The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือกลุ่มบริหารวิชาการ2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ห้องเรียนครูใหม่, 2021-01-09 15:55:16

คู่มือกลุ่มบริหารวิชาการ2563

คู่มือกลุ่มบริหารวิชาการ2563

คู่มอื

กลมุ่ บริหารวิชาการ

ปีการศึกษา ๒๕๖๓

กลมุ่ บริหารวชิ าการ

โรงเรียนวัดชนิ วราราม(เจริญผลวิทยาเวศม)์

สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต

สำนกั กงรานะทคณรวะกงรศรมึกกษารากธากิรศากึรษาขัน้ พนื้ ฐาน

คำนำ
คู่มือกลุ่มบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ฉบับนี้เปน็ เอกสารพรรณงานเก่ียวกับขอบขา่ ยงานบทบาท
และหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน ซึ่งได้กำหนดมาตรฐานของงานไว้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติงาน
และสร้างความเข้าใจในการนำหลักการบริหารมาสู่การปฏิบัติที่เป็นจริง ให้ได้ผลอย่างมี ประสิทธิภาพพร้อมกบั
การพัฒนางานวิชาการในโรงเรียนสู่ชุมชนและท้องถิ่น กลุ่มบริหารวิชาการ ขอขอบพระคุณคุณครูทุกท่าน
คณะผูจ้ ดั ทำเอกสารคู่มือกลุ่มบริหารวชิ าการ ตลอดจนผเู้ กี่ยวข้องทกุ ท่านท่ีได้ดำเนินการร่วมกนั กำหนดมาตรฐาน
การปฏิบัติงาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวดั
ชินวราราม(เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม์) ได้เปน็ อยา่ งดีมี ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล

คณะผจู้ ัดทำ
กลุ่มบรหิ ารวิชาการ

คู่มอื กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ : โรงเรยี นวดั ชินวราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ ๑ก

สารบัญ

คำนำ....................................................................................................................................................................... ก
สารบัญ................................................................................................................................................................... ข
ข้อมลู พน้ื ฐานโรงเรยี นวดั ชินวราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ ..................................................................................... ๔

อัตลักษณ์ของโรงเรยี นวดั ชินวราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ ...................................................................... ๖
เอกลกั ษณ์ของโรงเรียนวัดชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์)..................................................................... ๖
คตพิ จน์ของโรงเรียนวัดชนิ วราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์).......................................................................... ๖
คำขวัญโรงเรยี นวัดชนิ วราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์)................................................................................. ๖
วสิ ัยทัศน์โรงเรยี นวัดชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์).............................................................................. ๖
พันธกิจโรงเรยี นวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) ............................................................................... ๗
เปา้ หมายโรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์)............................................................................. ๗
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ...................................................................................................................... ๘
คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์........................................................................................................................ ๘
แผนผงั โครงสรา้ งการบริหารงาน กลุ่มบรหิ ารวชิ าการโรงเรียนวัดชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ …... ๑๐
แผนภมู โิ ครงสรา้ งการบริหารงาน กลมุ่ บริหารวชิ าการโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์)….. ๑๑
คมู่ ือการปฏบิ ัตงิ านกล่มุ บริหารวิชาการ………....................................................................................................... ๑๒
แนวคิดหลกั ในการบรหิ ารวิชาการ.......................................................................................................... ๑๒
วตั ถุประสงค์........................................................................................................................................... ๑๒
ขอบขา่ ยภารกิจ...................................................................................................................................... ๑๒
งานในกลมุ่ บริหารวิชาการ.................................................................................................................................... ๑๓
๑. งานสำนักงานและติดตามประเมนิ ผลกลุ่มบริหารวชิ าการ................................................................. ๑๓
๒. งานพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา........................................................................................................ ๑๔
๓. งานพัฒนากลมุ่ สาระการเรียนรกู้ จิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นและการพัฒนากระบวนการเรียนรู้................ ๑๖
๔. งานวดั ผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน………………………………………………………………….. ๑๗
๕. งานการจัดทำระเบยี บและแนวปฏบิ ตั ิดา้ นวชิ าการ(ทะเบยี นนักเรยี น) ……………………………………… ๑๘
๖. งานวจิ ัยพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา…………………………………………………………………………………………. ๑๙
๗. งานพัฒนาสื่อ นวตั กรรมทางการศึกษา............................................................................................. ๒๐
๘. งานหอ้ งสมดุ และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………. ๒๐
๙. งานแนะแนวการศกึ ษา………………………………………………………………………………………………………… ๒๑
๑๐. งานสง่ เสรมิ ด้านวชิ าการแก่ชุมชน ครอบครัว และสถานศกึ ษาอน่ื …………………………………………. ๒๒
๑๑. งานนเิ ทศการศกึ ษา………………………………………………………………………………………………………….. ๒๔

คู่มือกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ : โรงเรียนวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ ๒ข

๑๒. งานพัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา................................................................ ๒๔
๑๓. งานส่งเสรมิ และพัฒนานกั เรียนท่มี คี วามตอ้ งการจำเปน็ ................................................................. ๒๖
๑๔. งานอน่ื ๆ ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย........................................................................................................... ๒๖

คูม่ ือกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ : โรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ ๓ ค

ข้อมูลพื้นฐาน

ประวตั คิ วามเปน็ มาของโรงเรียน
โรงเรียนวัดชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม์) ตง้ั อย่หู มู่ที่ ๒ตำบลบางขะแยง อำเภอเมือง จังหวดั ปทุมธานี

รหัสไปรษณีย์ ๑๒๐๐๐ เปิดสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๘ โดยอาศัยศาลาการเปรียญวัดชินวราราม
วรวิหาร โดยหลวงมหาสวัสดิ์ภิบาล นายอำเภอเมืองปทุมธานี เป็นผู้ทำพิธีเปิด เป็นโรงเรียนประชาบาลประเภท
นายอำเภอจัดตงั้ ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระถมศึกษา พ.ศ. ๒๔๖๔

พ.ศ. ๒๔๗๗ พระเจา้ วรวงศเ์ ธอกรมหลวงชินวรสริ ิวัฒนส์ มเดจ็ พระสงั ฆราชเจ้าวดั บพิตรสถติ มหาสมี าราม ทรงมี
พระราชศรัทธาสร้างอาคารเรียนถาวรแบบทรงปั้นหยา๒ชั้น ขนาดกว้าง ๖.๒๕ เมตร ยาว ๑๓.๒๕ เมตร มีมุข ๒ ด้าน
กว้างยาวดา้ นละ ๓ เมตร พืน้ ชนั้ ลา่ งเทคอนกรตี ปกู ระเบอื้ งลาย พืน้ ชน้ั บนปูไม้สกั หลงั คามุงกระเบือ้ งซเี มนต์ สิ้น
ค่าก่อสรา้ ง ๕,๓๗๑บาท (หา้ พันสามร้อยเจ็ดสิบเอ็ดบาท) ให้ชอื่ ตึกหลังนีว้ ่า “เจรญิ ผลวิทยาเวศม์” อุทิศถวายแด่
พระเจา้ บรมวงศ์เธอช้นั สาม กรมขนุ เจรญิ ผลพูนสวสั ดิ์ พระราชบดิ า โรงเรยี นแห่งนี้ สรา้ งในท่ดี ินของวดั ชินวราราม
วรวิหาร เนือ้ ท่ี ๖ ไร่ ๒ งาน ๘๐ ตารางวา ทางดา้ นทศิ เหนอื ของวัดทำพธิ ีเปดิ อาคารเรยี นเมอื่ วันท่ี ๑๖ พฤศจิกายน
๒๔๗๗ โดยพระสารสาสนป์ ระพันธ์ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในสมัยน้ัน เปน็ ประธานกระทำพธิ ีเปดิ

พ.ศ. ๒๔๙๙ จำนวนนกั เรียนเพ่มิ ข้ึน อาคารเรยี นทม่ี ีอยู่ไม่เพียงพอ นายช่นื เบอร์พนั ธ์ ครูใหญพ่ ร้อมด้วย
คณะกรรมการศึกษาผู้ปกครองนกั เรยี นและประชาชนได้รว่ มกนั หาเงินจำนวน ๓๐,๔๖๑บาท รวมกบั งบประมาณ
ของทางราชการอีก ๒๐,๐๐๐ บาท จัดสร้างอาคารเรียนแบบ ป.๑ก. ขนาด ๙ x ๑๘ เมตร จำนวน ๑ หลัง
พร้อมส้วม ๑ หลัง ๔ ที่นั่ง นายบุญฤทธิ์ นาคีนพคุณ ผู้ว่าราชการจังหวัด ทำพิธีเปิด เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.
๒๔๙๙

พ.ศ. ๒๕๐๖ ทางราชการได้ยุบ โรงเรียนเมืองปทุมธานี (โรงเรียนน้ีต้ังอยู่ทางทิศเหนือ ติดกับโรงเรียนวัด
ชินวรารามวรวิหาร) เปิดสอนชั้น ม.๑ – ๓ ให้รวมกับโรงเรียนวัดชินวราราม ตามคำสั่งอำเภอเมืองปทุมธานี ที่
๒๖๐๐ / ๒๕๐๖ ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๐๖ ในปีเดียวกันนี้ คณะกรรมการศึกษาได้ขอเสาสะพานข้ามคลอง
รังสิตมาปลูกเป็นโรงฝึกงานและห้องเรียนชั่วคราว จำนวน ๑ หลัง ขนาดกว้าง ๖.๒๐ เมตร ยาว ๑๒ เมตร ใช้เงินบำรุง
การศึกษา ทำฝา ประตู หน้าตา่ ง

พ.ศ. ๒๕๐๙ ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียนแบบ ๐๐๔ จำนวนหนึ่งหลงั ๖ หอ้ งเรียน ใช้งบประมาณ
๒๔๐,๐๐๐บาท (ยังขาดอีก ๒ หอ้ งเรยี น)

พ.ศ. ๒๕๒๑ ได้รบั เงนิ งบประมาณจากทางราชการ สร้างอาคารเรยี นแบบ ๐๑๗ ก. พิเศษ ช้ันบน ๔ หอ้ ง
ช้นั ล่าง ๒ ห้องเรียน เป็นอาคารคอนกรีตทง้ั หมด โครงหลังคาเปน็ เหลก็ ส้นิ เงิน ๘๓๐,๐๐๐ บาท

ค่มู ือกลุ่มบริหารวชิ าการ : โรงเรียนวดั ชินวราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม์) ๔

พ.ศ. ๒๕๒๓ ได้รับงบประมาณจากสภาตำบลบางขะแยง ต่อเติมอาคารเรียนแบบ ๐๑๗ ก. พิเศษ ที่ค้าง
การก่อสรา้ งอกี ๒ หอ้ งเรียน (เงินโครงการสร้างงานในชนบท) ส้ินเงิน ๗๖,๓๐๐ บาท มอบและสง่ งาน วันท่ี ๒๐ มนี าคม
๒๕๒๔

พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้รับงบประมาณ สร้างอาคารเรียนแบบ ๑๐๕ / ๒๙ จำนวน ๑ หลัง ๘ ห้องเรียน และ
ก่อสร้างส้วม แบบ สปช. ๖๐๑ / ๒๖

พ.ศ. ๒๕๔๔ ไดร้ ับงบประมาณก่อสร้างลานกฬี าอเนกประสงค์ จำนวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๔๘ พระครูพทิ ักษ์ศาสนคุณเจ้าอาวาสวัดชินวรารามวรวิหารและนางวนั เพญ็ พ่ึงเก็บ ขา้ ราชการครู
โรงเรยี นวัดชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) ได้รบั รางวัลครดู ีในดวงใจจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ได้รว่ มกันบริจาคเงินสร้างเรือนฝึกซ้อมดนตรีไทย เรอื นฝกึ อาชีพเสริม และเป็นอทุ ยานการศึกษาขนาด ๖x ๑๒ ตร.ม.
เป็นศาลาพื้นไม้ยกพ้ืนสูง ๑ ม.หลังคามุงกระเบื้อง ฝ้าไม้ ใช้ชื่อว่า “ศาลาครูดีในดวงใจ คุณครูวันเพ็ญ พึ่งเก็บ” มูลค่า
๓๐๐,๐๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๔๙ พระครพู ิทกั ษ์ศาสนคุณ เจา้ อาวาสวัดชนิ วรารามวรวิหาร และ ผู้มจี ิตศรทั ธา ได้สร้างอาคารเรียน
ตึก ๓ ชั้น ๑๕ ห้องเรียน ๓ ห้องพักครู มูลค่า ๘,๒๐๐,๐๐๐ บาท มอบให้โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยา
เวศม์) เพ่อื ประโยชนด์ า้ นการศึกษา ใช้ช่อื ว่า “อาคารพทิ ักษศ์ าสนคุณ”
พ.ศ. ๒๕๕๐ องค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี ได้สร้างอาคารห้องสมุด ขนาดกว้าง ๗ x ๑๔ ตร.ม.
มูลค่า ๖๔๔,๐๐๐ บาท และโรงเรียนได้รับบริจาควัสดุ-ครุภัณฑใ์ นการปูพืน้ กระเบื้อง ติดพัดลม เหล็กดัด หนังสือ
จากผ้มู จี ิตศรัทธาและจากบริษัทไทยบริดจสโตน จำกัด มูลคา่ ประมาณ ๔๐๐,๐๐๐ บาท ใชช้ ือ่ วา่ อาคารองค์การ
บริหารสว่ นจงั หวดั ปทุมธานแี ละหอ้ งสมุดไทยบรดิ จสโตน แหง่ ที่ ๗๐
พ.ศ. ๒๕๕๐ มูลนิธิซีเมนต์ไทยได้บริจาคเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท และผู้มีจิตศรัทธาได้บริจาคสมทบ ๑๐๐,๐๐๐
บาท จัดสรา้ งลานคอนกรีตอเนกประสงค์ หนา้ อาคารเรียนริมแม่นำ้ เจ้าพระยา ขนาดกว้าง ๒๒ x ๓๐ ตร.ม.
พ.ศ. ๒๕๕๐ ผมู้ จี ติ ศรทั ธาได้บรจิ าคเงินสร้าง ศาลาไมป้ ระดู่ ๘ เหลี่ยม ๕ หลัง เพอื่ ใชใ้ นโครงการ “ศาลา
สง่ เสริมนิสัยรกั การอา่ น” มลู คา่ ๑๐๐,๐๐๐ บาท
พ.ศ.๒๕๕๒ ซ่อมแซมกระโจมหน้าตึกเจริญผลวิทยาเวศม์ งบประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท โดยพระครูชิน
วงศ์วราภรณ์ เจา้ อาวาสวดั ชินวรารามวรวหิ าร
พ.ศ. ๒๕๕๓ ปพู ้ืนกระเบื้องอาคารอเนกประสงค์ โดย งบประมาณ ของสำนกั งานคณะกรรมการศกึ ษาข้นั
พ้ืนฐาน เปน็ จำนวน ๒๐๑,๕๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๕๓ สร้างหอ้ งส้วม แบบสำนกั งานคณะกรรมการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ๔ โดยงบประมาณ สำนักงาน
คณะกรรมการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน เป็นจำนวน ๒๘๕,๐๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๕๓ ซ่อมสัญญาณจานดาวเทียมการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมวังไกร โดยงบบริจาคของ
คณุ ครูประไพ สมจติ เปน็ จำนวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๕๓ ซ่อมแซมห้องสมุด โดยงบประมาณขององคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัดปทมุ ธานี เปน็ จำนวน ๓๐,๐๐๐ บาท

คู่มือกลมุ่ บริหารวชิ าการ : โรงเรียนวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม์) ๕

พ.ศ. ๒๕๕๓ ทำหลังคากนั สาดอาคารเรียน ๓ โดยเงินนอกงบประมาณของโรงเรียน เป็นจำนวน ๘๐,๐๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๕๔ ปรับปรุงเวทีในอาคารอเนกประสงค์ โดยเงินนอกงบประมาณของโรงเรียน เป็นจำนวนเงิน ๑๘๐,๐๐๐
บาท
พ.ศ. ๒๕๕๔ ปรบั ปรงุ ภูมิทัศน์ สนามหญ้า ทาสีอาคารเรียน โดยบรษิ ัทมหาชน ไทยน้ำทิพย์ จำกดั เปน็ เงิน ๕๐๐,๐๐๐
บาท
พ.ศ. ๒๕๕๔ ปรับปรุงห้องสมุดพร้อมสื่อคอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ โดยบริษัท มหาชนเสริมสุข จำกัด เป็นเงิน๕๐๐,๐๐๐
บาท
พ.ศ. ๒๕๕๕ ปรับปรงุ หอ้ งนำ้ ทำเหลก็ ดัด จำนวน ๓ หลัง โดยเงนิ รายได้สถานศึกษาเป็นเงิน ๓๘,๕๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๕๕ ปรับปรงุ ห้องสำนกั งาน กัน้ ห้องกระจก โดยเงินรายได้สถานศึกษา เป็นเงนิ ๑๐,๒๘๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๕๕ ปรับปรุงก๊อกน้ำอ่างล้างมือบริเวณข้างอาคารอเนกประสงค์และอาคารอนุบาล โดยเงินรายได้สถานศึกษา
เปน็ เงนิ ๙,๐๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๕๕ ทำหลงั คาด้านหน้าอาคาร ๓ โดยเงินอุดหนนุ รายหัวประถมศึกษาจำนวน ๓๕,๐๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๕๘ ปูกระเบื้องพื้นห้องเรียนทาสีผนังภายใน ๔ ห้องเรียนปรับระดับพืน้ ระเบียงชัน้ ล่างพร้อมปกู ระเบ้ืองโดย
เงนิ สนบั สนุนจากเทศบาลตำบลบางขะแยงและเงินรายได้สถานศึกษา เปน็ เงนิ ๑๘๐,๐๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๕๘ สร้างส้วมสำหรับเด็กอนุบาลด้านหลังอาคาร ๒ จำนวน ๕ ห้อง พร้อมอุปกรณ์ประจำห้องสำหรับเด็ก
อนุบาลโดยเงินอุดหนุนรายหัว เป็นเงนิ ๑๑๐,๖๕๗.๒๐ โดยคณุ อัจฉราพร สุวรรณตรา บริจาคกระเบ้ืองปูพ้ืนหน้าห้องจำนวน ๗
กลอ่ ง และโถส้วมแบบชักโครกสำหรับเด็กอนุบาลจำนวน ๔ ชดุ
พ.ศ. ๒๕๕๘ สรา้ งหลังคาระเบียงอาคาร ๓ โดยเงินอดุ หนนุ รายหวั เปน็ เงนิ ๘๘,๔๖๔.๔๐ บาท

อัตลกั ษณ์ของโรงเรียน นอบน้อมอย่างไทย วินยั เป็นเลิศ

เอกลักษณ์ของโรงเรียน ใฝ่เรยี นรู้ อย่อู ยา่ งไทย ใส่ใจสิง่ แวดล้อม

คติพจน์ของโรงเรยี น นตถิ ปัญญา สมาอาภา แสงสว่างเสมอดว้ ยปญั ญาไมม่ ี

คำขวัญโรงเรยี น เรยี นดี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีวนิ ยั พลานามยั สมบูรณ์

วสิ ยั ทศั น์
โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) เป็นแหล่งเรียนรู้ ปลูกฝังการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย

ให้ผู้เรียนเป็นคนดีมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิชาความรู้ที่ได้มาตรฐาน ทันกระแสโลกปัจจุบัน สามารถอยู่ในสังคม
อย่างมีความสุขและปลอดภัย ภายใตห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

คู่มือกลุ่มบริหารวชิ าการ : โรงเรยี นวัดชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ ๖

พนั ธกิจ
๑. โรงเรียนและชุมชนสนบั สนนุ เด็กในวยั เรยี นมีโอกาสเข้ารับการศกึ ษาในทกุ ระดบั ชั้น
๒. โรงเรียนและชุมชนร่วมกันพัฒนาระบบบริหารจัดการที่ดีมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยใช้โรงเรียน เป็น

ฐาน (SBM)และกระบวนการ PDCAจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาและร่วมกันวางแผนดำเนินงานให้สอดคล้องกับ
สภาพท้องถน่ิ เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพนกั เรียนให้เต็มศกั ยภาพ

๓. สง่ เสรมิ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นครมู อื อาชพี
๔. พัฒนาการสอนท่ีมงุ่ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ โดยสอดแทรกปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๓ หว่ ง ๒ เงื่อนไขและ
อยูร่ ว่ มกันในสังคมอยา่ งมีความสขุ
๕. โรงเรียนจดั ให้มกี ารประเมินผลตามสภาพที่เป็นจริง โดยทำแฟม้ สะสมผลงานของผู้บริหาร ครู และ
นักเรยี น
๖. จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนการสอน มีความปลอดภัย และห่างไกลยาเสพติด พัฒนาแหลง่
เรียนรู้นอกห้องเรยี นอย่างเพียงพอ และมีคุณภาพ ให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน รักการแสวงหาความรู้เพิม่ เติม
และสร้างองค์ความรู้ไดด้ ้วยตนเอง
๗. ดำเนินการสร้างระบบเครือข่ายอุปถัมภ์ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากชุมชน และองค์กรท้องถิน่
เพ่อื ระดมทรพั ยากร และงบประมาณ
๘. ดำเนนิ การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาตามเกณฑ์มาตรฐานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

เปา้ หมาย
ด้านวชิ าการ /คณุ ภาพนกั เรยี น
๑. มีหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น พัฒนาตามการเปลี่ยนแปลงและความ

เจรญิ ก้าวหนา้ ทางวิทยาการตา่ ง ๆ และสอดคล้องกับการศกึ ษาของชาติ
๒. ผูเ้ รียน รอ้ ยละ ๗๐ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทุกกลุม่ สาระการเรียนรูฯ้ อยู่ในระดับ ๓–๔
๓. ผูเ้ รยี นประพฤตปิ ฏิบัตติ นเปน็ ผูม้ ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี ณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์และค่านยิ มท่ีดงี าม
๔. ผู้เรียนมีทักษะที่จำเป็นในการดำเนินชีวิต มีสุขภาพและบุคลิกภาพที่ดี มีสุนทรียภาพ สามารถอยู่

ร่วมกับผู้อื่นได้อยา่ งมคี วามสุข
๕. ผเู้ รยี นสามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
๖. ผ้เู รียนสามารถใชภ้ าษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสอ่ื สารได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
๗. ผเู้ รยี นสรา้ งสรรคผ์ ลงานอยา่ งหลากหลาย ตามศักยภาพ ตามความถนดั และความสนใจ
๘. ผู้เรียนเหน็ คณุ ค่าและภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนียมประเพณีไทยภูมิปญั ญาไทยและท้องถ่นิ
๙. ผู้เรียนเหน็ คณุ ค่าและรว่ มอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน และสง่ิ แวดลอ้ ม
๑๐. ผ้เู รยี นมีทักษะและความสามารถในการทำงานโดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

คู่มือกลุ่มบริหารวชิ าการ : โรงเรียนวดั ชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ ๗

สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๒)

ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ
ดังน้ี

๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปัญหา
ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับขอ้ มูลข่าวสารด้วยหลักเหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจนการ เลือกใช้
วธิ กี ารส่อื สาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทมี่ ตี ่อตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพอ่ื นำไปส่กู ารสร้างองคค์ วามร้หู รือสารสนเทศ เพื่อ
การตดั สินใจเกยี่ วกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ทีเ่ ผชญิ ได้ อยา่ ง
ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกนั และแก้ไข ปัญหา
และมกี ารตดั สินใจท่ีมปี ระสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทเ่ี กิดขนึ้ ตอ่ ตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดล้อม

๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ในการ ดำเนิน
ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการ
สร้างเสรมิ ความสมั พนั ธ์อันดีระหว่างบุคคล การจดั การปัญหาและความขัดแยง้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัว
ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมไม่พึง ประสงค์ที่ส่งผล
กระทบต่อตนเองและผอู้ น่ื

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี ้านต่างๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ ทำงาน การ
แกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๒)

ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุง่ พัฒนาผู้เรียนใหม้ คี ุณลักษณะอันพึงประสงค์
เพอ่ื ให้ สามารถอยู่รว่ มกับผู้อืน่ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒. ซือ่ สัตยส์ ุจริต

คมู่ ือกลุ่มบริหารวิชาการ : โรงเรียนวัดชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ ๘

๓. มวี นิ ยั
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อยอู่ ย่างพอเพียง
๖. มงุ่ ม่ันในการทำงาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มจี ิตสาธารณ

ค่มู ือกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ : โรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ ๙

แผนผังโครงสรา้ งการบริหารสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานของโรงเรียนวัดชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม์)

ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี ๑๘ พ.ค. ๒๕๖๓
คมู่ อื กลุม่ บริหารวชิ าการ : โรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ ๑๐

แผนภูมิโครงสรา้ งการบรหิ าร กลุ่มบรหิ ารวชิ าการโรงเรียนวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม์)

นางฉัฐอตพิ า แช่มชมดาว
ผอู้ านวยการโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม(เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์

นางสาวไอลดา สีสำลี
หัวหนา้ กล่มุ บรหิ ารวิชาการ
หัวหน้างานพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาและงานนเิ ทศการศกึ ษา

ขอ้ มูล ณ วนั ที่ ๑๘ พ.ค. ๒๕๖๓

คมู่ อื กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ : โรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ ๑๑

คู่มือการปฏบิ ัติงานกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ

แนวคดิ หลักในการบริหารวชิ าการ
งานวิชาการเป็นภารกจิ หลักของสถานศึกษาที่ พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติพ.ศ.๒๕๔๒ และแก้ไข

เพิ่มเติม (ฉบับ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ มุ่งให้กระจายอำนาจในการบริหารจัดการไปให้สถานศึกษาให้มากที่สุดด้วย
เจตนารมณ์ที่จะให้สถานศึกษาดำเนินการได้โดยอิสระ คล่องตัวรวดเร็ว สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน
สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น และ การมีส่วนร่วมจากผู้ที่มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ซึ่งจะเป็นปัจจัยสำคัญทำให้
สถานศึกษามีความเข้มแข็งในการบริหารจัดการสามารถพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการ
วัดผล ประเมินผล รวมทง้ั วัดปัจจยั เก้ือหนุน การพฒั นาคุณภาพนักเรยี น ชมุ ชน ทอ้ งถิ่นไดอ้ ย่างมีคุณภาพ และ มี
ประสทิ ธภิ าพ

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพื่อให้การบริหารงานด้านวิชาการมีอิสระ คล่องตัว รวดเร็ว และ สอดคล้องกับความต้องการของ

นักเรยี น สถานศึกษา ชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน
๒. เพือ่ ใหก้ ารบริหาร และ การจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นไดม้ าตรฐาน และ มีคณุ ภาพสอดคลอ้ งกับ ระบบ

ประกันคุณภาพการศึกษา และ ประเมินคุณภาพภายในเพื่อพัฒนาตนเอง และ จากการประเมิน หน่วยงาน
ภายนอก

๓. เพื่อให้โรงเรียนพัฒนาหลักสูตร และ กระบวนการเรียนรู้ตลอดจนปัจจัยหนุนการเรียนรู้ที่สนองต่อ
ความต้องการของผเู้ รยี น ชมุ ชน และ ทอ้ งถิ่น โดยยดึ ผู้เรียนเปน็ สำคัญได้อยา่ งมีคุณภาพ และ ประสิทธิภาพ

๔. เพื่อให้โรงเรียนได้ประสานความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และ ของ
บคุ คล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และ สถาบันอื่นๆอยา่ งกว้างขวาง

ขอบข่ายภารกิจ
๑. การพฒั นาหลกั สตู รและกระบวนการเรียนรู้
๒. การบริหารกลุ่มสาระการเรียนรแู้ ละกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน
๓. การจดั ทำทะเบยี นและวดั ผล-ประเมินผล
๔. การสง่ เสรมิ คุณภาพการจัดการศึกษา
๕. การส่งเสริมพัฒนาส่อื นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา
๖. การพัฒนาห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้
๗. การสร้างเครือขา่ ยพัฒนาหลกั สตู รและการจัดการเรยี นการสอน

คมู่ ือกลมุ่ บริหารวิชาการ : โรงเรียนวดั ชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ ๑๒

งานในกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
๑. งานสำนกั งานและติดตามประเมินผลกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ
๒. งานพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา
๓. งานพัฒนากลุ่มสาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น และการพัฒนากระบวนการเรียนรู้
๔. งานวัดผลประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน
๕. งานการจดั ทำระเบยี บและแนวปฏบิ ตั ิเกีย่ วกับงาน ด้านวิชาการ (งานทะเบยี นนกั เรียน)
๖. งานวจิ ยั พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
๗. งานพฒั นาสอ่ื นวัตกรรมทางการศึกษา
๘. งานห้องสมุดและพฒั นาแหลง่ เรียนรู้
๙. งานแนะแนวการศึกษา
๑๐. งานสง่ เสริมดา้ นวิชาการแก่ชุมชน ครอบครัว และสถานศึกษาอน่ื
๑๑. งานการนิเทศการศกึ ษา
๑๒. งานพัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
๑๓. งานอน่ื ๆ ท่ีไดร้ บั มอบหมาย

ภาระงาน
๑. งานสำนกั งานและตดิ ตามประเมินผลกลุ่มบริหารวชิ าการ

หน้าทแี่ ละภาระงานของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๑. การจดั ทำบัญชีหนังสือราชการ
๒. ดำเนนิ การจัดเกบ็ หนงั สอื ราชการตามระบบ
๓. ดำเนินการจดั ทำการรับ – ส่งหนังสอื ถูกตอ้ งเป็นปจั จบุ นั
๔. จดั ทำค่มู ือการปฏิบัตงิ านใหค้ รูและบุคลากรใช้ในการปฏิบตั ิงานวิชาการ
๕. ดำเนินการรับผิดชอบการบริหารงบประมาณกลุ่มบริหารวชิ าการ
๖. ดำเนินการจัดทำรายงานพัสดุ
๗. ดำเนินการจัดทำแผนงานและสารสนเทศของกลมุ่ บริหารวชิ าการ
๘. รายงานผลการปฏิบัติงานของกลุ่มบรหิ ารวิชาการ
๙. ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีเลขานุการกลุ่มบริหารวิชาการ
๑๐. งานอนื่ ๆ ท่ีได้รบั มอบหมาย

คมู่ อื กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ : โรงเรยี นวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ ๑๓

๒. งานพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา
หน้าที่และภาระงานของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
๑. การวางแผนงานด้านวชิ าการ
๑.๑ วเิ คราะหม์ าตรฐานการเรียนรู้ชนั้ ปีและช่วงช้ันของหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน และจัดทำสาระ

การเรยี นร้รู ายปี หรอื รายภาคเรียน
๑.๒ กำหนดโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาแตล่ ะชน้ั ปีและชว่ งชั้น หนว่ ยนำ้ หนักและสัดส่วนเวลาเรียน
๑.๓ จัดทำรายวชิ าและคำอธบิ ายรายวชิ า
๑.๔ จัดทำหน่วยการเรียนและแผนจดั การเรยี นรู้
๑.๕ กำหนดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
๑.๖ กำหนดส่อื การเรยี นรู้ในแตล่ ะหน่วยการเรียน
๑.๗ กำหนดระเบียบวธิ กี ารวัดและประเมินผล

๒. การพฒั นาหรอื ดำเนนิ การเกีย่ วกับการให้ความเหน็ การพฒั นาสาระหลักสูตรทอ้ งถ่นิ
๒.๑ ดำเนนิ งานในรูปคณะกรรมการระดับสถานศึกษา ประกอบดว้ ยครู ผบู้ รหิ าร ผู้นำทางศาสนา ผูน้ ำ

ชุมชนและผู้ทรงคุวุฒิที่มีความรู้และประสบการณ์หลากหลายเพื่อจะได้ร่วมกันพิจารณาจัดทำสาระการเรียนรู้
ท้องถิ่นให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาและสภาพชุมชนตามกรอบการเรียนรู้ท้องถิ่นที่สำนักงานเขตพืน้ ที
การศกึ ษามธั ยมศึกษา ได้กำหนดไว้

๒.๒ วิเคราะห์กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำหนดไว้ เพ่ือ
จะได้ทราบถึงขอบข่ายในการกำหนดรายละเอียดของเนื้อหาองค์ความรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นของสถานศึกษา ซ่ึง
สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา ไดก้ ำหนดไว้

- จัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้
- ขั้นตอนการจัดทำสาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น
๒.๓ วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา เพื่อจะได้ทราบถึงจุดเน้นหรือประเด็นที่สถานศึกษาให้
ความสำคัญและแนวทางการจัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิน่ ว่าควรจะอยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรูใ้ ด ในชั้นปีใด เป็น
รายวิชาพื้นฐาน หรือรายวิชาที่ต้องการเรียนเพิ่มเติม และควรจะมีเนื้อหามากน้อยอย่างไรตามที่หลักสูตร
สถานศึกษากำหนดไว้
๒.๔ ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาและชุมชน เช่น สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม ประวัติความเป็นมา สภาพเศรษฐกิจสังคม การดำรงชีวิต การประกอบอาชีพวัฒนธรรม
ประเพณี ภูมปิ ญั ญา สภาพชมุ ชน และสังคม เพือ่ นำมาเป็นขอ้ มูลจัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิน่ ของสถานศึกษาให้
สมบรู ณ์ขนึ้

คู่มือกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ : โรงเรยี นวดั ชินวราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ ๑๔

๒.๕ จัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของสถานศึกษา เมื่อคณะกรรมการได้วิเคราะห์ สังเคราะห์กรอบ
การเรยี นรูท้ ้องถนิ่ /ข้อมลู สารสนเทศของสถานศึกษา/ชุมชน และวเิ คราะห์หลักสตู รสถานศึกษา ทราบวา่ อย่ใู นกลุ่ม
สาระการเรียนรใู้ ด ชว่ งชนั้ ใด ปีใด ทจ่ี ะจัดทำสาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน และจดั ทำเป็นรายวิชาพื้นฐาน หรือรายวิชา
เพม่ิ เตมิ จากนัน้ คณะกรรมการจงึ ร่วมพจิ ารณากำหนดเนอื้ หาองคค์ วามรเู้ ก่ียวกบั ท้องถิ่นให้เหมาะสม ให้สอดคล้อง
กบั บริบท และจดุ เน้นของสถานศึกษา

๓. การพฒั นาหลักสตู รของสถานศึกษา
๓.๑ การจัดทำหลกั สูตรสถานศึกษา
๓.๒ วางแผนการใชห้ ลักสูตรของสถานศึกษา
๓.๓ ดำเนนิ การใช้หลกั สูตร
๓.๔ นิเทศ กำกับ ตดิ ตาม ประเมินผลการใชห้ ลกั สูตร
๓.๕ สรปุ ผลการดำเนนิ งานและเขยี นรายงาน
๓.๖ นำข้อมูลกลบั ไปในการปรบั ปรุงหลกั สตู รของสถานศึกษา

๔. การคัดเลือกหนังสือ แบบเรียนเพอ่ื ใช้ในสถานศึกษา
ส่วนท่ี ๑ ขอ้ มูลพ้นื ฐานเป็นขอ้ มลู เบื้องต้นของหนงั สือ ได้แก่ ช่ือหนงั สือ ผู้แตง่ สำนกั พมิ พ์ ปีทพี่ ิมพ์

ราคาจำหนา่ ย เปน็ ต้น
สว่ นที่ ๒ รายการประเมินเป็นสว่ นสำคัญที่ใชเ้ ป็นเกณฑ์ในการประเมินคุณภาพหนงั สือเรยี น ซงึ่ ตอ้ ง

พิจารณาประเด็นตอ่ ไปนี้
๑. เน้ือหา พิจารณาเรอื่ งตอ่ ไปน้ี
๑.๑ มีความสอดคล้องกบั สาระ และมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศกึ ษาหรือไม่
๑.๒ เน้อื หามีความถกู ต้องตามหลกั วิชาทันสมยั เป็นทย่ี อมรับในสาขาวิชา ไม่ควรมีประเด็นขดั แยง้

ทที่ ำใหผ้ ู้เรยี นสับสน
๑.๓ เน้ือหาไมข่ ัดตอ่ ความมั่นคง ความสงบเรียบร้อยของชาติแลไม่ขัดตอ่ ศลี ธรรมอันดี
๑.๔ เนือ้ หามีความยากง่าย เหมาะสมกบั ระดับชัน้ /ชว่ งช้นั

๒. ภาษาท่ีใช้ ภาษาทน่ี ำเสนอต้องถูกต้อง ชัดเจน สอ่ื ความหมาย อ่านเข้าใจง่าย ใช้ภาษาเหมาะสม
กับวยั ของผูเ้ รยี น ใชศ้ พั ท์เฉพาะถกู ตอ้ ง

๓. กิจกรรมประกอบบทเรยี น (ถ้ามี) พจิ ารณาในเร่อื ง
๓.๑ สอดคลอ้ งกับจุดประสงคข์ องบทเรยี น
๓.๒ สง่ เสรมิ ความรูค้ วามเขา้ ใจในบทเรยี น และนำไปปฏบิ ตั ิ
๓.๓ ใช้คำสั่ง หรอื คำอธิบายชดั เจนงา่ ยตอ่ การปฏิบัติตาม
๓.๔ .ใช้คำถามท่ีทา้ ยทาย และกระตุ้นความคิด

คู่มือกลุ่มบริหารวชิ าการ : โรงเรียนวัดชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ ๑๕

๓.๕ สอดแทรกกจิ กรรมไวอ้ ย่างเหมาะสม
๔. ภาพ ตาราง แผนภูมิ (ถา้ มี) พิจารณาในเรื่อง
๔.๑ ถกู ต้อง ชดั เจน และปจั จุบัน
๔.๒ มคี วามเหมาะสม สอดคล้องกบั เนือ้ หา
๔.๓ มีรปู แบบการนำเสนอท่นี า่ สนใจ
๔.๔ ช่วยใหเ้ ข้าใจเน้อื หาไดช้ ดั เจนขน้ึ

สว่ นที่ ๓ สรุปขอ้ คดิ เหน็ ผลการประเมินเปน็ สว่ นที่สรุปผลในเชงิ คุณภาพของสือ่ (หนังสอื เรียน) วา่ มี
คุณภาพอยู่ระดับใด มีจดุ เดน่ หรือข้อบกพรอ่ งอะไรบ้างท่ีต้องปรบั ปรงุ แก้ไข

๕. งานอ่นื ๆ ทีไ่ ด้รับมอบหมาย

๓. งานพัฒนากลุม่ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น และการพฒั นากระบวนการเรยี นรู้
หน้าทีแ่ ละภาระงานของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
๑. การจัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษา
๑.๑ ศึกษา วิเคราะห์ คัดเลือกหนังสือ ส่อื การเรยี นการสอน พัฒนาหอ้ งสมุด และแหลง่ การ

เรยี นรู้ ห้องปฏิบัติการตา่ งๆ ใหเ้ ออื้ ต่อการเรียน จัดกจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ การใชห้ ้องสมุด และหอ้ งปฏิบัติการ
กจิ กรรมส่งเสรมิ รกั การอ่าน

๑.๒ จดั การเรียนการสอนให้มีเน้ือหาสาระและกจิ กรรมทสี่ อดคลอ้ งกับความสนใจ ความถนัดของ
ผเู้ รียน ฝึกทักษะ กระบวนการคดิ การจัดการการเผชญิ สถานการณ์ การประยุกตใ์ ช้ความร้จู ากประสบการณจ์ รงิ
และปฏบิ ตั จิ รงิ การส่งเสริมใหร้ กั การอา่ น และใฝร่ ู้อย่างต่อเน่อื ง การผสมผสานความรู้ตา่ งๆ ให้สมดุลกัน ปลูกฝงั
คุณธรรมคา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์สอดคลอ้ งกบั เนือ้ หาสาระ กจิ กรรม ท้งั น้ี โดยจัดบรรยากาศและ
สิ่งแวดล้อม และแหล่งเรียนรู้ใหเ้ อือ้ ต่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ และการนำภูมิปญั ญาท้องถิน่ หรือเครอื ข่าย
ผู้ปกครอง ชมุ ชนท้องถน่ิ มามีส่วนร่วมในการจดั การเรยี นการสอนตามความเหมาะสม

๑.๓ จัดให้มีการนิเทศการเรยี นการสอนแกค่ รูในกล่มุ สาระการเรียนรตู้ า่ ง ๆ โดยการนเิ ทศหลากหลาย
รปู แบบ เพอ่ื พฒั นาการเรียนการสอนร่วมกันของบคุ ลากรภายในสถานศึกษา

๑.๔ จัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน (ครูทกุ คนเปน็ ครูแนะแนว)
๑) จดั กจิ กรรมแนะแนว โดย
- จัดเตรยี มวัสดุอุปกรณ์การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
- จัดทำแผนการจัดกิจกรรมแบบบนั ทึก และจัดทำสอื่
- ให้คำปรึกษาการแก้ไขขอ้ บกพร่องและพฒั นาตนเอง
- ให้คำปรึกษาการศกึ ษาต่อและแนะนำอาชีพ

คู่มอื กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ : โรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม์) ๑๖

๒) จัดกิจกรรมนกั เรยี น โดย
- สนบั สนนุ เกอ้ื กูลตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เช่น โครงงาน
- สง่ เสรมิ ความถนดั ความสนใจ ความสามารถ ความต้องการของผเู้ รียน เชน่ ชมรมทางวิชาการ
- สง่ เสริมการฝึกปฏิบัติงานทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม
- จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ และจัดหาวัสดอุ ปุ กรณ์
- จดั ทำแผนการจัดกจิ กรรมแบบบันทึก รายงานผล

๒. การพฒั นากระบวนการเรียนรู้
๒.๑ สง่ เสริมให้ใชว้ ธิ กี ารวจิ ัยเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการพัฒนากระบวนการเรยี นรู้
๒.๒ ส่งเสริมจดั กระบวนการเรยี นรู้ให้ยืดหยุน่ ตามความเหมาะสม โดย จัดเนือ้ หาสาระและกจิ กรรมให้

สอดคลอ้ งกับความสนใจ ความถนดั ของผู้เรียน ตลอดจนผู้ทีม่ คี วามสามารถพเิ ศษ ปละผู้ทีม่ คี วามบกพร่องหรอื
ด้อยโอกาส

๒.๓ ส่งเสรมิ กจิ กรรมการรกั การอ่านและใฝ่ร้อู ยา่ งตอ่ เน่อื งโดยการผสมผสานความรตู้ า่ ง ๆ ใหส้ มดุลกนั
๒.๔ สง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมท่ีดีงาม
๒.๕ ส่งเสรมิ การจัดบรรยากาศ การใช้สอ่ื เทคโนโลยี สิง่ แวดลอ้ มแหลง่ เรยี นรู้ใหเ้ ออื้ ตอ่ การเรียนรู้
๒.๖ นำภมู ิปญั ญาท้องถิ่น และประสานความรว่ มมอื เครือขา่ ยผู้ปกครอง ชุมชน ทอ้ งถน่ิ เขา้ มามีสว่ น
รว่ มในการพัฒนา และจดั กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสม
๒.๗ สง่ เสรมิ ให้ครไู ดร้ บั การพฒั นาวิธกี ารจดั กระบวนการเรียนรูอ้ ย่างหลากหลายและตอ่ เนื่อง เพ่ือ
พฒั นากระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสม
๓. งานอน่ื ๆ ท่ีไดร้ บั มอบหมาย

๔. งานวัดผลประเมนิ ผล และเทียบโอนผลการเรยี น
หนา้ ท่ีและภาระงานของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
๑. การกำหนดระเบยี บวดั และประเมนิ ผล
๑.๑ แตง่ ตั้งคณะกรรมการจัดทำระเบยี บวดั และประเมนิ ผลการเรียน โดยการมสี ว่ นร่วมของทกุ ฝ่าย
๑.๒ พจิ ารณายกร่างระเบยี บประเมนิ ผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑.๓ ประชาพจิ ารณ์โดยผเู้ กยี่ วข้องทุกฝา่ ย
๑.๔ เสนอคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐานให้ความเห็นชอบ
๑.๕ ประกาศใชร้ ะเบยี บ
๑.๖ ปรบั ปรงุ พฒั นาแกไ้ ขใหเ้ หมาะสมสอดคล้องกบั เหตกุ ารณ์ทเ่ี ปล่ียนแปลง

คมู่ ือกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ : โรงเรียนวัดชินวราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม์) ๑๗

๒. ภารกจิ การวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้
๒.๑ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามกลุม่ สาระการเรียนรู้ ๘ กลมุ่ สาระ
๒.๒ การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น
๒.๓ การประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๒.๔ การประเมนิ การอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขยี น
๒.๕ การประเมินคณุ ภาพระดบั ชาติ

๓. การพฒั นาเครอื่ งมอื วัดและประเมินผล
๓.๑ จดั อบรมพฒั นาการจัดสร้างเครอื่ งมือวัดและประเมินผล เพือ่ ให้ครไู ดม้ ีความรู้และความเข้าใจ
๓.๒ จัดสรา้ งเครอื่ งมือวดั แลประเมินผลให้สอดคล้อง
๓.๓ นำเทคโนโลยีมาประยุกตใ์ ชใ้ นการสรา้ งเครอ่ื งมือ และใชเ้ ป็นเครือ่ งมือวัดผลและประเมินผล
๓.๔ พฒั นาปรบั ปรงุ เครอื่ งมือวัดและประเมนิ ผลให้มคี ณุ ภาพ และมาตรฐาน

๔. การเทยี บโอนผลการเรยี น
๔.๑ ประสานการจัดการวดั ผลและประเมนิ ผลระดบั สถานศึกษา
๔.๒ เทียบโอนผลการเรียนจากการย้ายทเ่ี รียน จากสถานประกอบการ จากพน้ื ฐานการประกอบอาชีพ

๕. การตดั สนิ และอนุมตั ผิ ลการเรยี นผ่านช่วงชนั้
๖. งานอืน่ ๆ ท่ีได้รบั มอบหมาย

๕. งานการจดั ทำระเบยี บและแนวปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับงาน ด้านวชิ าการ (งานทะเบียนนกั เรียน)
หนา้ ทแี่ ละภาระงานของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
๑. จดั ทำเอกสารหลักฐานการศกึ ษาควบคุมและบังคบั ไดแ้ ก่ แบบ ปพ. ๑ , ปพ. ๒ และ ปพ. ๓
๒. จัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษาท่สี ถานศกึ ษาดำเนินการเอง
๓. จัดทำเอกสารประกอบการจดั ทำระเบยี บ และแนวทางปฏบิ ัตเิ กย่ี วกบั งานด้านวชิ าการ ไดแ้ ก่
๓.๑ แนวทางการจดั ทำหลกั สตู รสถานศึกษา
๓.๒ คมู่ อื จัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น คู่มือการบริหารจัดการแนะแนว
๓.๓ ค่มู ือพฒั นาสอ่ื การเรยี นรู้
๓.๔ แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น
๓.๕ การวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รการศึกษาข้ันพื้นฐาน
๔. การตัดสินและอนุมตั ผิ ลการเรยี นผา่ นช่วงชั้น
๔.๑ นายทะเบียนของสถานศึกษาตรวจสอบข้อมูลผลการเรยี นของผูเ้ รยี นที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตาม

เกณฑ์การจบช่วงช้นั ของสถานศกึ ษา

คู่มือกล่มุ บริหารวชิ าการ : โรงเรยี นวดั ชินวราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ ๑๘

๔.๒ จัดทำบญั ชรี ายช่อื ผู้เรียนท่ีจบช่วงช้นั พรอ้ มตรวจทานความถูกต้องไมใ่ ห้มขี ้อผิดพลาดใด ๆ ทง้ั สน้ิ
๔.๓ เสนอคณะกรรมการหลกั สตู รและวิชาการเพอื่ ให้ความเห็นชอบ
๔.๔ ผู้บริหารสถานศึกษาออกคำสัง่ แต่งต้ังผู้จัดทำเอกสารรายงานผู้สำเร็จการศึกษา (ปพ. ๓) ผู้เขียน
ผู้ทาน ผตู้ รวจ และมีนายทะเบยี น เป็นหัวหน้า
๔.๕ ผบู้ ริหารอนมุ ัติผลการเรยี น โดยลงนามในเอกสารรายงานผสู้ ำเร็จการศกึ ษา
๔.๖ จดั ส่งเอกสารให้หน่วยงานท่ีเกีย่ วข้อง
๕. การออกหลักฐานแสดงผลการจบการศึกษาการจัดทำเอกสารประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้น
พ้นื ฐาน

- ระเบยี นแสดงผลการเรยี น (ปพ. ๑)
- หลักฐานแสดงวุฒกิ ารศกึ ษา (ปพ. ๒)
- แบบรายงานผสู้ ำเรจ็ การศึกษา (ปพ. ๓)
๖. งานอน่ื ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

๖. งานวจิ ยั พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
หนา้ ทแ่ี ละภาระงานของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
โรงเรียนกำหนดให้การวิจยั เปน็ ส่วนหน่งึ ของกระบวนการเรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาการเรยี นรู้ และพฒั นาคณุ ภาพ

การศกึ ษาของสถานศึกษาดว้ ยการวจิ ัยเพอื่ พฒั นาการเรยี นรู้
๑. วเิ คราะห์ความต้องการ การพัฒนา (รู้ผลวเิ คราะหเ์ หตปุ ัญหา)
๒. วางแผนการจัดการเรียนรู้
๓. จดั กิจกรรมการเรียนรู้
๔. ประเมนิ ผลการเรียนรู้ พบปญั หาตอ้ งการพฒั นา ตอ้ งทำวิจยั
๔.๑ วเิ คราะหป์ ัญหา การพฒั นา (รูผ้ ลวเิ คราะหเ์ หตปุ ัญหา)
๔.๒ วางแผนแก้ไขปญั หาการพฒั นา
๔.๓ จัดกจิ กรรมแก้ปญั หา การพฒั นา
๔.๔ เก็บรวบรวมข้อมูล วเิ คราะหข์ ้อมูล
๔.๕ สรุปผลการแก้ไขปญั หาการพฒั นา และนำไปปรับปรงุ ทกุ ข้นั ตอน
๕. งานอน่ื ๆ ที่ไดร้ บั มอบหมาย

คมู่ อื กลุม่ บริหารวชิ าการ : โรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) ๑๙

๗. งานพัฒนาสือ่ นวตั กรรมทางการศึกษา
หน้าทีแ่ ละภาระงานของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๑. ศกึ ษา สำรวจ วิเคราะหส์ ภาพปญั หา การจดั การเลือก การใช้ และการประเมินคณุ ภาพสื่อนวัตกรรม

และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อใช้จัดการเรียนการสอนและการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในทุกกลมุ่
สาระการเรียนรู้ สำหรบั เด็กปกติและเด็กพิการเรียนรว่ ม

๒. จัดหาสื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างหลากหลาย เพื่อใช้ในการเรียนการสอน และการพัฒนางาน
ดา้ นวชิ าการ

๓. เลือกใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ผ่านการประเมินคุณภาพทางวิชาการจากคณะกรรมการของสถานศึกษา
คณะกรรมการของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา และหรือกระทรวงศึกษาธิการแล้ว โดยดำเนินการ
คัดเลือกในรปู ของคณะกรรมการ และประเมนิ การใช้สื่ออย่างสมำ่ เสมอ

๔. ส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาครูเพื่อผลิตพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรยี นการสอน รวมทั้งประเมินสื่อและ
เทคโนโลยี เพื่อเลือกใช้ประกอบการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้

๕. จัดให้มศี ูนยส์ อ่ื นวตั กรรมเทคโนโลยี เพ่อื การศึกษาในสถานศกึ ษา
๖. ประสานความร่วมมือในการผลิต จัดหา พัฒนา และแลกเปล่ียนการใช้สื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยี
เพื่อการศึกษาที่ทันสมัยสำหรับใช้จัดการเรียนการสอน และพัฒนางานด้านวิชาการกับสถานศึกษา เขตพื้นท่ี
การศึกษา ผ้ปู กครอง องคก์ รในท้องถ่นิ รวมท้ังหน่วยงาน และสถาบันอืน่ ๆ
๗. กำกับ ติดตาม ประเมินผล การผลิตพัฒนา และใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่าง
ต่อเน่ือง
๘. เผยแพรส่ อ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา ท่ีครูผลติ และพฒั นาให้สถาบันการศกึ ษาท้ังภายใน
และภายนอกเขตพื้นทก่ี ารศึกษาไดใ้ ช้ประโยชนต์ ่อการเรยี นการสอน และการพฒั นาวชิ าชพี ครู
๙. งานอ่นื ๆ ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย

๘. งานหอ้ งสมุดและพฒั นาแหลง่ เรียนรู้
หน้าทแ่ี ละภาระงานของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๑. การพฒั นาแหลง่ การเรียนรู้
๑.๑ สำรวจแหลง่ การเรยี นรู้ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบการพฒั นาคณุ ภาพทั้งในและนอกสถานศึกษาท่จี ัด

การศึกษาในบริเวณใกลเ้ คยี ง (จดั ทำทะเบยี นแหล่งเรียนร้)ู
๑.๒ จดั ให้มีแหลง่ เรยี นรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาให้สอดคล้องกับการ

จดั การศึกษาใหพ้ อเพียงและสอดคลอ้ งกบั การจัดการเรยี นรู้

คูม่ ือกลุ่มบรหิ ารวิชาการ : โรงเรียนวดั ชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ ๒๐

๑.๓ จัดทำเอกสารรวบรวม เผยแพร่ แหล่งเรียนรู้แก่ครู บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน
สถานศกึ ษาอน่ื ๆ ทจี่ ัดการศกึ ษาบรเิ วณใกล้เคียง

๑.๔ จัดระบบแหล่งเรยี นรภู้ ายในโรงเรียนใหเ้ ชอ่ื มตอ่ การจดั การเรยี นรู้ของผ้เู รียน เช่น พัฒนาห้องสมดุ
ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ หรอื มุมหนงั สือในหอ้ งเรียน

๑.๕ จดั ระบบแหลง่ เรียนรูใ้ นท้องถ่ินใหเ้ ออื้ ตอ่ การจดั การเรยี นร้ขู องผู้เรียน ของสถานศึกษา ของตนเอง
เช่น จัดทำแผนที่เส้นทางระบบเชื่อมโยงเครือข่ายห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดสถาบันการศึกษา พิพิธภัณฑ์
พิพิธภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ พิพธิ ภัณฑภ์ มู ิศาสตร์ พิพธิ ภณั ฑภ์ ูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ

๑.๖ จัดตั้งและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน รวมทั้งพัฒนาให้เกิดองค์ความรู้ วางแผนการใช้
แหล่งเรียนรู้

๑.๗ ประสานความร่วมมือวางแผนกับสถานศึกษาอื่น บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานที่จัด
การศึกษาโดยสง่ เสริมการใช้แหล่งเรยี นรู้ทแ่ี ตล่ ะแหลง่ มี เพ่ือใชป้ ระโยชนใ์ ห้เกิดการเรียนร้รู ว่ มกัน

๑.๘ ส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูได้ใช้แหล่งเรียนรู้เชิงอนุรักษ์ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนในการจัด
กระบวนการเรยี นรู้ใหค้ รอบคลุมถึงภูมิปญั ญาท้องถ่นิ

๒. การบรหิ ารจดั การทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษา
๒.๑ จัดทำรายการทรัพยากรภายในเพื่อเปน็ สารสนเทศ แหลง่ เรียนรูภ้ ายในโรงเรียน และแหล่งเรียนรู้

ทอ้ งถิน่ ทั้งทเี่ ป็นแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติ แหล่งเรียนรสู้ ถานประกอบการ และภมู ปิ ัญญา เพื่อการรับรู้ของบุคลากร
นกั เรียน และบุคคลทัว่ ไป ไดใ้ ช้ทรพั ยากรรว่ มกันในการจัดการศกึ ษา

๒.๒ วางระบบ หรือกำหนดแนวปฏิบัติการใช้ทรัพยากรร่วมกันกับบุคคล และหน่วยงานของรัฐบาล
และเอกชน ใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสดุ

๒.๓ กระตุ้นให้บุคคลในสถานศึกษาร่วมใช้ทรัพยากรภายใน และภายนอก รวมทั้งให้บริการการใช้
ทรพั ยากรภายในเพอ่ื ประโยชน์การเรียนรู้ และสง่ เสริมการศึกษาในชุมชน

๒.๔ ประสานร่วมมือกับผู้รับผิดชอบแหล่งทรัพยากรภายใน และภายนอก ทั้งทรัพยากรธรรมชาติ
ทรพั ยากรทีม่ นษุ ย์สร้างขนึ้ และทรัพยากรบคุ คลที่มีศักยภาพในการใหก้ ารสนบั สนนุ การจดั การศึกษา

๒.๕ ดำเนินการเชิดชูเกียรติบุคคล และหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่สนับสนุนการใช้ทรัพยากร
รว่ มกันเพอื่ การศึกษาของสถานศึกษา

๓. งานอื่น ๆ ทไ่ี ด้รับมอบหมาย

๙. งานแนะแนวการศกึ ษา
หน้าทแ่ี ละภาระงานของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
๑. จดั ระบบการแนะแนวทางวิชาการและวิชาชพี ภายในสถานศกึ ษา โดยเชอ่ื มโยงกบั ระบบดูแล

ค่มู อื กลุ่มบริหารวิชาการ : โรงเรียนวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม์) ๒๑

ช่วยเหลือนักเรียนและกระบวนการเรียนการสอน
๒. ดำเนินการแนะแนวและพฒั นาศักยภาพผเู้ รียน โดยความร่วมมอื ของครทู ุกคนในสถานศึกษา
๓. ติดตามและประเมินผล ระบบและกระบวนการแนะแนวในสถานศึกษา
๔. ประสานความรว่ มมอื แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประสบการณ์ดา้ นการแนะแนวกบั สถานศกึ ษาอ่ืน หรือ

เครือขา่ ยแนะแนวภายในเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา
๕. งานอ่ืน ๆ ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

๑๐. งานสง่ เสริมด้านวชิ าการแกช่ ุมชน ครอบครวั และสถานศกึ ษาอืน่
หนา้ ท่ีและภาระงานของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๑. การส่งเสรมิ ชุมชนใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ทางวิชาการ
๑.๑ ดำเนินการเสริมความรู้และประสบการณ์ให้กบั ชุมชน องคก์ าร หน่วยงาน และสถาบันทางสังคม

อื่น
๑.๒ ส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนสามารถเลือกภูมิปัญญาและวิทยาการต่างๆ เพื่อพัฒนาชุมชนใหh

สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหาและความตอ้ งการ โดยรว่ มมือกับบุคคล ชมุ ชน องคก์ ร หน่วยงาน และสถาบนั ทางสังคม
อื่น

๑.๓ สง่ เสริมให้มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ประสบการณ์ระหว่างบุคคล ครอบครวั ชมุ ชนท้องถนิ่
๑.๔ จัดให้ความรู้ เสริมสร้างความคิด และเทคนิคทักษะทางวิชาการ เพื่อพัฒนาทักษะวิชาชีพ และ
คุณภาพชีวิตของประชาชนในชมุ ชน ทอ้ งถิ่น
๑.๕ ส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมทางวิชาการของสถานศึกษา
และท่ีจดั โดยบคุ คล ครอบครวั องค์กร หน่วยงานอื่นท่ีจดั การศึกษา
๒. การประสานความรว่ มมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและองคก์ รอื่น
๒.๑ สำรวจความต้องการและประสานความช่วยเหลือทางด้านวิชาการของโรงเรียนกับสถานศึกษา
ของรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ทั้งที่จัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน และระดับอุดมศึกษาท้ังภายในเขต
พน้ื ทกี่ ารศึกษา และต่างเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
๒.๒ ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเสริมสรา้ ง
พฒั นาการของนกั เรยี นทุกดา้ น รวมทง้ั สบื สานจารีตประเพณศี ลิ ปวัฒนธรรมของทอ้ งถน่ิ
๒.๓ ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กรทั้งภาครัฐ
และเอกชน เพือ่ ให้สถานศกึ ษาเป็นแหลง่ วทิ ยาการของชมุ ชน และมีสว่ นในการพัฒนาชมุ ชนและท้องถิ่น
๒.๔ สถานศึกษาเป็นศูนย์บริการด้านวิชาการที่สามารถเชื่อมโยงเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกับ
แหลง่ วิชาการในท่ีอน่ื ๆ

คมู่ ือกลุม่ บรหิ ารวชิ าการ : โรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม์) ๒๒

๒.๕ ส่งเสริมให้สถานศึกษาร่วมกับชุมชน จัดกิจกรรมร่วมกันเพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมการสร้าง
ความสัมพันธ์อันดีกับศิษย์เก่า การประชุมผู้ปกครองนักเรียน การปฏิบัติงานร่วมกับชุมชน การร่วมกิจกรรมกับ
สถาบนั การศกึ ษาอ่นื

๒.๖ สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับองค์กรต่าง ๆ ทั้งภายในประเทศและ
ต่างประเทศ

๒.๗ สนับสนุน รายงาน และประชาสัมพันธ์ความร่วมมือที่ประสบความสำเร็จให้แก่เครือข่าย และ
สาธารณชนไดร้ ับทราบ

๒.๘ สถานศกึ ษาไดม้ สี ่วนรว่ มในการใหบ้ รกิ ารแก่ชุมชน หน่วยงาน ส่วนราชการ และการพฒั นาทอ้ งถนิ่
๓. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และสถาบันอื่นที่จัด
การศึกษา

๓.๑ สำรวจและศึกษาข้อมูลการจัดการศึกษา รวมทั้งความต้องการในการได้รับการสนับสนุนด้าน
วชิ าการของบคุ คล ครอบครัว องคก์ ร หน่วยงาน และสถาบันอนื่ ที่จัดการศึกษา

๓.๒ ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับบุคคล
ครอบครวั ชุมชน องค์กรชุมชน องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ องคก์ รเอกชน องค์กรวิชาชีพ และสถาบนั สงั คมอื่น

๓.๓ ส่งเสริมการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทั้งด้านคุณภาพและปริมาณ เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

๓.๔ สง่ เสรมิ สนับสนุนการพฒั นาวิชาการและพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรใู้ นการจัดการศึกษาของบุคคล
ครอบครัว องคก์ ร หนว่ ยงาน และสถาบันสังคมอ่นื ทจ่ี ดั การศึกษา

๓.๕ จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และ
สถาบันสงั คมอ่นื ท่ีจดั การศึกษา

๔. การส่งเสริม สนับสนุนและประสานการจัดการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร หน่วยงานและสถาบนั
สังคมอน่ื ที่จัดการศกึ ษา

๔.๑ การประสาน ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจในการจัดการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร
หน่วยงานและสถาบนั สังคมอื่นท่ีจดั การศึกษา

๔.๒ การประสานให้ความร่วมมือกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในการส่งเสริม และพัฒนาการจัด
การศึกษาของบคุ คล ชุมชน องคก์ ร หน่วยงาน และสถาบันสังคมอื่นทจ่ี ดั การศึกษา

๔.๓ การให้ความรว่ มมือกบั สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ในการตดิ ตามผลการจดั การศกึ ษาของบุคคล
ชุมชน องค์กร หน่วยงาน และสถาบันสังคมอืน่ ทจี่ ัดการศกึ ษา

๕. งานอืน่ ๆ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย

คูม่ ือกลมุ่ บริหารวิชาการ : โรงเรียนวดั ชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ ๒๓

๑๑. งานการนิเทศการศึกษา
หนา้ ทแ่ี ละภาระงานของครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
๑. จดั ระบบนเิ ทศงานวชิ าการ และการเรยี นการสอนภายในสถานศึกษา
๒. สร้างความตระหนักให้แก่ครู และผู้เกี่ยวข้อง ให้เข้าใจกระบวนการนิเทศภายในว่าเป็นกระบวนการทำงาน

ร่วมกันที่ใช้เหตผุ ลการนิเทศเป็นการปรับปรุงวิธีทำงานของแต่ละบุคคลให้มีคุณภาพ การนิเทศเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการบรหิ าร เพ่ือให้ทุกคนเชอ่ื มน่ั ว่าไดป้ ฏบิ ตั ถิ กู ตอ้ ง ก้าวหนา้ และเกิดประโยชน์สูงสดุ ต่อผูเ้ รียน และต่อครู

๓. ดำเนินการนิเทศงานวิชาการ และการเรียนการสอน ระดบั โรงเรียน กลุ่มสาระวชิ า และรายวชิ า
๔. ประเมินผลระบบ และกระบวนการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา
๕. ประสานงานกับเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการนเิ ทศงานวิชาการ การเรียนการสอน
และการสร้างเครือ่ งมือนเิ ทศ
๖. แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และประสบการณก์ ารจดั ระบบการนิเทศภายใน กับสถานศกึ ษาอ่นื หรือเครอื ขา่ ยการนิเทศ
ภายในเขตพื้นท่กี ารศึกษา
๗. งานอืน่ ๆ ทไ่ี ด้รับมอบหมาย

๑๒. งานพฒั นาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หนา้ ทแ่ี ละภาระงานของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๑. จัดทำระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษาตามที่กฎกระทรวงกำหนด ดังน้ี
๑.๑ การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
๑.๒ การพัฒนามาตรฐานและสารสนเทศ
๑.๓ การจดั ทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาหรือแผนกลยทุ ธ์ และแผนปฏิบัติการประจำปี
๑.๔ การดำเนินงานตามแผน
๑.๕ การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาประจำปี
๑.๖ การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา
๑.๗ การรายงานคุณภาพการศกึ ษาประจำปี
๑.๘ การผดุงระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา โดยการจดั ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน

สถานศกึ ษา ควรยดึ หลักการการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชนและหนว่ ยงานท่ี
๒..จัดโครงสรา้ งการบริหารทเี่ อื้อตอ่ การพฒั นา คุณภาพการศกึ ษาตามระบบการประกนั คุณภาพ

การศกึ ษาภายในสถานศึกษา
๓. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยอำนาจแลหนา้ ทมี่ ดี ังนี้
๓.๑ กำหนดแนวทางและวธิ ีดำเนินการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน

คู่มือกล่มุ บรหิ ารวิชาการ : โรงเรยี นวัดชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม์) ๒๔

๓.๒ กำกับ ติดตามให้ความเห็นและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศกึ ษา

๓.๓เสนอสถานศึกษาแตง่ ตั้งคณะบคุ คลทำหน้าทีต่ รวจสอบ ทบทวน และรายงานการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศกึ ษา (รายงานประจำปี)

๔...สร้างความตระหนักเสริมสร้างความรู้ความเขา้ ใจ เกยี่ วกับระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน
แก่บุคลากรภายในสถานศึกษา

๕.บุคลากรภายในสถานศึกษาร่วมจัดทำแนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเพื่อการ
ยอมรับและยึดถือปฏบิ ัตริ ่วมกนั

๖. จัดระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีข้อมูลสารสนเทศครอบคลุมภารกจิ และสามารถแสดงถึงประสิทธิภาพ
ประสทิ ธิผลของการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาไดอ้ ย่างเพยี งพอ ถกู ตอ้ ง ชัดเจนเปน็ ปัจจบุ ัน และสามารถ
จัดเกบ็ เรยี กใชข้ อ้ มูลสารสนเทศไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็

๗. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและหรือ
การศึกษาปฐมวัย และสามารถเพิม่ เตมิ เฉพาะในสว่ นทเ่ี ป็นเอกลักษณข์ องท้องถ่นิ ได้

๘. จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาหรือแผนกลยุทธ์ของสถานศึกษา และจัดทำแผนปฏิบัติการ
ประจำปีรองรับโดยควรคำนงึ และครอบคลมุ ในเรอื่ งต่อไปน้ี

๘.๑ เป็นแผนท่ีใช้ขอ้ มูลจากการวเิ คราะห์สภาพปญั หาและความจำเป็นของสถานศกึ ษาอยา่ งเป็นระบบ
๘.๒ กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ผลผลิต และสภาพความสำเร็จของการพัฒนา (เช่น
ผลสัมฤทธใิ์ นวชิ าแกนหลกั คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ เปน็ ต้น)
๘.๓ กำหนดวิธีการดำเนินงาน/กลยุทธ์ที่มีหลักวิชา ผลวิจัยหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่อ้างอิงได้ และ
สามารถนำไปสเู่ ป้ าประสงคท์ ี่กำหนดไว้ได้
๘.๔ กำหนดแหลง่ /หนว่ ยงานทีใ่ หก้ ารสนับสนุนเกี่ยวขอ้ งในแตล่ ะดา้ น
๘.๕ กำหนดบทบาทหน้าทขี่ องผ้รู ับผดิ ชอบและการเขา้ มามสี ว่ นรว่ มของผ้ปู กครองชุมชนไวใ้ ห้ชัดเจน
๘.๖ กำหนดแผนการใช้งบประมาณและทรพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เป็นต้น
๙. จัดทำแผนการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบทบทวน และรายงานผลการดำเนนิ งานตามแผน
๑๐. ดำเนนิ การตามแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา / แผนกลยุทธ์
๑๑. ดำเนินการกำกับ ตดิ ตาม ตรวจสอบทบทวนและรายงานผลการดำเนนิ งานตามแผนพัฒนาคุณภาพ /
แผนกลยทุ ธ์
๑๒. ประเมนิ ผลการดำเนินงาน และความกา้ วหน้าของการพฒั นาสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาที่
กำหนด

คู่มือกล่มุ บริหารวิชาการ : โรงเรยี นวัดชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม์) ๒๕

๑๓. จัดทำรายงานการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาประจำปี (รายงานประจำปี) เสนอหน่วยงานต้นสงั กดั
หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง และเปดิ เผยต่อสาธารณชน

๑๔. ศึกษา วจิ ยั เพอื่ พฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธภิ าพอยา่ งต่อเน่ือง
๑๕. งานอืน่ ๆ ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
๑๓. งานส่งเสริมและพฒั นานักเรยี นที่มีความตอ้ งการจำเปน็
ภาระงาน/บทบาทของผ้สู อนตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑
1. ศกึ ษาวเิ คราะหผ์ เู้ รยี นเปน็ รายบุคคล แลว้ นำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรยี นรู้ ที่ทา้ ทาย
ความสามารถของผเู้ รยี น
๒. กำหนดเปา้ หมายทีต่ อ้ งการให้เกิดขนึ้ กับผู้เรียน ดา้ นความรู้และทกั ษะกระบวนการ ทเี่ ป็นความคิดรวบ
ยอด หลักการ และความสัมพนั ธ์ รวมทง้ั คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๓. ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง
สมอง เพ่ือนำผเู้ รยี นไปส่เู ป้าหมาย
๔. จัดบรรยากาศทเ่ี อ้อื ต่อการเรียนรู้ และดแู ลช่วยเหลือผเู้ รยี นให้เกดิ การเรยี นรู้
๕. จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมา
ประยุกตใ์ ช้ในการจดั การเรียนการสอน
๖. ประเมินความก้าวหน้าของผูเ้ รียนด้วยวธิ ีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชาและระดบั
พฒั นาการของผเู้ รียน
๗. วเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ มาใช้ในการซ่อมเสริมและพฒั นาผู้เรียน รวมท้งั ปรบั ปรุงการจัดการเรียนการ
สอนของตนเอง
๘. งานอืน่ ๆ ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย

๑๔. งานอ่ืน ๆ ท่ีได้รับมอบหมาย

คมู่ อื กลุ่มบรหิ ารวิชาการ : โรงเรยี นวัดชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ ๒๖

ค่มู อื กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ : โรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์ ๒๗


Click to View FlipBook Version