำงเขำ้ ชมุ ชนตลำดสำมชกุ ดำ้ นทศิ เหนอื )
• ศำสตรำจำรย์ ว่ำที่รอ้ ยโท ดร.พิชัย สดภิบำล ประธำนโครงกำรพัฒนำตลำด
สำมชกุ รอ้ ยปี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี กลำ่ วสรปุ ผลกิจกรรม Sam Chuk Street Art
Project

15.30-16.30 น. • พธิ ีสง่ มอบผลงำน Sam Chuk Street Art Project ใหก้ บั ชมุ ชนตลำดสำมชกุ
16.30 น. • ณ บริเวณพ้ืนท่สี รำ้ งสรรคข์ องศิลปิ นกลุ ่ม Street Art King Bhumibol (ลำนจอด

รถบนถนนมติ รสมั พนั ธใ์ กลซ้ มุ้ ประตทู ำงเขำ้ ชมุ ชนตลำดสำมชกุ ดำ้ นทิศเหนอื )
• ศำสตรำจำรย์ ว่ำที่รอ้ ยโท ดร.พิชัย สดภิบำล ประธำนโครงกำรพัฒนำตลำด

สำมชกุ รอ้ ยปี จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี กลำ่ วสรปุ ผลกิจกรรม Sam Chuk Street Art
Project
• รองศำสตรำจำรย์ ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจำธิกุล ชัยรุ่งเรือง เลขำนุกำร
รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรอดุ มศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
กลำ่ วชน่ื ชมโครงกำรท่ีสถำบันอดุ มศึกษำมีส่วนร่วมกับชมุ ชนตำมพันธกิจดำ้ น
กำรบริกำรวชิ ำกำรแกส่ งั คม
• รองศำสตรำจำรย์ ดร.บังอร เบ็ญจำธิกลุ อธิกำรบดีมหำวิทยำลัยกรงุ เทพ
ธนบรุ ี กลำ่ วเปิ ดพธิ สี ง่ มอบผลงำน Sam Chuk Street Art Project
• รองศำสตรำจำรย์ ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจำธิกลุ ชยั รงุ่ เรือง และรองศำสตรำจำรย์
ดร.บงั อร เบ็ญจำธิกลุ (ประธำนในพิธี) มอบของที่ระลึกใหก้ บั ภำคีเครือขำ่ ยแต่
ละสถำบัน และมอบเกียรติบัตรใหก้ ับคณำจำรย์ ศิลปิ น และนกั ศึกษำผู้เขำ้ ร่วม
กำรสรำ้ งสรรค์ Sam Chuk Street Art Project
• คณุ พงษว์ ิน ชัยวิรัตน์ ประธำนคณะกรรมกำรพัฒนำตลำดสำมชกุ เชงิ อนุรักษ์
กล่ำวขอบคณุ ภำคีเครือข่ำยสถำบันศิลปกรรมท่ีเขำ้ ร่วมกิจกรรมและกำร
สรำ้ งสรรค์ Sam Chuk Street Art Project
• ประธำนในพิธี ชำวชมุ ชนตลำดสำมชกุ และคณำจำรย์ ศิลปิ น และนกั ศึกษำใน
ภำคีเครือข่ำยสถำบันศิลปกรรมถ่ำยภำพหม่รู ่วมกันเป็ นท่ีระลึก ณ บริเวณ
พื้นท่ีสรำ้ งสรรคข์ องศิลปิ นกลุ ่ม Street Art King Bhumibol ลำนจอดรถบนถนน
มติ รสมั พนั ธใ์ กลซ้ มุ้ ประตทู ำงเขำ้ ชมุ ชนตลำดสำมชกุ ดำ้ นทศิ เหนอื
• ประธำนในพิธี ชำวชมุ ชนตลำดสำมชกุ และคณำจำรย์ ศิลปิ น และนกั ศึกษำใน
ภำคีเครือขำ่ ยสถำบันศิลปกรรมออกเดนิ ทำงกลบั จำกชมุ ชนตลำดสำมชกุ

สตรที อารต์ กบั การท่องเท่ียว

ดร.วันชัย แกว้ ไทรส่นุ

อาจารย์ประจาหลักสูตรบัณฑติ ศึกษา สาขาการจัดการศิลปกรรม
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยกรุงเทพธนบรุ ี

กำรท่องเที่ยวยคุ ใหม่นักท่องเท่ียวตอ้ งกำรที่จะหำประสบกำรณ์ท่ีแปลก
ใหมอ่ ยเู่ สมอ เพือ่ หลดุ พน้ จำกควำมจำเจจำกแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเดมิ ๆ ทมี่ ีอยู่ จึงมคี วำม
ตอ้ งกำรทจ่ี ะหำสถำนทที่ อ่ งเทยี่ วใหม่ ๆ และถึงแมว้ ำ่ สถำนท่ีทอ่ งเท่ียวแห่งใหมน่ ีจ้ ะอยู่
ใกล้หรือไกลก็ตำม จะใชเ้ วลำในกำรเดินทำงท่ียำวนำนก็ไม่เป็ นปัญหำสำหรั บ
นกั ท่องเท่ียวท่ีจะไปเที่ยวชม แตด่ ว้ ยปัญหำสถำนท่ีท่องเที่ยวที่แปลกใหมน่ น้ั มีไม่มำก
นัก และดว้ ยสภำวกำรณ์ระบำดขอโควิด-19 ท่ีเกิดขึ้น ทำใหก้ ำรสรำ้ ง กำรค้นหำ
แหล่งท่องเท่ียวแห่งใหม่ ๆ ไม่สำมำรถท่ีจะจัดกำรไดเ้ ต็มที่ ซึ่งประเด็ นนี้ถำ้ มีกำร
จัดกำรที่สำมำรถจะนำเสนอสถำนท่ีทอ่ งเที่ยวแหลง่ เดิม ที่มีกำรท่องเที่ยวกันอย่แู ลว้
แต่เกิดซบเซำลงหรือเป็ นสถำนท่ีท่ีจัดเป็ นแหล่งท่องเท่ียวแห่งใหม่ ได้มีกำรออกแบบ
สถำนทีน่ น้ั มกี ำรเพ่มิ เตมิ กิจกรรมบำงสิ่งบำงอย่ำงเขำ้ ไปในแหลง่ ทอ่ งเที่ยวเดิม ก็จะ
เป็ นแรงกระตนุ้ ใหน้ กั ทอ่ งเที่ยวเกิดควำมสนใจเดินทำงเขำ้ มำหำประสบกำรณ์ใหม่ อนั
จะเป็ นทำงเลือกใหม่ใหก้ ับนักท่องเที่ยว ซ่ึงผลท่ีไดร้ ับจะทำใหแ้ หล่งท่องเที่ยวนั้น ๆ
เกิดกำรทอ่ งเท่ียวอย่ำงยัง่ ยืนตอ่ ไปและส่งผลใหช้ มุ ชนจะมีเศรษฐกิจที่ดีขนึ้ โดยลำดับ
ซ่ึงกำรจัดกำรกับพ้ืนท่ีท่องเท่ียวดังกล่ำวนี้ก็คือ กำรจัดกำรที่นำเอำรปู แบบศิลปะที่
เรียกวำ่ สตรีทอำรต์ (Street Art) มำสรำ้ งสรรคก์ ับพ้ืนที่ท่องเที่ยวทำงวัฒนธรรม
เพื่อสรำ้ งแรงจงู ใจเชอื้ เชญิ นกั ทอ่ งเทย่ี วจำนวนมำกเขำ้ มำยงั ในพ้นื ที่สตรีทอำรต์

ความหมายและพฒั นาการการเกิดสตรีทอารต์ คำว่ำ สตรีท
อำรต์ (Street Art) มีนกั วิชำกำรไดใ้ หค้ วำมหมำยอย่หู ลำยท่ำนดว้ ยกนั แตโ่ ดย
ภำพรวมแลว้ ผเู้ ขยี นขอสรปุ ควำมหมำยดงั น้ี

สตรที อารต์ หมายถึงงานศิลปะที่ถ่ายทอดลงบนผนงั หรอื พ้ืนท่ี
ว่างทงั้ ภาพและหรือตวั อกั ษร โดยใชว้ สั ดอุ ยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรืออาจเป็ น
เทคนิคผสมกนั เช่นการใชพ้ ่กู นั สีสเปรย์ สติกเกอร์ กระดาษ เป็ นตน้
ถ่ายทอดออกมาเป็ นงานจิตรกรรมหรืออาจใชเ้ ทคนิคงานประติมากรรม
ผสม หรือถ่ายทอดออกมาเป็ นประติมากรรมอยา่ งเดียวก็ไดห้ รืออาจเป็ น
งานศิลปะส่ือผสมท่ีรวมเทคนิคต่าง ๆ ไวด้ ว้ ยกนั และงานสตรีทอารต์
จะตอ้ งเป็ นงานที่ไดร้ บั อนญุ าตใหใ้ ชพ้ ้ืนท่ีสรา้ งสรรคผ์ ลงานได้

พฒั นาการท่ีมาของงานสตรีทอารต์ เร่ิมตน้ จำกร่องรอยจำรึก
รอยขีดขว่ นในสมัยโบรำณแลว้ จนถึงชว่ งเวลำผ่ำนมำยคุ สมัยใหม่ก่อนหนำ้ เมื่อ
65 ปี ท่ีผ่ำนมำจำกกล่มุ แก็งสเตอร์ (gangster) เป็ นกลมุ่ อนั ธพำลที่พวกเขำไดใ้ ชส้ ี
สเปรยพ์ ่นลงบนผนงั มีคำเฉพำะของรปู แบบศิลปะกรำฟฟิ ตี้ (Graffiti) (จักรพนั ธ์
,วรวิภำ 2563, 212) ทำเครื่องหมำยอำณำเขตของตน เริ่มแรกในเมืองฟิ ลำเดล
เฟี ย รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกำ ไดเ้ กิดศิลปิ นยคุ ใหม่คนแรกของโลกคือ
Darry Mccray เขำมีชื่อแท็กว่ำ Combread เขำไดร้ บั กำรยกย่องว่ำเป็ นนกั กรำฟฟิ ตี้
คนแรกของสมยั ใหม่ (Cornbread, online) (ดภู ำพท่ี 1 ประกอบ) จำกนนั้ ไดแ้ พร่สู่
เมืองนิวยอรก์ ซึ่งมีที่มำจำกกำรเหยียดผิวสีและต่อมำในปี พ.ศ. 2510 ไดเ้ กิด
วฒั นธรรมฮปิ ฮอปขนึ้ (Powers 1969,139)

ภำพที่ 1 : Darryl McCray มชี อ่ื แท็กวำ่ ท ำ ใ ห้ก ร ำ ฟิ ต้ีเ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ง ข อ ง
" Cornbread " (ดำ้ นหลงั ) นกั เขยี นกรำฟฟิ ตี้ วัฒนธรรมฮิปฮอป ต่อมำไดม้ ีกำร
จำก ฟิ ลำเดลเฟี ย นำเสนอในรปู แบบเรียกว่ำ แท็กกิง
(tagging) เป็ นรปู แบบโลโกห้ รือเป็ น
ที่มำ : สญั ลักษณข์ องกล่มุ เป็ นกำรนำเสนอ
https://www.sprayplanet.com/blogs/news/a- ช่ือของตนเองและเป็ นกำรเขียนอย่ำง
history-of-graffiti-the-60s-and-70s รวดเร็ว ผลงำนเป็ นกำรนำเสนอเชิญ
ชวนเขำ้ งำนปำรต์ ้รี วมถึงบอกสถำนที่
จัดงำน เวลำ ตอ่ มำพัฒนำกำรกรำฟ
ฟิ ต้ีน้ีเป็ นไปในทำงทำลำยลักลอบ
สร้ำงผลงำน จ นต่อมำได้มีกำร
นำเสนอวิธีใหม่ เทคนิคใหม่ มีกำรใช้
วัสดตุ ่ำง ๆ นำเสนออย่ำงมำกมำย
ภำพน้ันปรำกฏอย่บู นรถไฟ กำแพง
ของทอ้ งถนน โดยเฉพำะรถไฟใตด้ ิน
เป็ นสถำนที่กระจำยช่ือศิลปิ นทีดีท่ีสดุ
(แมนฤทธ์ิ 2559, 2426) กลำยเป็ น
นิทรรศกำรกลำงแจ้ง ที่ทำให้ผู้คน
โดยทัว่ ไปไดช้ มงำนอย่ำงไม่รตู้ ัวจน
เรียกว่ำศิลปะสตรีทอำรต์ ในทสี่ ดุ

จำกพฒั นำดงั กลำ่ วพบว่ำ รปู แบบของงำนทง้ั สองมีควำมแตกตำ่ งกนั
คือ งำนกรำฟฟิ ต้ี ศิลปิ นนน้ั อำจไม่ตอ้ งกำรนำเสนอเปิ ดเผยตัวตนท่ีแทจ้ ริงใช้
พื้นทสี่ รำ้ งสรรคน์ อ้ ย แตศ่ ิลปิ นสตรีทอำรต์ อำจเปิ ดเผยตวั ตนและนำเสนอผลงำน
ของตนก็ไดห้ รือไม่เปิ ดเผยแนวคิดของผลงำนก็ได้ โดยใชพ้ ้ืนที่สรำ้ งผลงำนท่ี
มำกกว่ำ

สตรีทอำรต์ กบั กำรทอ่ งเท่ียวในตำ่ งประเทศ ไดท้ ำกนั มำกอ่ นประเทศ
ไทยเรำ โดยมีชื่อเรียกหลำยช่ือดว้ ยกันไดแ้ ก่ graffiti excursion, street art
sightseeing หรืองำน mural journeying เป็ นตน้ จนชว่ งปี พ.ศ. 2540 เป็ นตน้ มำใน
ต่ำงประเทศถกู มองว่ำกรำฟฟิ ตี้และสตรีทอำร์ต เป็ นส่วนหนึ่งของเศรษฐกิจ
สรำ้ งสรรค์ โดยรัฐบำลทอ้ งถ่ินไดใ้ ชส้ ตรีทอำรต์ โปรโมทพื้นท่ีของตน (Mcauliffe
2012,197) มีเป้ ำหมำยที่ม่งุ เพ่ือใหเ้ กิดเมืองสรำ้ งสรรค์ (จักรพันธ์,วรวิภำ
2563, 213) เห็นไดจ้ ำกตำมเมืองใหญ่ของทวีปยโุ รป ออสเตรเลียและอเมริกำ
เช่น ท่ีถนนเฮำเชอร์ เมืองเมลเบิรน์ ประเทศออสเตรเลียไดจ้ ัดงำน ในหัวข้อ All
Your Walls เป็ นกำรนำเสนอแนวกรำฟฟิ ต้ีและสตรีทอำรต์ โดยไดร้ บั แรงบนั ดำล
ใจจำก Urban Art จำกนิวยอรก์ ซึ่งตอ่ มำทำใหม้ หำนครเมลเบิรน์ ไดร้ บั ขนำนนำม
ว่ำ เมืองศิลปะผ่ำนลำยฉลขุ องโลก (Stencil Capital of the World) (ดภู ำพที่ 2
ประกอบ)

ส่ ว น ป ร ะ เ ท ศ ที่ ใ ก ล้บ้ำ น เ ร ำ ใ น ปี
พ . ศ . 2 5 5 6 เ ร่ิ ม ที่ เ มื อ ง ปี นั ง
สหพันธรัฐมำเลเซีย เมืองน้ไี ดร้ ับเป็ น
เมืองมรดกโลกในปี พ .ศ. 2551
นำเสนองำนชื่อ Penang Street Art ใน
ปี พ.ศ. 2555 เป็ นกำรสรำ้ งสรรค์
ผลงำนโดยไมท่ ำลำยอำคำรเกำ่ แสดง
เร่ืองรำววิถีชีวิตดงั้ เดิมของชำวเมือง
มศี ิลปิ นตำ่ งประเทศร่วมสรำ้ งผลงำน
จำนวนมำก ทำใหม้ ีนกั ท่องเที่ยวมำก
ขนึ้ และนกั ทอ่ งเท่ียวมีควำมตอ้ งกำรท่ี
จะถ่ำยภำพค่กู บั ภำพสตรีทอำรต์ ของ
ศิลปิ นทตี่ ดิ ตงั้ อยโู่ ดยทวั่ ไปของเมอื ง

ภำพที่ 2 : สตรีทอำรต์ ซอยบลสู โตน ในเมอื งเมลเบริ น์ ประเทศออสเตรเลยี
ทมี่ ำ : https://www.visitvictoria.com/regions/mel สบื คน้ 7 มนี ำคม 2565

ภำพที่ 3 : สตรีทอำรต์ ในปี นงั ชอื่ ภำพ Boy on a Bike โดย Ernest Zacharevic

ทม่ี ำ : https://www.kathmanduandbeyond.com/street-art-geo สบื คน้ 7 มนี ำคม 2565

สาหรบั สตรีทอาร์ตกบั การท่องเที่ยวในประเทศไทย โดยท่ี
ประเทศไทยเรำไดร้ บั อิทธิพลจำกตำ่ งประเทศไดท้ ำมำก่อนแลว้ เริ่มจำกกำรสรำ้ ง
งำนของศิลปิ นบุคคลไดท้ ำศิลปะกรำฟฟิ ตี้มำก่อน ประมำณปี พ.ศ. 2543
จำกนัน้ ช่วงปี พ.ศ.2554 เริ่มมีกำรจัดนิทรรศกำรแนวกรำฟฟิ ต้ีครั้งแรกใชช้ ่ือ
งำน For Wall Painting Showcase เป็ นกำรนำเสนอดว้ ยเทคนิคที่หลำกหลำยไดแ้ ก่
สีสเปรย์ สีอคลิลิก สีพำสเทล และกำรสกรีนบนผนัง จำกนั้นไดม้ ีกำรจัดงำน
นิทรรศกำรในปี พ.ศ. 2556 ช่ืองำน Bukruk Urban Arts Festival จัดที่หอ
ศิลปวฒั นธรรมกรงุ เทพมหำนครทง้ั ภำยในและภำยนอกอำคำร

ซึ่งกำรจัดนิทรรศกำรที่ผ่ำนมำจะเป็ นกำรเชิญชวนเขำ้ ชมในหอศิลป์
เป็ นหลัก ต่อมำไดม้ ีกำรจัดนิทรรศกำรคร้ังที่ 2 ในหัวขอ้ เดียวกัน ช่วงระหว่ำง
วันที่ 23-31 มกรำคม 2559 แต่คร้ังนี้สรำ้ งผลงำนนอกพ้ืนท่ีโดยใช้ผนัง
บริเวณถนนเจริญกรงุ ถนนทรงวำด ถนนเดโช (siam2nite,online) เป็ นกำร
ร่วมมือกับชมุ ชนสมำคมตลำดนอ้ ยและโครงกำรพื้นท่ีสรำ้ งสรรคร์ ิมแม่นำ้ โดย
ศิลปิ นไทยและตำ่ งประเทศ จดุ มงุ่ หมำยเพื่อใหช้ มุ ชนไดเ้ ห็นควำมสำคัญของศิลปะ
และควำมคิดสรำ้ งสรรคแ์ ละเป็ นกำรสรำ้ งสสี นั แปลกใหมใ่ หก้ บั กรงุ เทพมหำนคร

ในปี เดียวกนั น้เี อง (ปี 2559) ไดม้ ีกำรเริ่มเขียนภำพแบบสตรีทอำรต์
กบั กำรท่องเท่ียวอย่ำงแทจ้ ริง เร่ิมข้ึนครั้งแรกที่เมืองเก่ำสงขลำ จังหวัดสงขลำ
ผลงำนที่นำเสนอเป็ นเรื่องรำวของวิถีชีวิตของผคู้ นคร้ังอดีตที่ผ่ำนมำของเมือง
ภำยใตห้ วั ขอ้ “เมอื งเกำ่ วิถีเดมิ เสริมกำรทอ่ งเทย่ี ว” (ดวงดำว 2562, 182)

ภำพที่ 4 : สตรีทอำรต์ เมอื งเก่ำสงขลำ
ทม่ี ำ: http://www.songkhla.go.th/

เป็ นกำรเชิญชวนใหน้ ักท่องเที่ยวไดไ้ ปเที่ยวชมคือเมืองเก่ำสงขลำ (ดภู ำพที่ 4
ประกอบ) กำรนำเสนอภำพสตรีทอำร์ตเป็ นกำรไดร้ ับอิทธิพลแนวคิดมำจำก
เมืองปี นัง สหพันธรัฐมำเลเซียท่ีทำมำก่อนหนำ้ แลว้ 4 ปี ผลท่ีเกิดทำให้
นกั ทอ่ งเท่ียวเขำ้ มำท่องเท่ียวเมืองเกำ่ สงขลำเป็ นจำนวนมำกข้นึ โดยลำดบั เมื่อ
มำแลว้ ก็ตอ้ งกำรท่ีจะถ่ำยภำพที่เขียนขึ้นตำมจดุ ตำ่ ง ๆ ของเมืองและที่สำคัญ
ยงั ทำใหเ้ จำ้ ของพ้ืนทเี่ กิดควำมรกั หวงแหนในบำ้ นเกิดของตน จำกเจ้ำของพ้ืนท่ี
ทอ่ี ำศยั อยทู่ อ่ี ่ืนไดก้ ลบั มำพฒั นำปรบั ปรงุ บำ้ นของตนเพ่ือรองรบั นกั ทอ่ งเทย่ี ว

ภำพที่ 5 : สตรีทอำรต์ เชยี งคำน
ทมี่ ำ : ผเู้ ขยี น

จำกนนั้ จังหวัดอ่ืน ๆ ไดร้ ับเอำแนวคิดน้ีไปใชต้ อ่ อย่ำงหลำกหลำย เช่นท่ีถนน
สำยวัฒนธรรมบำ้ นเรือนอำคำรเก่ำเมืองเชียงคำน จังหวัดเลย พบว่ำมีกำร
เขยี นภำพแนวสตรีทอำรต์ บำงจดุ ของถนนคนเดิน ทำใหน้ กั ท่องเท่ียวถ่ำยภำพ
เป็ นที่ระลึก ซ่ึงต่อมำผลของกำรถ่ำยภำพสตรีทอำร์ตได้กลำยเป็ นจุด
ประชำสมั พนั ธใ์ หก้ บั เมอื งเชยี งคำนเชอื้ เชญิ ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วมำเที่ยวตอ่ ไป

(ดภู ำพที่ 5 ประกอบ)

ภำพท่ี 6 : สตรีทอำรต์ ในเอเชยี ทคี เร่ืองกำรถ่ำยภำพท่ีระลึกน้ี มี
ที่มำ : ผเู้ ขยี น นกั วิชำกำรไดท้ ำกำรศึกษำพบว่ำ พฤติกรรม
ภำพที่ 7 : สตรีทอำรต์ ในเอเชยี ทคี ข อ ง ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว นั ก ท่ อ ง เ ท่ี ย ว ม ำ เ ท่ี ย ว
ทีม่ ำ : ผเู้ ขยี น สถำนท่ีใดสถำนท่ีหน่ึงจะถ่ำยภำพบคุ คลกับ
สถำนท่ีนน้ั และนำเสนอผำ่ นสื่ออินสตำแกรม
ใหโ้ ลกออนไลนร์ วู้ ่ำเวลำนี้ “อย่ทู ี่นี่” พรอ้ มกับ
กำรเช็คอินสถำนท่ีนนั้ (เสมำ, กฤษณ์ 2563,
415)

ในกรงุ เทพมหำนครมีตวั อย่ำงกำร
น ำ ภ ำ พ ส ต รี ท อ ำ ร์ ต เ ข ้ำ ม ำ เ ขี ย น ใ น พื้ น ที่
ยกตวั อย่ำงท่ีเอเชยี ทีคเดอะรีเวอรฟ์ รอ้ นทเ์ ป็ น
พ้ืนที่ทำงประวัติศำสตรข์ องเอกชน นำเสนอ
จัดใหเ้ ป็ นพื้นที่ท่องเท่ียว โดยจัดกำรข้ึนมำ
ใหม่แลว้ สรำ้ งงำนสตรีทอำร์ตประกอบใน
พื้นที่ ใช้ภำพจิตรกรรมแสดงรวมแหล่ง
ท่องเท่ียวเพ่ือสื่อถึงสินคำ้ ทัว่ โลกมำไวใ้ นท่ี
ท่องเท่ียวแห่งนี้ และมีงำนประติมำกรรม
สรำ้ งสรรค์ผลงำน ท่ีส่ือเร่ืองรำวถึงวิถีชีวิต
ในอดตี ของพ้ืนท่ี (ดภู ำพที่ 6-7 ประกอบ)

มีตัวอย่ำงกำรใชส้ ตรีท
อำรต์ รปู แบบประติมำกรรมห่นุ ฟำง
ประดบั ในหม่บู ำ้ นชิรำคำวำโก เมือง
มรดกโลกในปี 2538 ได้ติดต้ัง
ผลงำนตำมผนังบ้ำนและบริเวณ
ว่ำงข อ งพ้ื น ที่ ใช้วัสดุฟำงข้ำว
เสื้อผำ้ จริง สื่อถึงวิถีชีวิตในหม่บู ำ้ น
ทำใหน้ ักท่องเที่ยวถ่ำยภำพเป็ นที่
ร ะ ลึ ก แ ล ะ ท่ี ส ำคัญ ผ ล ง ำ น น้ีไ ม่
ทำลำยอำคำรมรดกโลก
(ดภู ำพที่ 8-9 ประกอบ)

ภำพท่ี 8 : กำรใชฟ้ ำงขำ้ ว เสอ้ื ผำ้ ทำเป็ นห่นุ ประดบั ตำมถนนและผนงั อำคำรมรดกโลก ชริ ำคำวำโก
ทม่ี ำ : ผเู้ ขยี น
ภำพท่ี 9 : กำรใชฟ้ ำงขำ้ ว เสอื้ ผำ้ ทำเป็ นห่นุ ประดบั ตำมถนนและผนงั อำคำรมรดกโลก ชริ ำคำวำโก
ท่มี ำ : ผเู้ ขยี น

ภำพท่ี 10 : โปสเตอรโ์ ฆษณำชม Street Art สว่ นในไทยมีตวั อย่ำงขอ้ ดีหน่ึงที่
ที่มำ : https://www.google.co.th/search สืบเน่ืองจำกกำรนำเสนอสตรีทอำร์ตใน
กรงุ เทพมหำนครที่ผ่ำนมำในปี 2559 จน
ต่อมำในช่วงตน้ เดือนมีนำคมปี น้ี (2565)
ส่ว น ร ำ ช ก ำ ร ต่ำ ง ๆ ไ ด้ร่ ว ม กับ ก ำ ร
ท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย จัดงำนส่งเสริม
กำรท่องเที่ยว Journey in the city เพ่ือเชิญ
ชวนนักท่องเท่ียวเปิ ดประสบกำรณ์กำร
ทอ่ งเทีย่ วไทยแบบใหม่ ไปสมั ผสั วิถีชีวิตของ
ชมุ ชน ธรรมชำติ ศิลปวัฒนธรรม รวมถึง
ได้ชิม อำหำรอร่อ ยอย่ำงหลำกหลำย
ประเด็นสำคญั ในทีน่ กี้ ็คือ กำรจดั งำนในครัง้
นมี้ ีกำรเชิญชวนใหช้ มศิลปะ Street Art ใน
แ ห ล่ ง ชุ ม ช น ข อ ง ใ จ ก ล ำ ง เ มื อ ง
กรงุ เทพมหำนคร เป็ นกำรแสดงใหเ้ ห็นถึง
คณุ คำ่ ประโยชนข์ องศิลปะสตรีทอำรต์ เป็ น
แรงจงู ใจใหน้ ักท่องเท่ียวชมอย่ำงต่อเนื่อง
อยำ่ งไมร่ จู้ บ จนกว่ำภำพนน้ั จะเส่ือมหรือถกู
ลบออกไป (ดภู ำพที่10 ประกอบ)

ขอ้ เสนอแนะ
กำรสรำ้ งงำนสตรีทอำรต์ ควรไดร้ ับอนญุ ำตจำกชมุ ชนเจำ้ ของพื้นท่ี

ผลงำนสรำ้ งสรรคค์ วรใหส้ อดคลอ้ งกบั พ้ืนที่และเจำ้ ของพ้ืนที่ควรรับรเู้ ร่ืองรำว
กำรสรำ้ งผลงำน ผลงำนไม่ควรทำลำยพื้นที่อนรุ ักษ์ ควรกำหนดระยะเวลำกำร
คงสภำพของชิ้นงำน ควรมีขอ้ ตกลงกำรเปลี่ยนแปลงดแู ลรักษำและกำรซ่อมท่ี
ชดั เจน และควรมีขอ้ ตกลงลขิ สทิ ธิ์ของผลงำนใหช้ ดั เจนเม่ือมีรำยไดท้ ี่เกดิ ขน้ึ

บรรณานกุ รม
จักรพันธ์ เชำวป์ รีชำ และ วรวิภำ วัฒนสนุ ทร. “กำรเรียนรแู้ บทวิวัจนผ์ ่ำนกำร

สร้ำงสรรค์สตรีทอำร์ต” วารสารวิจิตรศิลป์ ปี ท่ี 11 ฉบับที่ 2
กรกฎำคม-ธนั วำคม 2563 : 207-232.

ตวงทอง สรประเสริฐ. “ ศิลปะสตรีทอำรต์ กับกำรท่องเท่ียว” วารสารวชิ าการ
มหาวทิ ยาลัยหอการคา้ ไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปี ที่ 39 ฉบบั ที่
1 เดอื นมกรำคม-มีนำคม 2562 : 178-189.

แมนฤทธิ์ เต็งยะ. “ จำกวัฒนธรรมกรำฟฟิ ตีส่งู ำนสตรีทอำร์ตในประเทศไทย”
วารสารสาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปี ท่ี9 ฉบับที่ 2
พฤษภำคม-สิงหำคม 2559 : 2414-2436.

เสมำ ธนำภบิ รู ณ์ และ กฤษณ์ ทองเลศิ . “สตรีทอำรต์ เพื่อกำรสอ่ื สำรกำร
ทอ่ งเท่ยี วเมืองเกำ่ ในเขตกรงุ เทพมหำนครผำ่ นสือ่ ใหม่” กำรประชมุ วิชำกำร
ระดบั ชำติ มหำวิทยำลยั รงั สิต ประจำปี 2563: 426-420 Cornbread,
[online]. Retrived March 1, 2021 from
https://en.wikipedia.org/wiki/Cornbread_(graffiti_artist)

Mcauliffe, Cameron. “Graffiti or Street Art? Negotiating the Moral Geographies of
the Creative City” The Journal of Urban Affair Association, 34, no. 2
(2012): 189-206.

Powers, Lynn A. “ Whatever Happened to the Graffiti Art Movement?”. Journal
of Popular Culture, 29, no.4 (1996): 137-142.

Siam2nite, [online]. Retrived March 1, 2021 from
https://www.siam2nite.com/th/magazine/lifestyle/item/394-bukruk-2-
an-artistic-sashimi-experience.

คณะศิลปกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลยั กรงุ เทพธนบรุ ี
ผจู้ ดั ทำสอื่ ประชำสมั พนั ธก์ จิ กรรม Sam Chuk Street Art Project


Click to View FlipBook Version