The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เทศกาลท่องเที่ยว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by e-bo207, 2021-10-19 05:22:45

เทศกาลท่องเที่ยว

เทศกาลท่องเที่ยว

เทศกาล ประเพณี
ศลิ ปวฒั นธรรมจังหวัดอุดรธานี

สำนกั งานวฒั นธรรมจังหวดั อดุ รธานี

เทศกาล ประเพณี และการแสดงศิลปวฒั นธรรม จงั หวดั อุดรธานี อีกทั้งยงั จะได้อิ่มบญุ สุขใจ กับการนมสั การปดิ ทองรอย
พระพุทธบาทบวั บกดว้ ย
งานไทพวนชวนเที่ยวภพู ระบาท
อำเภอบา้ นผอื หอนางอุสา ตั้งอยู่ในอุทยานประวัติศาสตร์ภู
พระบาท เขตอำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี มี
ช่วงเวลาจัดงาน ช่วงปลายเดือนมกราคม - ลักษณะเป็นโขดหินคล้ายรูปดอกเห็ดหรือหอคอย
ตน้ เดอื นกุมภาพนั ธ์ ของ ทุกปี ขนาดเล็กตวั หอนางอุสาต้งั อยูบ่ นลานหินกวา้ ง

ณ อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท และที่ว่า ลักษณะประกอบด้วยหินขนาดใหญ่สองก้อน
การอำเภอบ้านผือ เรียงซ้อนทับกันในแนวดิ่งหินก้อนบนกว้าง 5 เมตร
ยาว 7 เมตร และมีความสูง 10 เมตรจากพื้นลานหิน
ก ิ จ ก ร ร ม ภ า ย ใ น ง า น ค ร ั ้ ง นี้ น อ ก จ า ก คาดว่าสภาพเห็นตัง้ นเ้ี กิดจากธรรมชาติ แตภ่ ายหลงั ถกู
นักท่องเที่ยวจะได้สัมผัสขนบธรรมเนียมประเพณี วิถี ดัดแปลงเพื่อเป็นที่พักของมนุษย์ในสมัยก่อน โดยแบ่ง
ชีวิตไทยพวน บ้านผือ อาทิ พิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ ออกเป็นห้องมีลักษณะก่อหินเป็นรปู หน้าต่าง จากการ
ขบวนแห่และฟ้อนรำ ยังจะได้รับความรู้เกี่ยวกับ ส ำ ร ว จ พ บ ว ่ า ม ี ใ บ เ ส ม า ห ิ น เ ร ี ย ง อ ย ู ่ โ ด ย ร อ บ จึ ง
ตำนานพื้นบ้านเรื่อง “นางอุสา-ท้าวบารส” ผ่านการ สันนิษฐานว่าบริเวณนี้เคยเป็นเขตพิธกี รรมทางศาสนา
แสดงแสง-เสียง “ตำนานภูพระบาท” และสามารถ มากอ่ น
เที่ยวชมอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท สัมผัส
ธรรมชาติ และความสวยงามของก้อนหินรูปร่าง ต่างๆ
และภาพเขียนสีของมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์

เทศกาล ประเพณี และการแสดงศลิ ปวฒั นธรรม จังหวัดอดุ รธานี ทั้งนี้ มีนิทานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับหอนาง
อุสา คือเรื่อง อุสา-บารส เล่าถึงเมื่อตอนนางอุสาเกิด
นอกจากนี้บริเวณยงั พบกิจกรรมของมนุษย์ใน มาจากดอกบัวฤษีจันทาได้นำนางอุสามาเลี้ยงเอาไว้
พน้ื ที่บริเวณนี้ประมาณ 2,000-3,000 ปกี อ่ นประวัติ ต่อมาท้าวกงพานกษัตริย์เมืองพานซึ่งเป็นลูกศิษย์ของ
ศาตร์ บริเวณใกล้เคียงยังมีโขดหินที่มีลักษณะเรียง ฤษีจันทาได้ขอรับนางอุสาไปเลี้ยงโดยให้มีฐานะเป็น
ซ้อนกันหลากหลายแบบ และยังพบลักษณะของหลุม ธิดา ครั้นย่างเข้าวัยสาวธิดาของท้าวองค์นี้ก็มีศิริโฉม
คล้ายลักษณะครกหินอยู่ รวมทั้งภาพเขียนสีผนังถ้ำ งดงามเป็นที่ต้องตาต้องใจของเจ้าชายจากหลายเมือง
หรือแง่งหินอีกด้วย แต่ทางท้าวกงพานก็มิได้ทรงยกนางให้ใครและเพราะ
หวงธิดาองค์นี้มากจึงได้สร้างหอสูง (เป็นที่มาของหอ

เทศกาล ประเพณี และการแสดงศลิ ปวฒั นธรรม จงั หวัดอุดรธานี อาศัยอยู่แล้วจึงตรอมใจตาย และเมื่อครบหนึ่งปีท้าว
บารสจึงกลับเข้าเมืองแต่ไม่พบชายาจึงออกตามจนถึง
นางอุสา) ให้อยู่แต่เพียงองค์เดียว อยู่มาวันหนึ่งนางไป เมืองพานและพบว่านางอุสาตรอมใจตายไปแล้วท้าว
อาบน้ำและได้ร้อยมาลัยรูปหงส์อธิษฐานเสี่ยงทาย บารสจึงตรอมใจตายตาม
คคู่ รองแลว้ ปล่อยลงน้ำ มาลัยนไ้ี ดล้ อยไปถึงเมืองปะโค
เวียงงัวและท้าวบารสซึ่งเป็นเจา้ ชายเมืองปะโคเวียงงวั นอกจากนี้ในบริเวณท้องถิ่นตามที่เชื่อกันว่า
นี้ได้เก็บมาลัยของนางอุสาเอาไว้ จากนั้นจึงออกตาม เป็นเมืองพานในนิทานท้องถิ่นเร่ืองอุสา-บารส ยังมีการ
หาผู้เป็นเจ้าของมาลัยจนทราบว่าเป็นของนางอุสา ท้ัง ตั้งชื่อถ้ำและสถานที่ตามนิทานนี้เช่น ตำบลเมืองพาน,
สองได้เกิดความรักกันจนถึงขัน้ ลกั ลอบได้เสีย เมื่อข่าว วดั พ่อตา-วดั ลูกเขยที่ตั้งอยู่ภายในอทุ ยานประวัติศาสตร์
ทราบถึงท้าวกงพานท้าวเธอก็พิโรธมากแต่ไม่สามารถ ภูพระบาท เป็นต้น และยังมีประเพณีแห่นางอุสาใน
ทำอะไรได้เพราะเกรงกลัวเจ้าเมืองปะโคเวียงงัวบิดา พน้ื ทีจ่ ังหวัดอุดรธานเี ป็นประเพณปี ระจำปดี ว้ ย
ของทา้ วบารส จึงไดอ้ อกอุบายแขง่ กันสร้างวัดหากผู้ใด
แพ้ต้องถูกตัดเศียร กำลังคนของท้าวบารสน้อยกว่า
ท้าวกงพาน

แต่ได้พเ่ี ลี้ยงของนางอสุ าช่วยออกอุบายให้เอา
โคมไฟไปหลอกคนของท้าวกงพานว่าดาวประกายพรึก
ขึ้นแล้ว คนของท้างกงพานจึงหยุดสร้างวัดแต่ฝั่งของ
ท้าวบารสก็ฉวยโอกาสนี้สร้างวัดจนเสร็จ เมื่อถึงเวลา
ตัดสินท้าวกงพานพ่ายแพ้จึงถูกตัดเศียร นางอุสาจึง
ต้องติดตามท้าวบารสไปยังเมืองปะโคเวียงงัวและ
พบว่าท้าวบารสมีชายาอยู่แล้ว ต่อมาโหรได้ทำนายว่า
ท้าวบารสต้องแก้กรรมด้วยการเดินป่าองค์เดียวหนึ่งปี
จึงจะพ้นเคราะห์กรรม ระหว่างนั้นนางอุสาโดนกล่ัน
แกล้งจากชายาของท้าวบารสจนทนไม่ไหวต้องหนีออก
จากเมืองปะโคเวียงงัวแล้วกลับเพืองพานที่ตนเคย

เทศกาล ประเพณี และการแสดงศลิ ปวฒั นธรรม จังหวดั อดุ รธานี พ.ศ. 2502 เพื่อเป็นการสืบสานอนุรักษ์วัฒนธรรม
ประเพณี
งานประจำปี ทุ่งศรเี มืองและงานกาชาด
อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ตลอดจนการละเล่นพื้นบ้านของชาวอีสาน
และชาวจังหวดั อดุ รธานี ให้คงอยูส่ ืบไป ซง่ึ การจัดงาน
ช่วงเวลาจัดงาน วันที่ 1 - 12 ธันวาคม ของ ทุ่งศรีเมืองจังหวัดอุดรธานี ของทุกปีได้ผนวกการจัด
ทุกปี งานกาชาดประจำปีเข้าไวใ้ นการจดั งาน ด้วย

ณ สนามทุ่งศรีเมือง อำเภอเมืองอุดรธานี กิจกรรมมีการออกร้านของหน่วยงานราชการ
จังหวัดอดุ รธานี เอกชน การจำหน่ายผลิตภัณฑ์ท้องถ่ินของแต่ละ
อำเภอ การแสดงบนเวทีจากนักเรียน และชุมชนใน
การจัดงาน บวงสรวง สักการะบูชานมัสการ จังหวัดอดุ รธานี
สง่ิ ศักดิ์สทิ ธิ์คู่เมือง ทีป่ กป้องค้มุ ครองพี่น้องชาวจังหวัด
อุดรธานีให้มีความร่มเย็นเป็นสุขตลอดมา พร้อมกับมี
การเฉลิมฉลองงามบวงสรวงบริเวณทุ่งศรีเมือง โดยมี
การจัดงานต่อเนื่องกันมาเป็นประจำปีทุกปีตั้งแต่

เทศกาล ประเพณี และการแสดงศิลปวฒั นธรรม จังหวดั อุดรธานี ปลอดภัยจากโรคภัย การประกอบอาชีพ
การเกษตรให้มีความอุดมสมบูรณ์ การประกอบอาชีพ
ประเพณีแห่ตน้ กล้วยน้อย การงานให้เจริญรุ่งเรือง การเดินทางให้มีความ
บังสกุ ลุ การแก้บะ1 หลวงพ่อทองคำ ปลอดภยั

อำเภอทงุ่ ฝน ๒) เพื่อเป็นการ “บน” ต่อหลวงพ่อทองคำ
เพื่อวัตถุประสงค์ที่ต้องการเป็นการส่วนตัวหรือส่วน
ช่วงเวลาจดั งาน ปลี ะ ๓ ครง้ั คือ ครอบครัว เช่น การเดินทางไปเป็นทหารรับจ้าง(สมัย
ครัง้ ท่ี ๑ ในวนั ขน้ึ ๑๕ คำ่ เดอื น ๓ สงครามอินโดจีน สงครามเวียตนามและลาว) ให้มี
วนั มาฆบูชา ความปลอดภัยกลับมา การเดินทางไปรับจ้าง
ต่างประเทศ ขอให้ปลอดภัยมนการเดินทางและ
ครัง้ ที่ ๒ ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ประสบความสำเร็จได้เงินไดท้ องกลบั มาบ้าน ลกู หลาน
วันวิสาขบูชา ที่ไปทำงานต่างจังหวัดก็ขอให้มีความปลอดภัยและ
ประสบความสำเร็จในการทำงาน และสิ่งที่ปฏิบัติกัน
คร้ังท่ี ๓ ในวันข้นึ ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ เป็นประจำ คือ ทุกครอบครัวจะบนขอให้ครอบครัวมี
วันออกพรรษา ของทกุ ปี ความปลอดภัยในชีวิต และการประกอบอาชีพมี
ความสำเร็จ เป็นต้น
ณ วัดโพธิ์ศรีทุ่ง ม.๘ บ้านทุ่งฝน ตำบลทุ่งฝน
อำเภอท่งุ ฝน จงั หวัดอดุ รธานี
ประเพณีแห่ต้นกล้วยน้อย บังสุกุล เป็น
ประเพณีท่ชี าวท่งุ ฝนปฏิบตั ิกันเป็นการบชู า “หลวงพ่อ
ทองคำ” ซึ่งในการบูชาจะใช้ “ปราสาทผึ้ง ต้น
กล้วยน้อยพร้อมกระทงบังสุกุล” (ที่ใช้กาบกล้วย
จดั ทำ) โดยมีวัตถุประสงคด์ ังนี้

๑) เพื่อเป็นการขอพร “หลวงพ่อทองคำ” ซึ่ง
เป็นพระค่บู ้านคู่เมืองของชาวท่งุ ฝน เพื่อใหช้ าวทุ่งฝนมี
ความเป็นอยู่อย่างปลอดภัย ไม่ให้มีโรคภัยไข้เจ็บ ไม่มี
โรคระบาด ให้ฝนตกถกู ตอ้ งตามฤดูกาล สัตวเ์ ล้ยี งให้

1 บะ หมายถึง การบนบาน

เทศกาล ประเพณี และการแสดงศลิ ปวฒั นธรรม จงั หวัดอดุ รธานี

๓. เพื่อเป็นการ “แก้บน” โดยปกติในการแก้ ตามฤดูกาล เพื่อเป็นการ “บน” ต่อหลวงพ่อทองคำ
บนมักจะทำเป็น“ปราสาทผึ้ง”มาทำการแก้บนต่อ เพื่อวัตถุประสงค์ที่ต้องการเป็นการส่วนตัวหรือส่วน
หลวงพ่อทองคำ เมื่อกลับมาจากการไปประกอบ ครอบครัว ซ่งึ ปจั จุบันหลวงพ่อทองคำ
ภารกจิ ตามท่ีตนเองบนเอาไว้
ต้นกล้วยน้อย จะใช้ต้นหน่อกล้วย ที่มีความ
๔. การบูชาหลวงพ่อทองคำ ที่ปฏิบัติเป็น สูง ตั้งแต่ ๓๐ เซนติเมตรขึ้นไป ที่ประดับด้วยดอกผึ้ง
ประเพณีสืบต่อกันมาจะใช้ “ต้นกล้วยน้อยและ
บังสุกุล” เป็นเครื่องบูชาเป็นประเพณีที่ชาวทุ่งฝน
ปฏิบัติกันเป็นการบูชา “หลวงพ่อทองคำ” ซึ่งในการ
บูชาจะใช้ “ปราสาทผึ้ง ต้นกล้วยน้อยพร้อมกระทง
บังสุกุล” (ที่ใช้กาบกล้วยจัดทำ)เพื่อเป็นการขอพร
“หลวงพอ่ ทองคำ” ซง่ึ เปน็ พระค่บู า้ นค่เู มืองของชาวทุ่ง
ฝน เพื่อให้ชาวทุ่งฝนมีความเป็นอยู่อย่างปลอดภัย
ไม่ให้มีโรคภัยไข้เจ็บ ไม่มีโรคระบาด ให้ฝนตกถูกต้อง

เทศกาล ประเพณี และการแสดงศลิ ปวฒั นธรรม จงั หวัดอดุ รธานี วันประกอบพิธีแห่ต้นกล้วยน้อยบังสุกุล ใน
การประกอบพธิ ีแห่ต้นกล้วยน้อยบังสุกลุ จะกระทำกับ
ติดซ้อนกันกับขมิ้นที่ฝานเป็นแว่น ตามก้านใบ และลำ ปลี ะ ๓ ครัง้ คือ
ต้น ซึง่ ใชแ้ ทนปราสาทผึ้ง
ครง้ั ท่ี ๑ ในวันขน้ึ ๑๕ ค่ำเดือน ๓
บังสุกุล จะใช้กาบกล้วยมาพับเป็นกระทง สูง ครั้งท่ี ๒ ในวันขนึ้ ๑๕ คำ่ เดอื น ๖
ประมาณ ๒๐ เซนติเมตร ข้างในจะบรรจุ อาหารคาว ครง้ั ท่ี ๓ ในวันขึ้น ๑๕ คำ่ เดอื น ๑๑
หวาน เพื่อเป็นการอุทิศส่วนกุศลให้กับญาติผู้ล่วงลับ ส่วนการแกบ้ นโดยใช้ปราสาทผงึ้ จะกระทำได้
หากไม่มีญาติที่ล่วงลับไป จะเป็นการสะสมเสบียงบุญ ตลอดปี หลังจากผู้ที่ได้บนบานศาลกล่าวต่อหลวงพ่อ
ไว้ให้กับตนเอง เมื่อต้องเสียชีวิตไปจะได้เสวยบุญที่ได้ ทองคำไว้ เมื่อกลับมาจากการไปประกอบกิจธุระของ
สะสมเอาไว้ ตนเองตามที่ได้บนไว้ จะเป็นวันเวลาใดขึ้นอยู่กับความ
สะดวกของบุคคลน้นั ๆ โดยพระสงฆ์เปน็ ผู้มาประกอบ
พิธีแก้บนและรับถวายปราสาทผึ้ง โดยพระพุทธรูป
หลวงพ่อทองคำปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่วัดโพธิ์ศรีทุ่ง
หมู่ ๘ บ้านทุ่งฝน ตำบลทุ่งฝน อำเภอทุ่งฝน จังหวัด
อดุ รธานี

เทศกาล ประเพณี และการแสดงศลิ ปวฒั นธรรม จงั หวดั อดุ รธานี ได้เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์มรดกทางศิลปวัฒนธรรม
สร้างความภาคภูมิใจและมีจิตสำนึกร่วมกันในการ
งานมรดกโลกบา้ นเชียง อนุรักษ์ ดูแลป้องกันแหล่งโบราณคดี วัฒนธรรมบ้าน
อำเภอหนองหาน เชียงให้คงอยตู่ ลอดไป

ช่วงเวลาจัดงาน ช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ของ
ทกุ ปี
ณ บริเวณ ลานวัฒนธรรม ตำบลบ้านเชียง
อำเภอหนองหาน จังหวดั อุดรธานี

งานมรดกโลกบ้านเชียง จดั ข้ึนทกุ ปี เพ่ือเฉลิม
ฉลองในการที่องค์การยูเนสโกประกาศให้บ้านเชียงข้ึน
เป็นมรดกโลกลำดับที่ 359 เมื่อปี 2535 โดยบ้าน
เชียงแห่งนี้ มีวัตถุโบราณพวกไหลายบ้านเชียงท่ี
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ย้อนหลังไปกว่า 5,000 ปี ท่ี
เป็นเอกลักษณ์ พิธีบวงสรวงศาลปู่ขุนเชียงสวัสดิ์การ
จัดงานเฉลิมฉลองมรดกโลกบ้านเชียง ได้มีการจัดงาน
ตอ่ เนือ่ งมาเปน็ เวลา ๒๘ ปี แล้ว และเพอ่ื ให้ประชาชน

เทศกาล ประเพณี และการแสดงศลิ ปวฒั นธรรม จังหวดั อดุ รธานี

สำนักงานวัฒนธรรมจงั หวัดอุดรธานี

ชั้น 4 ถนน อธบิ ดี ตำบลหมากแขง้ อำเภอเมืองอดุ รธานี อุดรธานี 41000
www.m-culture.go.th/udonthani


Click to View FlipBook Version