The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maytaratkham, 2022-07-11 10:06:33

เรื่องที่ 3 QR

เรื่องที่ 3 QR



คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม ชุดที่ 3 เรื่อง “ผลิตภัณฑ์ชุมชน” จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการเรียน
การสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งผู้จัดทำเพื่อให้นักเรียนนำแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อศึกษาความเข้าใจระบบ วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์กับ
ชีวิตประจำวันได้ บนพื้นฐานหลักการความพอเพียง ซึ่งหมายถึง ความพอประมาณ ความมี
เหตุผล และมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ซึ่งประกอบด้วยเงื่อนไขความรู้ ได้แก่ รอบรู้วิชาการ
รอบคอบ ระมัดระวงั และเงื่อนไขคุณธรรม ได้แก่ ความซื่อสัตย์ สจุ รติ ขยนั อดทน มีสตปิ ัญญา
และแบ่งปัน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” ชุดที่ 3 เรื่อง “ผลิตภัณฑ์ชุมชน”
เนื้อหา ความรู้และแบบฝึกทีน่ กั เรยี นสามารถศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเองได้

ผู้จัดทำหวังเป็นอยา่ งยิง่ วา่ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” เล่มนี้จะ
มีประโยชน์ต่อการสอนและการเรียนของนักเรียนอย่างสูงสุด ขอขอบพระคุณทุกท่านที่ได้มี
ส่วนร่วมและเสียสละเวลาให้คำแนะนำ ชี้แนะแนวทางตลอดจนให้ขอ้ คิดเห็นอนั เปน็ ประโยชน์
จนกระทง่ั ชดุ กจิ กรรมการเรยี นร้เู ล่มนี้ประสบผลสำเร็จด้วยดี หากมขี ้อผดิ พลาดประการใดต้อง
ขออภัยมา ณ ทีน่ ้ี

เมธารตั น์ คมขำ

สารบญั ข

เรอ่ื ง หนา้

 คำนำ ก
 สารบญั ข
 คำแนะนำในการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนร้ทู ี่ 3 เร่ือง “ผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน” ค
 มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวช้วี ัด ง
 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ง
 สาระการเรียนรู้ ง
 แบบทดสอบกอ่ นเรียน เรอ่ื ง “ผลติ ภณั ฑช์ ุมชน” จ
 เนอ้ื เร่อื ง 1
 แนวทางการถอดบทเรยี นที่ได้จากการเรียนรู้ 14
 แบบฝกึ หดั ที่ 1 16
 แบบทดสอบหลงั เรียน เรอ่ื ง “ผลติ ภณั ฑ์ชุมชน” 18
 ภาคผนวก 19
 เฉลยแบบฝกึ หดั ท่ี 1 20
 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น – หลงั เรียน 23
 บรรณานกุ รม 24



คำแนะนำในการใช้
ชุดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่ 3
เร่อื ง “ผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน”

สำหรบั ครผู ้สู อน

1. ชีแ้ จงการใช้ชุดกจิ กรรมใหน้ ักเรียนทราบกอ่ นศึกษา
2. ครูผสู้ อนควบคุมใหน้ กั เรยี นปฏบิ ัติตามขัน้ ตอน ดูแลใหค้ ำแนะนำอย่าง
ใกล้ชิด โดยใช้เวลาในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ สามารถยดื หย่นุ
ได้ตามความเหมาะสม
3. ครใู ห้นักเรยี นทำแบบทดสอบทา้ ยเลม่ เพอื่ ประเมิน
ผลว่า นักเรยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจมากนอ้ ยเพยี งใด

สำหรับนักเรยี น

1. นักเรยี นอ่านจดุ ประสงค์การเรียนรกู้ อ่ นศึกษาชุดกิจกรรม
2. ตั้งใจศกึ ษาชุดกิจกรรมด้วยความตัง้ ใจ
3. หากไมเ่ ข้าใจให้กลับไปอา่ นทบทวนอีกครัง้
4. ทำใบกิจกรรมและแบบทดสอบทา้ ยเล่ม
5. ตรวจคำตอบใบกจิ กรรมและแบบทดสอบทา้ ยเลม่

จากเฉลย
6. นักเรียนศึกษาชุดกจิ กรรมด้วยตนเอง หากมปี ญั หา

หรือข้อสงสยั ใหป้ รกึ ษาครผู ู้สอน



มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวช้วี ดั

สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส. 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและ

การบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมท้ัง
เข้าใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการดำรงชวี ติ อย่างมดี ุลยภาพ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

หลังจากนักเรียนได้ศึกษาชุดกิจกรรม เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง เล่มที่ 3 เรื่อง
“ผลิตภัณฑ์ชุมชน”
1. อธิบายปัจจยั การผลติ สินคา้ และบริการ
2. ประยุกตใ์ ชแ้ นวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในครอบครัว
โรงเรยี น และชุมชน

สาระการเรยี นรู้

1. ตวั อยา่ งการผลิตสินค้าและบริการในชุมชน เช่น หน่งึ ตำบล หนึ่งผลิตภณั ฑ์
2. ผลิตภณั ฑช์ ุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง



แบบทดสอบกอ่ นเรียน
เรอื่ ง “ผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน”

คำชีแ้ จง : ให้นักเรยี นวงกลมหน้าตวั เลอื กที่เหน็ ว่าถกู ตอ้ งทส่ี ดุ เพียงตวั เลือกเดียว

1. “หน่งึ ตำบล หนงึ่ ผลติ ภณั ฑ์” มหี ลักการอย่างไร

ก. การรวมกลมุ่ เพื่อเป็นการสรา้ งรายได้ใหก้ ับชุมชน

ข. การพึง่ พาผอู้ ่นื กอ่ นพง่ึ พาตนเอง

ค. การพงึ่ พาปัจจยั การผลติ จากทอ่ี ืน่

ง. การผลิตเพ่ือจำหนา่ ยสนิ คา้

2. OTOP นำไอเดยี มาจากประเทศใด

ก. ประเทศญ่ปี ่นุ ข. ประเทศเกาหลใี ต้

ค. ประเทศอินเดยี ง. ประเทศจีน

3. OTOP ยอ่ มาจากอะไร

ก. One Village One Product ข. One Thumbon One Product

ค. One Thumbon One People ง. ไม่มีข้อใดถูก

4. OTOP เรม่ิ ดำเนนิ การครัง้ แรกปี พ.ศ. ใด

ก. พ.ศ. 2540 ข. พ.ศ. 2542

ค. พ.ศ. 2544 ง. พ.ศ. 2545

5. ชุมชนท่สี มาชกิ ทุกคนร่วมกนั พัฒนาอาชพี และใช้ทรัพยากรชุมชนอย่างเหมาะสม จะส่งผลดี

ต่อชุมชนมากท่สี ุดในขอ้ ใด

ก. สมาชิกในชมุ ชนมรี ายไดท้ ี่มน่ั คง

ข. พฒั นาชุมชนให้เข้มแข็ง

ค. สามารถอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาตใิ หย้ ัง่ ยืน

ง. เป็นชุมชนตัวอย่างของชมุ ชนอน่ื

1

เรื่อง
ผลิตภณั ฑช์ มุ ชน

“เด็ก ๆ จ๊ะ วันนี้เรามาเรยี นเรอ่ื ง
ผลติ ภณั ฑใ์ นชมุ ชน กันนะคะ่ ”

“อะไรคอื ผลิตภัณฑใ์ นชมุ ชน
เธอรู้ไหม”

2

ผลิตภัณฑ์ชมุ ชน

ผลติ ภัณฑช์ มุ ชน หมายถงึ ผลผลิตทเ่ี ป็นสนิ ค้าหรือบรกิ ารสถานท่ี หรอื วตั ถทุ ่ีมีอยู่
ในชุมชนหรือที่สร้างให้มีขึ้น โดยชุมชน เช่น น้ำตาลเป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชนในจังหวัด
เพชรบรุ ี เกาะสมุยเป็นผลิตภณั ฑข์ องชาวเกาะจังหวัดสุราษฎรธ์ านี ผ้าไหมเป็นผลิตภัณฑ์
ของชุมชนของทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

3

ผลิตภัณฑช์ ุมชนท่ีส่งเสรมิ โดยรัฐบาลอย่างเด่นชัด คอื โครงการ “หน่งึ ตำบล หน่ึง
ผลิตภัณฑ์” ข้อความที่ว่า “หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์” ไม่ได้หมายความว่า ในหน่ึง
ตำบลและมีเพียงหนึ่งผลิตภัณฑ์เท่านั้น ในแต่ละตำบลจะมีผลิตภัณฑ์ที่เป็นผลงานของ
คนในตำบลนั้น ๆ กี่ชิ้นก็ได้ แต่เมื่อพูดถึงผลงานชิ้นเอก หรือสินค้ายอดนิยมก็ควรมีหนึ่ง
ผลติ ภณั ฑ์ต่อหนงึ่ ตำบล

ที่มาของรปู
https://i.pinimg.com/564x/bb/bf/f1/bbbff10dafacc540713bc47a603bf27a.jpg

4

ต้นแบบหรือที่มาของแนวคิด “หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์” นั้นมาจากประเทศญี่ปุ่น
ที่จงั หวดั โออิตะ บนเกาะคิวชู นายโมรฮิ ิโกะ ฮิระมตั ซึ ผวู้ ่าราชการจังหวัดโออิตะ ได้ดำเนินการหน่ึง
ตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ประสบความสำเร็จจนเป็นที่รู้จักกันดีทั่วโลก เดิมจังหวัดโออิตะเป็นจังหวัด
เล็ก ๆ ที่มีเนื้อหาทางการเกษตรเพียง 10% โอกาสในการพัฒนาอุตสาหกรรมหลักด้อยกว่าจังหวัด
อื่น ทำให้มีปัญหาการอพยพย้ายถิ่นของแรงงานจากปัญหาหลายอย่างดังกล่าว ทำให้ผู้ว่าพยายาม
ทุ่มเทความคิด และวางแนวทาง “หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์” ขึ้นโดยเน้นให้แต่ละหมู่บ้านมี
ผลิตภัณฑ์หลัก 1 ชนิด และต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้วัตถุดบิ จากผลผลิตและทรัพยากรท้องถิน่ นั้น ๆ
ดว้ ย

5

จากแนวการทำงานที่ประสบผลสำเร็จของจังหวัดโออิตะนี้เอง ทำให้เกิดการส่งเสริม
แบบเดียวกันนี้ในประเทศไทยด้วย โดยหน่วยงานของรัฐได้ร่วมกันทำงาน เช่น การส่งเสริม
การส่งออก กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมพัฒนาชุมชน และกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ผลการ
ส่งเสริมทำให้

1. เป็นการสร้างงานสร้างรายไดใ้ หแ้ ก่ชมุ ชน
2. สร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนให้สามารถคิดเอง ทำเอง ในการพัฒนาท้องถิ่น และ
พงึ่ ตัวเองได้
3. สง่ เสริมภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น
4. สง่ เสริมการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์
5. ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของชุมชนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้อง
กับแนวทางการดำเนินชีวิตและวัฒนธรรมแตล่ ะท้องถ่ิน
6. เสรมิ สรา้ งการผลติ ใหม้ มี าตรฐานและคุณภาพ
7. สนับสนุนส่งเสริมดา้ นการตลาด
8. สนับสนนุ การพฒั นาเครือขา่ ยอาชีพ

6
ผลติ ภัณฑช์ ุมชนตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง คอื

1. ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เหมาะสม พอดี พอประมาณ ไม่มาก ไม่น้อย เช่น
ในชุมชนมีต้นไผ่มาก ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมคือ ทำกระบอกข้าวหลาม แต่การ
ทำมาก ต้นไผ่ไม่ทันโต ย่อมทำให้หมด จึงต้องพอดี ๆ แต่หากไม่นำมาทำ
ผลิตภณั ฑ์ใด ๆ เลย ตน้ ไผจ่ ะขยายพันธจ์ุ นเตม็ พ้ืนทท่ี ำการเกษตร

ทมี่ าของรูป
เพจ ขายไผ่ ส่งทัว่ ประเทศ PT Bamboo

7
3. ผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนอย่างมีเหตุมผี ล คอื การตดั สินใจผลติ ภายใต้
ทรพั ยากรทมี่ ใี นชมุ ชน สามารถผลติ ได้ด้วยภมู ปิ ญั ญาของคนในชมุ ชนและ
เป็นผลติ ภณั ฑท์ ส่ี อดคลอ้ งกับความตอ้ งการใช้ประโยชน์ เชน่ กรณีมีตน้ ไผ่
มากจึงนำมาทำเปน็ เกราะผกู คอววั ปรากฎว่าทำแลว้ ไมไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชน์
เพราะไม่นยิ ม จึงต้องมเี หตมุ ผี ลในการสรา้ งเป็นผลิตภณั ฑช์ มุ ชน

ทมี่ าของรปู
https://www.sac.or.th/databases/traditional-objects/th/equipment-detail.php?ob_id=139

8
3. ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่สร้างภูมิคุ้มกันให้กับชุมชน คือ ผลิตภัณฑ์ที่สร้างรายได้เป็นอาชีพ
ไมท่ ำลายธรรมชาติ สง่ เสรมิ ความสามคั คี ทำใหช้ มุ ชนมคี วามมนั่ คง เช่น ผลิตภัณฑ์ข้องใส่
ปลา ผลิตภัณฑ์สุ่มเลี้ยงไก่ จัดทำโดยคนในชุมชนรวมกลุ่มกัน ทำให้มีรายได้เป็นอาชีพ
สง่ ผลใหม้ ีสง่ ลูกเรียน มีเงนิ ซ้ือยารกั ษาอาการเจบ็ ปว่ ย

ทม่ี าของรปู
https://sites.google.com/site/kansansumkaibanjan/prayochn-khxng-sum

ทีม่ าของรูป
http://cbt.nawatwithi.com/view_detail_otop.php?otop_id=797

9

4. สร้างผลิตภัณฑ์ชมุ ชนอยา่ งมีความรู้ คือ คนในชุมชนต้องมี
ความรู้ การผลิต การบริการ การบริโภคของผลิตภัณฑ์นั้นจึง
สามารถสรา้ งข้ึนมาได้ตรงความตอ้ งการของตลาด

ใบไผแ่ หง้

ทมี่ าของรูป
เพจ ลูกสำรอง คุณยุ้ย เกรดสง่ ออก จากจันทบุรี

10

ที่มาของรปู
เพจ เรือกอและจำลองนราธิวาส

5. ผลิตภัณฑ์ชุมชนทีม่ ีคุณธรรม คือ ผลิตภัณฑ์ที่สร้างดว้ ย
คนในชุมชนตอ้ งดำเนินการอยา่ งมีความซ่ือสัตย์ รบั ผดิ ชอบ
เสียสละ ไวว้ างใจกัน เปน็ ผลติ ภัณฑ์ท่ไี ม่ทำลายส่งิ แวดล้อม

11

ครขู อทบทวน เรอื่ ง หนงึ่ ตำบล
หนึ่งผลิตภณั ฑใ์ หเ้ ขา้ ใจนะคะ

หนงึ่ ตำบลหนง่ึ ผลติ ภัณฑ์
โครงการหน่ึงตำบลหนึ่งผลติ ภัณฑ์ (One Tambon,
One Product) หรือเรียกย่อกันว่า โอทอป (OTOP) เป็น
โครงการกระตุ้นธุรกิจประกอบการท้องถิ่น ซึ่งมีที่มาจาก
แนวคิด One Village, One Product ของเมืองโออิตะ
ประเทศญปี่ ุ่น

เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ได้นำเสนอประเด็น
เกี่ยวกับ OTOP ว่า เมื่อพรรคไทยรักไทยเป็นรัฐบาล แนวคิดโครงการหนึ่งตำบลหนึ่ง
ผลิตภัณฑ์ หรือโอทอปที่ได้รับการออกแบบโดยคณะทำงานโครงการ "หนึ่งตำบล หน่ึง
ผลิตภัณฑ์" พรรคไทยรักไทยของทกั ษิณ ชินวัตร สมัยที่ยังดำรงตำแหน่งนายกรฐั มนตรี
ระหว่าง พ.ศ. 2544 - 2549 จึงได้ถูกนำมาเป็นโครงการหลักโครงการหนึ่งของรัฐบาล
โดยโครงการดังกล่าวมีเป้าหมายที่จะสนับสนุนผลิตภัณฑ์ลักษณะเฉพาะที่ผลิตและ
จำหน่ายในท้องถิ่นแต่ละตำบล (OVOP) ที่ประสบความสำเร็จของญี่ปุ่นมาเป็น
แบบอย่าง โครงการโอทอปกระตุ้นให้ชุมชน หมู่บ้านพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และ
ตลาด เลือกผลิตภัณฑ์ทโี่ ดดเด่นมาหนงึ่ ชนิ้ จากแตล่ ะตำบลมาประทบั ตราว่า "ผลติ ภัณฑ์
โอทอป" และจดั หาเวทีในประเทศและระหว่างประเทศเพ่ือประชาสมั พนั ธส์ ินคา้ เหลา่ นี้

12
ผลติ ภณั ฑ์โอทอปครอบคลมุ ผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถ่ินอยา่ งกวา้ งขวาง ซง่ึ รวมไปถงึ งานหตั ถกรรม
ฝ้ายและผ้าไหม เครือ่ งปั้นดินเผา เครือ่ งประดับแฟชั่น ของใช้ในครัวเรือนและอาหาร โดย
มีโครงการนำร่องอยู่ 336 ตำบล และต้องการให้ทั้ง 7,000 ตำบลทั่วประเทศมีผลิตภัณฑ์
หรอื บรกิ ารเดน่ ออกสู่ตลาดโลก

เมอื งโออติ ะ (OITA) ประเทศญปี่ ุน่

One Village, One Product ของเมอื งโออติ ะ ประเทศญป่ี ุ่น
ที่มาของรูป
https://urbancreature.co/oita-ovop-japan/

13

สรุป
ปรัชญา "หนึ่งตำบล หน่งึ ผลิตภณั ฑ์" เปน็ แนวทางประการหน่งึ ท่ไี ดม้ ีการริเริม่ ใช้ใน

เมืองโออิตะ ประเทศญี่ปุ่นท่ีจะสร้างความเจริญแก่ชุมชนให้สามารถยกระดับฐานะความ
เป็นอยู่ของคนในชุมชนให้ดีขึ้น โดยการผลิตหรือจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น
ให้กลายเป็นสนิ คา้ ที่มคี ุณภาพ มีจุดเด่นเปน็ เอกลักษณะของตนที่สอดคล้องกับวฒั นธรรม
ในแต่ละท้องถน่ิ สามารถจำหนา่ ยในตลาดทั้งในและตา่ งประเทศ ไมต่ อ้ งพึ่งพางบประมาณ
จากรัฐ

โดยมีหลักการสำคัญพ้ืนฐาน 3 ประการ คอื
1. ภูมิปัญญาท้องถน่ิ สากล (Local Yet Global)
2. พง่ึ ตนเองและคิดอย่างสรา้ งสรรค์ (Seft-Reliance - Creativity)
3. การสรา้ งทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development)
ผลิตภณั ฑ์ OTOP ไม่ไดห้ มายถึง ตวั สนิ คา้ เพยี งอย่างเดียว แต่เปน็ กระบวนการทาง
ความคิด รวมถึงการบริการ การดูแล การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม
การรักษาภูมิปัญญาไทย การท่องเที่ยว ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี การต่อยอดภูมิปัญญา
ท้องถิ่น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพือ่ ให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพ มีจุดเด่น จุดขายที่
รู้จกั กันแพรห่ ลายไปท่วั โลก

14

แนวทางการถอดบทเรยี นที่ได้จากการเรยี นรู้
“ผลิตภณั ฑช์ มุ ชน”

แนวทางการถอดบทเรยี นท่ไี ด้จากการเรยี นรู้

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ผลติ ภัณฑ์ชุมชน

(สำหรบั นกั เรยี น)

2 เง่ือนไข ความรู้ นักเรยี นตอ้ งมพี ืน้ ฐานความรอู้ ะไรบา้ งทจี่ ะสามารถ

ประสบความสำเร็จในการเรยี นเรอื่ งน้ี

คุณธรรม นกั เรยี นจะตอ้ งมคี ณุ ธรรมอะไรบ้างทีจ่ ำเปน็ ในการเรียน

ถงึ จะทำให้นกั เรยี นประสบความสำเร็จในการเรยี นเรอื่ งน้ี

3 ห่วง พอประมาณ ในการเรียนเรอื่ งน้ี นักเรยี นต้องคำนงึ ถงึ ความเหมาะสม /

ความสอดคลอ้ ง / ความพอดีและศักยภาพของตนอย่างไร

บา้ ง เช่น การบรหิ ารเวลา การใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ ความ

พรอ้ มของนกั เรยี นเอง

มีเหตุผล นกั เรยี นจะไดค้ วามรู้อะไรบา้ งจากบทเรียนนี้ และการจะ

ไดร้ ับความรู้เรอ่ื งนนี้ ักเรยี นควรทำอยา่ งไร

มภี ูมคิ มุ้ กนั ใน นกั เรียนมีการปอ้ งกันความผิดพลาดหรอื ปัญหาที่จะเกดิ

ตัวท่ดี ี ขึน้ กบั การเรียนของตนเองอยา่ งไร และมีแผนสำรองทจ่ี ะ

จัดการกบั ความผดิ พลาดทีจ่ ะเกดิ ข้ึนไดอ้ ยา่ งไร

4 มิติ ดา้ นวตั ถุ นักเรยี นมกี ารใช้ส่งิ ของท่ีเปน็ วตั ถุจากท่ีครูเตรยี มให้ หรือ

เป็นวัตถุสิ่งของตนเองในการเรยี น ใหป้ ระหยดั คุ้มคา่

ลดรายจา่ ยอยา่ งไรบา้ ง

ดา้ นสงั คม นกั เรียนมีการสร้างความสมั พันธด์ า้ นสงั คมกับครแู ละ

เพอ่ื น ๆ อยา่ งไรในการเรียนเรอื่ งนี้

15

แนวทางการถอดบทเรยี นที่ได้จากการเรียนรู้
“ผลติ ภณั ฑช์ ุมชน”

แนวทางการถอดบทเรยี นที่ไดจ้ ากการเรียนรู้

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ผลิตภณั ฑช์ ุมชน

(สำหรับนักเรยี น)

4 มิติ (ต่อ) ด้านวัฒนธรรม จากการเรยี นเรื่องน้ีนักเรียนได้แนวทางในการสบื สานร่วม

อนรุ ักษ์วัฒนธรรม ค่านยิ ม เอกลักษณท์ อ้ งถ่นิ อยา่ งไรบา้ ง

ดา้ น จากการเรยี นเรือ่ งนี้ นักเรียนมสี ว่ นเกี่ยวขอ้ งหรอื ไดท้ ำ

สิ่งแวดลอ้ ม วธิ ีการตา่ ง ๆ ในการอนรุ ักษธ์ รรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

อะไรบ้าง

3 ศาสตร์ ศาสตร์ นักเรยี นไดเ้ รยี นรู้ เขา้ ใจ ลงมือปฏิบตั ิ บูรณาการหลักการ

พระราชา ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลักการทรงงานเกษตร

ทฤษฎใี หม่

ศาสตรส์ ากล นกั เรียนได้ศกึ ษาความรจู้ ากตำรา เช่น หลักการ ทฤษฎี

กระบวนการกล่มุ ทำงานเปน็ ทีม สือ่ เทคโนโลยี Internet

นำมาบูรณาการใชก้ ับชีวติ ประจำวนั

ศาสตร์ นักเรยี นได้ศึกษาความรจู้ ากภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน เช่น การ

ภมู ปิ ัญญา ใชส้ มุนไพร คำพังเพย เพลงพื้นบา้ น ความเชือ่ พ้นื บ้าน

16

แบบฝึกหัดที่ 1

เร่อื ง ผลิตภัณฑช์ มุ ชน
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5
ช่อื ........................................................ นามสกลุ .............................................. เลขท่ี ............
คำชแ้ี จง: ให้นกั เรยี นเติมคำตอบในชอ่ งวา่ ง

1. ใหน้ ักเรียนบอกถึงความหมายของ "ผลติ ภัณฑใ์ นชุมชน"
มคี วามหมายว่าอย่างไร

..................................................................................................
..................................................................................................
..................................................................................................
..................................................................................
.............................................................

2. ให้นักเรียนยกตัวอย่าง "ผลติ ภณั ฑใ์ นชุมชน" ท่ีสามารถ
นำมาสร้างรายไดใ้ หแ้ ก่ชมุ ชนและคนภายในชุมชนได้

..................................................................................................
......................................................................................... .........
..................................................................................................
..................................................................................
.............................................................

17

3. คำว่า "หน่งึ ตำบล หน่งึ ผลติ ภัณฑ"์ ในที่นี้ความหมายว่า
อย่างไร

..................................................................................................
..................................................................................................
..................................................................................................
..................................................................................
.............................................................

4. คำว่า "ผลติ ภัณฑ์ชุมชน" ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง คอื อะไร

..................................................................................................
..................................................................................................
..................................................................................................
..................................................................................
.............................................................

5. ใหน้ ักเรียนบอกถึงประโยชน์ของการท่ีมีผลิตภณั ฑ์ภายใน
ชุมชนว่ามอี ะไรบ้าง

..................................................................................................
..................................................................................................
..................................................................................................
..................................................................................
.............................................................

18

แบบทดสอบหลงั เรยี น
เรอื่ ง “ผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน”

คำชแี้ จง : ใหน้ ักเรียนวงกลมหน้าตวั เลอื กทเี่ หน็ ว่าถกู ตอ้ งท่สี ดุ เพยี งตวั เลือกเดียว

1. OTOP เรม่ิ ดำเนนิ การคร้งั แรกปี พ.ศ. ใด

ก. พ.ศ. 2540 ข. พ.ศ. 2542

ค. พ.ศ. 2544 ง. พ.ศ. 2545

2. OTOP ย่อมาจากอะไร

ก. One Village One Product ข. One Thumbon One Product

ค. One Thumbon One People ง. ไม่มขี อ้ ใดถกู

3. “หนึ่งตำบล หน่ึงผลติ ภัณฑ์” มหี ลักการอย่างไร

ก. การรวมกลุม่ เพ่ือเป็นการสรา้ งรายไดใ้ หก้ ับชุมชน

ข. การพ่งึ พาผอู้ ่ืนกอ่ นพง่ึ พาตนเอง

ค. การพ่งึ พาปจั จัยการผลติ จากท่อี นื่

ง. การผลติ เพื่อจำหนา่ ยสินคา้

4. OTOP นำไอเดยี มาจากประเทศใด

ก. ประเทศญปี่ ุ่น ข. ประเทศเกาหลใี ต้

ค. ประเทศอนิ เดยี ง. ประเทศจีน

5. ชมุ ชนทส่ี มาชิกทุกคนรว่ มกันพัฒนาอาชพี และใชท้ รัพยากรชุมชนอยา่ งเหมาะสม จะสง่ ผลดี

ต่อชุมชนมากท่สี ดุ ในขอ้ ใด

ก. สมาชิกในชุมชนมรี ายไดท้ ่มี ่ันคง

ข. พฒั นาชมุ ชนใหเ้ ข้มแขง็

ค. สามารถอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติใหย้ ง่ั ยืน

ง. เปน็ ชมุ ชนตวั อย่างของชุมชนอืน่

19

ภาคผนวก

20

เฉลยแบบฝกึ หัดที่ 1

เรอื่ ง ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5
ชอ่ื ........................................................ นามสกลุ .............................................. เลขท่ี ............
คำชแ้ี จง: ให้นกั เรยี นเตมิ คำตอบในช่องวา่ ง

1. ใหน้ ักเรียนบอกถึงความหมายของ "ผลิตภัณฑใ์ นชมุ ชน"
มคี วามหมายว่าอย่างไร

ผลติ ภณั ฑใ์ นชมุ ชน หมายถึง ผลผลติ ทเ่ี ปน็ สนิ ค้า
หรอื บรกิ าร สถานที่ หรอื วตั ถุทม่ี ีอยูใ่ นชมุ ชนหรอื
ทสี่ ร้างใหม้ ีขน้ึ ภายในชมุ ชนน้ัน ๆ

2. ให้นักเรียนยกตวั อย่าง "ผลติ ภณั ฑใ์ นชมุ ชน" ทส่ี ามารถ
นำมาสรา้ งรายได้ให้แก่ชมุ ชนและคนภายในชมุ ชนได้

ไขเ่ ค็มไชยา ทเ่ี ปน็ ผลติ ภัณฑใ์ นชมุ ชนของชาวไชยา
จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ทเี่ ปน็ ผลติ ภัณฑ์ทขี่ ้ึนชอ่ื และ
เปน็ ท่รี ู้จักของคนอยา่ งกว้างขวาง ทท่ี ำใหส้ ามารถ
สรา้ งรายไดใ้ ห้แกช่ มุ ชนและคนภายในชมุ ชน
ได้อย่างมากมาย

21

3. คำว่า "หนึง่ ตำบล หน่งึ ผลติ ภณั ฑ"์ ในท่ีน้ีความหมายว่า
อยา่ งไร

คำวา่ "หนงึ่ ตำบล หนง่ึ ผลติ ภณั ฑ"์ มคี วามหมายวา่
ในชมุ ชนหรอื ตำบลน้นั ๆ อาจมสี นิ คา้ ไม่ใชเ่ พียงแค่
ชนดิ เดียว อาจมหี ลากหลายชนดิ ก็ได้ แตพ่ อกลา่ ว
ถงึ หรอื พดู ถงึ ผลงานชิน้ เอก หรอื สินคา้ ยอด
นยิ มก็ควรมหี น่ึงผลติ ภณั ฑต์ อ่ หน่งึ ตำบล

4. คำว่า "ผลติ ภัณฑช์ มุ ชน" ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง คืออะไร

มีความเหมาะสมไมม่ ากไมน่ ้อยจนเกนิ ไป ไดใ้ ชภ้ มู ิ
ปญั ญาใหเ้ กิดการผลติ สนิ ค้าข้ึนภายในชุมชน เปน็
การสร้างรายไดส้ รา้ งอาชพี ใหแ้ กค่ นภายในชมุ ชน
โดยอาศัยองคค์ วามรขู้ องคนในชมุ ชน เพอื่
สร้างผลติ ภณั ฑ์ใหต้ รงกบั ทีต่ ลาดตอ้ งการ

5. ให้นักเรียนบอกถึงประโยชนข์ องการทมี่ ผี ลติ ภัณฑภ์ ายใน
ชมุ ชนวา่ มีอะไรบ้าง

1. สร้างรายได้ใหค้ นภายในชุมชน
2. ไดค้ วามรเู้ กย่ี วกบั ในการใช้ความคดิ ทจ่ี ะผลติ
หรือสร้างสนิ คา้ ใหม้ ขี ้ึนภายในชมุ ชน
3. ให้คนในชมุ ชนได้รจู้ กั การใช้ชวี ิตร่วมกันใน
ชมุ ชน สร้างคณุ ธรรม ใหม้ คี วามซอ่ื สตั ย์
ไวว้ างใจกันภายในชมุ ชน

23

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น

ข้อท่ี เฉลย
1ง
2ก
3ก
4ค
5ข

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น

ข้อท่ี เฉลย
1ค
2ก
3ง
4ก
5ข

24

บรรณานกุ รม

กรมการพฒั นาชมุ ชน สำนักส่งเสรมิ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ และวิสาหกิจชมุ ชน. (2553). คู่มอื การ
ขอเครอ่ื งหมายรบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ของชมุ ชน. กรุงเทพมหานคร.

กรมการพฒั นาชมุ ชน สำนักส่งเสรมิ ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ และวิสาหกิจชุมชน. (2557). หลักสูตร
การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพ กรรมการเครอื ขา่ ย OTOP ประเภทผลติ ภัณฑ.์ กรงุ เทพมหานคร.

วิรยิ ะ บญุ ยะนิวาสน์ และคณะ. (2562). สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ศาสนา
ศลี ธรรม จรยิ ธรรม หนา้ ท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ิตในสงั คมเศรษฐศาสตร์
และภมู ศิ าสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทศั น.์


Click to View FlipBook Version