The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทความวิจัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nartanong.ph61, 2022-05-24 15:14:13

UPCYCLE 4+1

บทความวิจัย

บานหวยแกวอำเภอเถนิจงัหวดัลำปาง

การเพิ่มมูลค,าใบตองตึงเพื่อเป5นต7นแบบ : ชุมชนบ7านหว7 ยแก7ว

ชญาดา ยมฤทธิ์, นาถอนงค3 พลตอื้ , พงษศ3 ธร โพธิมณ,ี มหัทธนะ เวยี งสิมา, สมิตา ศรสี วุ รรณภพ,
อาจารยศ3 ภุ ยาดา ประดิษฐิไ์ วทยากร, อาจารย3อนุธร พลพงษ,3 อาจารยโ3 อม ปนาทกูล,
ผศ.ดร.อวิรุทธ3 เจรญิ ทรัพย3

สาขาวิชาสถาป)ตยกรรม คณะสถาปต) ยกรรมศาสตร4 มหาวทิ ยาลยั รงั สติ

บทคดั ยอP

การจัดทำโครงการเพิ่มมูลค4าใบตองตึงเพื่อเป<นต>นแบบ : ชุมชนบ>านห>วยแก>ว มีวัตถุประสงคJเพื่อศึกษา
และวิเคราะหJศักยภาพของใบตองตึง และหลังคาใบตองตึง เพื่อให>ได>รูปแบบการพัฒนา และต4อยอดภูมิปQญญา
นี้ให>กับชุมชน ในการศึกษาครั้งนี้มีขอบเขตพื้นที่ศึกษาครอบคลุม หมู4บ>านห>วยแก>ว ตำบลนาโปTง อำเภอเถิน
จังหวัดลำปาง จากการลงพื้นที่ศึกษาโดยการสอบถามชาวบ>าน และผู>รู>ในชุมชน ทำให>ทราบถึง ในปQจจุบันภูมิ
ปQญญาของหลังคาใบตองตึงในได>รับความนิยมน>อยลง เนื่องจากตัวแปรหลักคือ ความคงทนของหลังคา
ระยะเวลา 2-3 ปY ส4งผลให>ภูมิปQญญาที่สืบต4อกันมาอย4างยาวนานนั้นอาจเลือนหายไปในอนาคต จึงนำศักยภาพ
ของใบตองตึงที่ร4วงหล4นมาจากต>น และจากหลังคาใบตองตึงที่เสื่อมสภาพ นำมาพัฒนาต4อในกระบวนการ
ทดลอง เพื่อหากระบวนการที่สามารถยืดระยะเวลาการใช>นานให>นาน และคงทนมากขึ้น และเศษที่เหลือจาก
การผลิตหลังคา นำมาพัฒนาต4อเป<นฝ[าและผนังที่ทำจากจากใบตองตึงต4อไป กระบวนการที่พัฒนาและต4อยอด
นั้นมีจุดมุ4งหมายให>ชาวบ>านสามารถทำขึ้นได>เอง โดยไม4พึ่งโรงงานอุตสาหกรรรม ทำให>สามารถสร>างรายได>
สร>างอาชีพ ให>ชุมชนได>ในอานาคต และทำให>หลังคาใบตองตึงนั้นกลับมาได>รับความนิยมอีกครั้ง รวมถึง
สามารถเป<นต>นแบบในการพฒั นาในพ้ืนท่ีอื่นๆไดใ> นตอ4 ไป

คำสำคัญ : ใบตองตึง, ตน> แบบ, เพ่ิมมูลค4า, ภมู ิปญQ ญา

Abstract study, The scope of studies area was covered
Huay Kaew Village, Na Pong Subdistrict,
Conduct a project to Upcycle TongTung Thoen District, Lampang Province, And
leaf as a Prototype: Huay Kaew village. The knowledgeable people in the community
objectives were to study and analyze the made aware that nowadays the wisdom of
potential of Tong Tung leaf and Tong Tung Tong Tung leaf roof is less in demand.
leaf roof to get a development model and Forasmuch the principal variable is: The
extend this wisdom to the community. In this

durability of the roof lasts 2-3 years, resulting ภาคเหนือ โดยเฉพาะปQจจุบันเริ่มมีการใช>หลังคา
in long-standing wisdom that may fade in the ใบตองตึงลดน>อยลง เนื่องจากมีอายุการใช>งาน 2-3 ปY
future. Thus bringing the potential of Tong แล>วเสื่อมสภาพ และต>องมีการเปลี่ยนอยู4ตลอดเวลา
Tung leaf that exfoliates from the tree. And หลังจากเสื่อมสภาพจึงไม4เป<นที่นิยมใช>ในยุคปQจจุบัน
the deteriorating Tong Tung leaf roof. To be แต4ก็ยังคงมีการใช>หลังใบตองตึงในบางพื้นที่สามารถ
further developed in the experimental พบได>ตามเรือนชนบทของจังหวัดลำปาง เชียงใหม4
process to find a method that can prolong และแม4ฮ4องสอน
the time of use for a long time and be more
durable and the remainder from roof จากข>อความที่กล4าวมาข>างต>นนั้นจึงมีความ
production to be further developed into สนใจเกี่ยวกับหลังคาใบตองตึงที่เป<นภูมิปQญญาของ
ceilings and walls made from Tong Tung leaf. ชาวบ>านห>วยแก>ว ตำบลนาโปTง อำเภอเถิน จังหวัด
The development process is purposeful as ลำปาง ที่เป<นวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตที่สืบทอด
the villagers do on their own. Without relying กันมาจากอดีตจนถึงปQจจุบัน จึงทำให>ทราบถึงปQญหา
on industrial factory conduct it is possible to ข>อดี ข>อเสีย ของการใช>งานหลังคาใบตองตึงใน
generate income, Create a career for the รูปแบบปQจจุบันที่มีอายุการใช>งาน 2-3 ปY และเรื่อง
community in the future. And conduct the ราคาของหลังใบตองตึงที่ ขึ้น-ลง แตกต4างกันตาม
Tong Tung leaf roof in demand again. ช4วงเวลาการรับซื้อ จึงต>องการนำใบตองตึงที่ร4วงหล4น
Including becoming a model for deve เองตามธรรมชาติ และหลังคาใบตองตึงที่ถูกใช>งาน
lopment in other areas in the future. จนเสื่อมสภาพแล>วสามารถนำมา Upcycle เพื่อ
พัฒนาเป<นสถาปQตยกรรมต>นแบบให>กับชุมชนบ>าน
Keywords : Tong Tung Leaf, Prototype, ห>วยแก>วในรูปแบบหลังคาใบตองตึงแบบใหม4ที่มี
Upcycle, Wisdom ประสิทธิภาพอายุการใช>งานได>นานกว4าเดิมและ
สามารถทนทานต4อสภาพอากาศในแต4ละภูมิภาค.
บทนำ นอกจากนี้ยังสามารถนำใบตองตึงที่เป<นเศษเหลือใช>
จากการอัดหลังคา หรือหลังคาที่เสื่อมสภาพจากการ
ต>นตองตึง ( ต>นพลวง ชื่อวิทยาศาสตรJ : ใช>งานแล>วสามารถนำกลับมา Upcycle ให>เป<น
Dipterocarpus Tuberculatus ) มีลักษณะเป<นไม> สถาปตQ ยกรรมตน> แบบ ในรูปแบบของ ฝ[า ผนังภายใน
ยืนต>นสูงประมาณ 20–30 เมตร เป<นพันธุJไม>หลักของ และอิฐช4องลม หรือฟาซาด เพื่อเป<นการเพิ่มมูลค4า
ปTาเบญจพรรณแล>ง ปTาเต็งรัง หรือปTาแดง ที่สูงจาก ให>กับวัสดุที่เสื่อมสภาพจากการใช>งาน และยัง
ระดับน้ำทะเล 100-600 เมตร และมีลักษณะใบใหญ4 สามารถช4วยลดปญQ หาท่กี อ4 ให>เกิดไฟปTาจากธรรมชาติ
ไม4มีขน จึงเป<นที่นิยมนำไปทำเป<นหลังคาใบตองตึงใน
อดีตจนถึงปQจจุบัน และใช>แพร4หลายในจังหวัดทาง

วตั ถปุ ระสงค3 1.ข>อมูลทตุ ิยภูมิ ไดแ> ก4

1.เพื่อศึกษาและวิเคราะหJศักยภาพของใบตอง • ศึกษาหาข>อมูลเกี่ยวกับชุมชนบ>านห>วยแก>ว
ตึงในด>านของการนำมาใช>งาน ด>านเศรษฐกิจ และ ตำบลนาโปงT อำเภอเถิน จงั หวดั ลำปาง
ทางด>านกายภาพรวมถึงวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรม
ของคนในชมุ ชนบา> นห>วยแก>ว • ศึกษาหาขอ> มลู เกยี่ วกับใบตองตงึ
• เสน> ทางการคมนาคมขนสง4
2.เพื่อศึกษารูปแบบการใช>งานใบตองตึงท่ี • ประวัติความเปน< มา
สามารถนำมาพัฒนา ฟ•–นฟู และประยุกตJ ใช>ให> • ขนมธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและวิถชี วี ิต
สอดคล>องกับการใช>งานรวมไปถึงวิถีชีวิตและบริบท • จำนวนประชากร
ของสังคมเมอื งทีม่ ีการเปลี่ยนไปตามกาลเวลา • แผนการพฒั นาระบบเศรษฐกิจชมุ ชน

3.เพื่อนำเสนอแนวความคิดและขั้นตอน 2.ขอ> มลู ปฐมภูมิ ได>แก4
กระบวนการทดลองการทำหลังคาใบตองตึงให>มี
ประสิทธิภาพ และเป<นผลิตภัณฑJต>นแบบให>แก4ชุมชน • ลงพนื้ ท่สี ำรวจตน> ตองตงึ และเก็บใบตองตึง
บ>านหว> ยแก>ว • สัมภาษณJข>อมูลเบื้องต>นจากองคJการบริหาร
ส4วนตำบลนาโปTง
4.เพื่อปรับปรุงและนำมาทดลองใช>กับพื้นที่นำ • สัมภาษณJเกี่ยวกับสถานการณJโควิด 19 ที่ส4งผล
ร4อง เพิ่มความต>องการให>สูงมาขึ้น และการพัฒนา กระทบต4อชุมชนบ>านห>วยแก>ว จากนักศึกษาทีม U2T
คุณภาพชีวิตของคนในชุมชนบ>านห>วยแก>วให>มีการใช> มหาวิทยาลยั ราชภัฏลำปาง
งานได>นานขึ้นและอยู4ร4วมกับวิถีชีวิตของคนในชุมชน • สัมภาษณJเกีย่ วกบั ระบบเศรษฐกิจชมุ ชน
สบื ไป • สัมภาษณJคนในชุมชนเกี่ยวกับวัฒนธรรม
ประเพณี วิถีชวี ติ ความเปน< อย4ูในการประกอบอาชพี
ระเบียบวิธวี จิ ัย • สัมภาษณJขั้นตอนการไพรหลังคาใบตองตึงท่ี
เปน< ภูมปิ ญQ ญาดงั้ เดิมของคนในชุมชนที่สบื ทอดกันมา
การศึกษาความสำคัญและปQญหาของหลังคา
ใบตองตึงรวมไปถึงแนวความคิดทฤษฎีต4างๆ ท่ี 3.วิเคราะหJข>อมูล ประมวลผล และสรุปข>อมูลในแต4
เกี่ยวข>อง จึงเป<นการวิจัยเชิงการทดลอง เพื่อศึกษา ละเรอื่ ง ดังน้ี
ประสิทธิภาพอายุการใช>งานของหลังคาใบตองตึงที่
สามารถนำไปพัฒนาในเชิงสถาปQตยกรรมต>นแบบ • ข>อมูลทางด>านประวัติความเป<นมา ขนมธรรม
ให>แก4ชุมชน โดยกำหนดพื้นที่ศึกษาและเนื้อหาของ เนียมประเพณี วัฒนธรรม วิถีชีวิตและระบบ
การศึกษาขั้นตอน วิธีการ และเครื่องมือที่ใช>ใน เศรษฐกจิ ในชมุ ชน
การศกึ ษา
• ปQญญา ข>อดี ข>อเสีย ที่มีผลกระทบเกี่ยวกับ
หลงั คาใบตองตงึ ในรปู แบบเดิมของชุมชน

• ข>อมูลทางด>านสภาพภูมิประเทศ ภูมิทัศนJ
เสน> ทางการคมนาคม และระบบสาธารณปู โภค

ผลการวิจัย 2.ผลการทดลองวัสดุประสาน : กาวยางพารา
ในการพัฒนาวัสดุหลังคาที่ใช>กับสถาปQตยกรรม 2.1 ผลการทดลอง กาวยางพารา ผลิตเป<นวัสดุ

ในชุมชนบ>านห>วยแก>วในเรื่องของใบตองตึงและวัสดุ ต>นแบบ สูตร B
ที่นำมาเป<นตัวประสานจากธรรมชาติ โดยการกำหนด
ความหนาแน4นและศึกษาอัตราส4วนของส4วนผสมท่ี รปู ที่ 2 วิธกี ารทดลองวัสดจุ ากกาวยางพารา
เหมาะสม เพื่อผลิตเป<นวัสดุต>นแบบให>แก4ชุมชนบ>าน
ห>วยแก>ว โดยทำการทดลองอัดด>วยเครื่องไฮดรอลิค ผลการทดลอง สูตร B โดยการใช>กาวยางพารา
และทดสอบคุณสมบัติทางด>านกายภาพ และนำไป เป<นวัสดุประสาน และจากการทำการทดลองนั้น
เปรียบเทียบกับผลิตภัณฑJในท>องตลาดได>ผลการ พบว4ามีความติดทนและแข็งแรงเมื่อนำออกจาก
ทดลอง ดังน้ี เครื่องอัดไฮดรอลิค หลังจากนั้นนำมาทดสอบกับ
1.ผลการทดลองวัสดุประสาน : กาวแป[งมัน สภาพอากาศในเรื่องของการทนแดด ทนฝน และจาก
สัมปะหลงั การทดสอบกับสภาพอากาศ จึงพบว4ากาวยางพารา
น้ันสามารถทนตอ4 ทกุ สภาพอากาศได>ดี
1.1 ผลการทดลองของกาวแป[งมันสำปะหลัง 3.ผลการทดลองวัสดุประสาน : กาวลาเทก็ ซJ
ผลติ เปน< วสั ดุต>นแบบ สูตร A
3.1 ผลการทดลองของกาวลาเท็กซJ ผลิตเป<น
รูปท่ี 1 วธิ ีการทดลองวัสดุจากกาวแป7งมนั สำปะหลงั วัสดุต>นแบบ สตู ร C

ผลการทดลอง สูตร A โดยการใช>กาวแป[งมัน รูปที่ 3 วธิ ีการทดลองวัสดุจากกาวลาเท็กซD
สำปะหลังเป<นวัสดุประสาน และจากการทำการ
ทดลองนั้นพบว4ามีความติดทนเมื่อนำออกจากเครื่อง
อัดไฮดรอลิคเพราะยังมีความร>อนอยู4จึงทำให>ติดกัน
แน4น แต4หลังจากนั้นนำมาทดสอบกับสภาพอากาศใน
เรื่องของการทนแดด ทนฝน และจากการทดสอบกับ
สภาพอากาศ จึงพบว4ากาวแป[งมันสำปะหลังนั้นไม4
สามารถทนฝนได>

ผลการทดลอง สูตร C โดยการใช>กาวลาเท็กซJ มลภาวะของวัสดุระหว4างหลังคาท>องตลาด คือ
เป<นวัสดุประสาน และจากการทำการทดลองนั้น ห ล ั ง ค า Metal sheet seamless : Prestige X-
พบว4ามีความเหลวไม4สามารถทำให>ติดกันได>เมื่อนำ shield : Shingle roof
ออกจากเครื่องอัดไฮดรอลิค หลังจากนั้นนำมา
ทดสอบกับสภาพอากาศในเรื่องของการทนแดด ทน รูปที่ 5 ตารางการเปรยี บเทียบวสั ดุ
ฝน และจากการทดสอบกับสภาพอากาศ จึงพบว4า
กาวลาเท็กซนJ ้นั ไม4สามารถทนฝนได>

สรุปผลการทดลองวัสดุที่นำมาเป<นตัวประสาน
ทั้ง 3 สูตร จากการทดลองนั้นสูตร B มีความแข็งแรง
ทนทาน และสามารถทนแดด ทนฝนได>ดีกว4าสูตร A
และสตู ร C

รูปที่ 4 วัสดุตGนแบบจากการทดลอง ผลการทดลองเปรียบเทียบได> ดังน้ี
ราคาของหลังคาใบตองตึงมีราคาที่ถูกกว4า เมื่อ
เปรยี บเทียบราคากบั สินค`าทอ` งตลาด
ตารางการเปรียบเทียบหลังคาใบตองตึงและ ได>คำนวณปริมาณราคาของกาวยางพารา และขนาด
ของหลังคาใบตองตึงใน 1 ตารางเมตร ที่ใช>มุงหลังคา
หลังคาตามท>องตลาดโดยการนำมาเปรียบเทียบ จากตารางการเปรียบเทียบกับหลังคาในท>องตลาดท้ัง
คุณสมบัติ กระบวนการติดตั้ง น้ำหนัก ราคาและ 3 ชนิด

กระบวนการติดตั้งของหลังคาใบตองตึงและ
ห ล ั ง ค า Metal sheet seamless : Prestige X-
shield : Shingle roof มีกระบวนการติดตั้งท่ี
คล>ายคลึงกัน แต4หลังคา Prestige X-shield มีราคา
ตดิ ต้งั ทมี่ ีคา4 ใชจ> า4 ยสูง

น้ำหนักของวัสดุระหว4างหลังคาใบตองตึงและ
ห ล ั ง ค า Metal sheet seamless : Prestige X-
shield มีน้ำหนักใกล>เคียงกัน แต4ระหว4างหลังคา
ใบตองตึง : Shingle roof หลังคาใบตองตึงมีน้ำหนัก
ทีเ่ บากว4า

มลภาวะของวัสดุหลังคา ใบตองตึง : Shingle
roof หลังคาใบตองตึงเป<นวัสดุทางธรรมชาติที่ย4อย
สลายได> แต4หลังคา Shingle roof เป<นวัสดุท่ีไม4
สามารถยอ4 ยสลายก4อให>เกดิ มลภาวะทางธรรมชาติ

ขอ` สรุปและอภิปรายผล ใช>จริงเพื่อศึกษาอายุการใช>งาน คลอดจนความคุ>มค4า
จากการทดลองการผลิตแผ4นหลังคาจากใบตอง ของวัสดุไปจนถึงต>นทุนในการผลิต และการ
ประสทิ ธภิ าพของเคร่ืองอัดท่ดี ยี งิ่ ข้นึ ไปในอนาคต
ตึงและวัสดุประสานจากธรรมชาติ (กาวยางพารา)
ด>วยวิธีการอัดร>อน (เครื่องอัดไฮโดรลิค) ที่อุณหภูมิ เอกสารอ`างองิ
140 องศาเซลเซียส ได>อัตราส4วนที่เหมาะสม (ใบตอง U2T ตำบลนาโปTง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
ตึง:กาวยางพารา) คือสูตร B พบว4าแผ4นวัสดุที่ทำการ
ทดลองมีความแข็งแรงมากกว4าสูตร AและC แต4ถ>ามี ภูมิปQญญาท>องถิ่นตำบลนาโปTง. (ครั้งที่พิมพJ 1).
ปริมาณใบตองตึงเยอะมากจนเกินตั้งแต4 แผ4นขึ้นไป สถานทพี่ มิ พJ : ลำปางกิจเจริญการพมิ พJ
จะมีแรงการอัดของเครื่องอัดไฮโดรลิคไม4เพียงพอ จะ
ทำให>การขึ้นรูปไม4สมบูรณJ จะทำให>ไม4สามารยึดเกาะ U2T ตำบลนาโปTง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
กันได>และจะเกิดการแยกส4วนประกอบกัน การใช> NAPONG LOCAL HERBS. (ครั้งที่พิมพJ 1). สถานที่
จำนวนแผ4นใบตองตึงมากจนเกินไปจะมีผลต4อการข้ึน พมิ พJ : ลำปางกิจเจริญการพิมพJ
รูปของวสั ดุ
U2T ตำบลนาโปTง มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
จาการทดสอบในครั้งนี้พบว4า มีความเป<นไปได> (พ.ศ.2563). " NAPONG ภูมิปQญญาท>องถิ่นตำบลนา
ว4าหลังคาจากใบตองตึงและวัสดุประสานกาว โปTง " (ค>นวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2565). เข>าถึงได>
ยางพารา สามารถนำไปพัฒนาหรือต4อยอดเป<นวัสดุท่ี จาก https://anyflip.com/ryfvm/uagh
ใช>กับบ>านเรือนในชุมชนได> และควรทดสอบด>าน
ความแข็งแรง ความร>อน ความชื้นและทดสอบ ดร. โสภา วิศิลฏJศักด์ิ ภาควิชานวัตกรรม
คุณสมบัติการดูดซับเสียง เพิ่มเติมเพื่อพัฒนา อาคาร. (พ.ศ.2560). " วัสดุบุผนังภายในอาคารจาก
คุณสมบัติในด>านอื่นๆให>ดีขึ้น เป<นการสร>างมูลค4าเพ่ิม ใบสัก " (ค>นวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2565) เข>าถึงได>
ให>วัสดุที่เหลือใช>เป<นวัสดุทางเลือกเป<นมิตรกับมนุษยJ จาก https://www3.rdi.ku.ac.th/?p=35942
และสงิ่ แวดลอ> ม

ข`อเสนอแนะ
จากผลการศึกษาวัสดุ และนำมาทำการทดลอง

นี้พบว4า แผ4นวัสดุจากใบตองตึงและวัสดุประสานจาก
ธรรมชาติการนำไปใช>งานควรมีโครงสร>างของหลังคา
เป<นตัวหลัก เพื่อเพิ่มความแข็งแรงในการใช>งาน ซึ่ง
ตัวแผ4นวัสดุไม4สามารถรับน้ำหนักได>มาก และหากมี
การศึกษาและวิจัยเพิ่มเติม เกี่ยวกับแผ4นหลังคาจาก
ใบตองตึง ควรศึกษาต4อในด>านการปรับปรุงคุณสมบัติ
เรื่องความแข็งแรงของตัวแผ4น ความร>อน ความชื้น
คุณสมบัติการดูดซับเสียง และเทคนิคการนำวัสดุไป




Click to View FlipBook Version