The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tawanrat2548.2, 2021-09-05 04:12:06

979B6840-98BD-4294-B458-BF6F77B20205

979B6840-98BD-4294-B458-BF6F77B20205

หนงั สือพิมพ จานสิ รวบรวขา วทีน่ า สนใจ 1|10|2021

—วิกฤตไฟปา มหากาฬในออสเตรเลีย——ไฟปา แอลจีเรยี ลามหนัก ครา แลว 65 ศพ รมต.ล่ันมีคนวางเพลิง—————————————

JANIS NEWSPAPER

What are the causes

of forest fires?

[อะไรกนั ที่เปนสาเหตุของไฟปา]

ไฟทีเ่ กิดข้นึ และลกุ ลามไปไดโดยอสิ ระ ปราศจาก
การควบคมุ แลว เผาผลาญเชอ้ื เพลงิ ธรรมชาตใิ น
ปา ไดแ ก ดินอินทรยี  ใบไมแ หง หญา กงิ่ กาน
ไมแ หง ทอนไม ตอไม วัชพืช ไมพ มุ ใบไมส ด
และในระดบั หน่ึงสามารถเผาผลาญตน ไมท ี่ยังมี
ชีวิตอยู เพลงิ จะลกุ ลามกวา งขวางอยางรวดเรว็
เมือ่ มีความแหง แลงและลมแรง [อานตอ หนา 2]

วกิ ฤตไฟปามหากาฬ

ในออสเตรเลีย ระทึก ไฟปา ลามเมืองรีสอรต ตุรกี รอ นจัดทาํ ฝงตะวันตกของสหรฐั เปนทะเล

ไฟปา กลายเปนดรามาในชว งสัปดาหสดุ ทา ยของ นกั ทองเทย่ี ว-ชาวบานหนีตาย เพลงิ จากไฟปา ครง้ั ใหญ

เดือนธันวาคม 2562 และชว งสปั ดาหแ รกของ ไฟปา ใน 2 จงั หวดั ทอ งเทยี่ วของตุรกี ไฟปา ครง้ั ใหญก ําลังโหมกระหน่าํ ทว่ั ฝง

เดือนมกราคม 2563 จากการทีท่ องฟากลางวนั สี ลว งเขาสวู นั ท่ี 5 ประชาชนและนักทอ ง ตะวันตกของสหรฐั ฯ จากคล่ืนความรอน

แดงฉานจากควันไฟปาหนาทบึ ปกคลุมเต็มทองฟา เทย่ี วในหลายหมูบา นตองอพยพ และความแหง แลง ครั้งประวตั ิศาสตรทาํ ให

ผูค นแถบชายฝง ทะเลตะวันออกเฉยี งใตต อ งหนีออก เนอื่ งจากไฟลกุ ลามอยา งรวดเร็วเพราะ พ้นื ท่กี วางใหญของประเทศกลายเปนทะเล

จากบานเรือนของตน และกองทพั เรือออสเตรเลยี ลมแรงและอากาศรอน มผี ูเสียชวี ติ เพลิง เกิดไฟปา ขนาดใหญท่ียังคกุ รนุ อยู

ตอ งใชเรอื อพยพประชาชนและนักทองเทยี่ วกวา 1 แลว 8 ศพ 67 แหงในสหรัฐฯ

พนั คนออกจากพนื้ ท่เี มืองชายฝง Mallacoota [อา นตอหนา 3] [อา นตอหนา 6]

[อา นตอ หนา 5] ไฟปาโคโลราโดรายแรงสดุ ในประวตั ิศาสตร

ไฟปาในรฐั โคโลราโด ของสหรัฐฯเจอกระแสลม สแกนเลย

แรง ลกุ ไหมก นิ อาณาบริเวณกวา 400,000 ไร

แลว รา ยแรงสดุ ในประวตั ศิ าสตร [อานตอหนา 4]

JANIS NEWSPAPER

หนงั สอื พิมพ จานิส รวบรวขาวทน่ี า สนใจ 1|10|2021

หนา 2

What are the causes of forest fires?
[อะไรกนั ทีเ่ ปน สาเหตุของไฟปา ]

เกดิ จากธรรมชาติ สาเหตุจากมนษุ ย

ไฟปาทีเ่ กิดขน้ึ เองตามธรรมชาติเกิดข้ึน ไฟปาทีเ่ กิดในประเทศกาํ ลังพัฒนาในเขต

จากหลายสาเหตุ เชน ฟาผา กิ่งไมเ สียด รอนสวนใหญจะมีสาเหตมุ าจากกิจกรรม

สีกัน ภเู ขาไฟระเบิด กอ นหินกระทบกัน ของมนุษย สําหรบั ประเทศไทยจากการเก็บ

แสงแดดตกกระทบผลึกหิน แสงแดดสอง สถิตไิ ฟปา ตั้งแตป พ.ศ. 2528 – 2542

ผา นหยดนํ้า ปฏกิ ริยาเคมีในดนิ ปา พรุ ซึ่งมีสถติ ไิ ฟปาท้งั ส้ิน 73,630 ครง้ั

การลกุ ไหมใ นตัวเองของสิง่ มีชีวิต 2.1 เกบ็ หาของปา

(Spontaneous Combustion) 2.2 เผาไร

แตสาเหตุทส่ี ําคญั คอื 2.3 แกลง จดุ ชว งเวลาและพื้นที่ทีม่ กั เกดิ ไฟปา
1.1 ฟาผา เปน สาเหตสุ าํ คญั ของการเกิด 2.4 ความประมาท
ไฟปาในเขตอบอนุ ในประเทศ 2.5 ลาสัตว ไฟปาในที่นี้ จะกลาวถึงเฉพาะไฟปา ที่เกิดขึ้นเอง
สหรัฐอเมรกิ า และประเทศแคนาดา 2.6 เลีย้ งปศุสตั ว ตามธรรมชาติ ซงึ่ มักเกิดขน้ึ บรเิ วณทางตอนบน
แบง ออกไดเปน 2 ประเภท คอื 2.7 ความคกึ คะนอง ของประเทศ เชน ภาคเหนือและภาคตะวันออก
- ฟาผาแหง (Dry or Red เฉียงเหนือ โดยจะเกดิ ในชวงระหวา งปลายเดือน
Lightning) คือฟาผาที่เกิดข้นึ ในขณะที่ กุมภาพนั ธถงึ ตน เดือนพฤษภาคม สาํ หรบั ภาคใต
ไมมฝี นตก มักเกิดในชว งฤดูหนาวไป มกั ไดรับผลกระทบจากไฟปาที่เกดิ ขึน้ บรเิ วณเกาะ
จนถงึ เขา ฤดรู อ น สายฟาจะเปนสแี ดง สมุ าตราของประเทศอนิ โดนเี ซีย สาเหตุของการ
ฟา ผา แหง เปน สาเหตสุ าํ คญั ของไฟปา ใน เกดิ ไฟปาจะขึน้ กับสภาพอากาศและสสารท่เี ปน
เขตอบอนุ เชือ้ เพลิงโดยรอบพ้นื ทน่ี นั้ ๆ เปน สาํ คญั

- ฟาผาเปยก (Wet or Blue พนื้ ทีจ่ งั หวัดท่เี ส่ียงภยั ตอการเกดิ ไฟปา
Lightning) คอื ฟาผา ท่เี กดิ ควบคูไปกบั
การเกิดพายุฝนฟา คะนอง เนอื่ งจาก - ภาคเหนอื จ.เชียงใหม จ.เชียงราย จ.ลาํ พูน จ.ลําปาง จ.ตาก จ.แพร จ.สโุ ขทัย จ.พิจิตร
ความช้ืนสัมพัทธแ ละความชน้ื ของเชือ้ จ.เพชรบรู ณ และ จ.พิษณุโลก
- ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ จ.นครราชสมี า จ.ชัยภมู ิ จ.ขอนแกน จ.มหาสารคาม จ.สรุ ินทร
เพลิงสงู ฟาผาในเขตรอ นรวมถึง
ประเทศไทยมกั จะเปนฟาผา เปย ก จึงแทบ และ จ.บรุ ีรัมย
จะไมเ ปน สาเหตขุ องไฟปา ในเขตรอ นน้เี ลย - ภาคกลาง จ.ราชบุรี จ.กาญจนบุรี จ.สพุ รรณบุรี จ.ชัยนาท จ.นครสวรรค จ.อุทัยธานี
1.2 กง่ิ ไมเสยี ดสีกนั อาจเกิดขึ้นไดใน จ.ลพบุรี จ.สระบุรี และ จ.อางทอง
พ้นื ท่ีปา ทม่ี ไี มข ึน้ อยอู ยา งหนาแนนและมี - ภาคตะวันออก จ.นครนายก จ.ปราจนี บรุ ี จ.ฉะเชิงเทรา จ.ชลบรุ ี และ จ.ระยอง
สภาพอากาศแหง จัด เชน ในปาไผห รอื - ภาคใตฝง ตะวันออก จ.เพชรบรุ ี จ.ประจวบคีรขี นั ธ จ.ชมุ พร จ.สรุ าษฎรธานี และ
ปา สน จ.นครศรธี รรมราช
- ภาคใตฝง ตะวันตก จ.พังงา จ.กระบ่ี จ.ตรงั และ จ.สตูล

JANIS NEWSPAPER

หนังสอื พิมพ จานิส รวบรวขา วทน่ี า สนใจ 1|10|2021

หนา 3

ชนดิ ของไฟปา เจาหนาทีด่ บั เพลิงปฏบิ ัติงานไดอ ยางยาก
ลาํ บาก พวกเขาตอ งใชเ ฮลคิ อปเตอรชวย
การแบงชนิดของไฟปา ทไ่ี ดรับการยอมรับและใชก ัน
ดบั เพลิงในจุดท่ีไมส ามารถเขา ถึงไดจาก
มายาวนานน้ัน ถอื เอาการไหมเชอื้ เพลิงในระดบั ตางๆ
ทางพืน้ ดิน
ในแนวดิง่ ตงั้ แตร ะดับชน้ั ดนิ ขนึ้ ไปจนถึงระดับยอดไม สาํ นกั ขา ว เอพี รายงานวา เหตุไฟปา ทงั้ นี้ นาย ฟาหเ รตตนิ โคกา รฐั มนตรี
เปนเกณฑ การแบงชนิดไฟปา ตามเกณฑดงั กลาว หลายสิบจุดใกลรีสอรต ในจังหวดั อัน วา การกระทรวงสาธารณสขุ ของตรุ กี ระบุ
ทําใหแบง ไฟปา ออกเปน 3 ชนิด คอื ไฟใตด นิ ไฟผิว ทัลยและจงั หวดั มลู า ทางตะวนั ตกเฉียง วา มีประชาชนอยางนอย 27 คนทไ่ี ดร ับ
ดนิ และ
ไฟเรอื นยอด ใตของประเทศตรุ กี ลว งเขาสูวนั ท่ี 5 ผลกระทบจากเหตุไฟปา ยงั ตองรักษาตวั
แลว เมอื่ วันอาทติ ยท่ี 1 ส.ค. 2564 ในโรงพยาบาลขณะทีอ่ กี หลายรอ ยคน
1. ไฟใตดนิ (Ground Fire)
1.1 ไฟใตดินสมบูรณแบบ (True Ground โดยเจาหนา ท่พี บศพผเู สียชีวิตเพิม่ เตมิ สามารถออกจากโรงพยาบาลไดแลว
ทใ่ี หยอดลาสุดอยูที่ 8 ศพแลว ขณะที่ สว นนายบาเคยี ร พคั เดมิรล ี รัฐมนตรี
Fire)
1.2 ไฟกง่ึ ผิวดนิ ก่ึงใตด ิน (Semi-Ground Fire) ชาวบานกบั นักทองเท่ยี วตอ งหนตี ายดวย วา การกระทรวงการเกษตรและปา ไม เผย
เรือขนาดเล็ก โดยมเี รอื ของหนว ยยาม วา เหตุไฟปา 117 จดุ ท่ัวประเทศ อยู
2. ไฟผิวดิน (Surface Fire)
3. ไฟเรอื นยอด (Crown Fire) ฝงกบั กองทัพเรอื ลอยลาํ อยใู นทะเล ภายใตการควบคุมแลว เหลอื อีก 8 จุดที่
เพื่อเตรียมพรอ มกรณตี อ งมกี ารอพยพ ยงั ควบคุมไมได เขายังปฏเิ สธขอ กลาวหา
3.1 ไฟเรอื นยอดท่ีตอ งอาศัยไฟผวิ ดินเปนสอ่ื
(Dependent Crown Fire) ครงั้ ใหญบานเรอื นหลายหลงั ในเมอื ง ท่วี ารฐั บาลไมใหก ารสนับสนนุ ทางอากาศ
มาซิคอย ยาเพียงพอ โดยระบุวา รัฐสงเครอ่ื งบนิ 4
3.2 ไฟเรอื นยอดทไี่ มตอ งอาศัยไฟผิวดนิ
ในจังหวดั มลู า ถกู ไฟเผาผลาญไดรับ ลํา, เฮลคิ อปเตอร 17 ลาํ , รถดับเพลงิ
(Running Crown Fire) ความเสียหาย ชาวบา นตอ งอพยพหนี 93 คนั และ เจาหนาทดี่ บั เพลิงเกือบ
ตาย ชาวบา นในหมูบ า น โจเคิรดเม 1,500 นาย ไปรวมตอสกู ับไฟปาใน
ระทึก ไฟปา ลามเมือง
รีสอรตตรุ กี นักทอ งเท่ียว (Cokertme) ซง่ึ อยใู กลกันกต็ อ ง จังหวัดมูลา และมีเคร่ืองบนิ อกี 12 ลํา
อพยพ เน่อื งจากไฟปาลามเขาใกลมาก กบั เฮลิคอปเตอรจํานวนมาก กําลงั รบั มือ
ขึน้ เร่อื ยๆ กอ นที่ไฟจะปกคลุมพื้นทีด่ ัง ไฟปา ทว่ั ประเทศ
- ชาวบา นหนตี าย กลาวในคืนวนั อาทิตย ขณะที่นักขา ว อนง่ึ ปรากฏการณค ล่นื ความรอนกาํ ลงั

ทอ งถ่นิ ระบุวา โรงงานไฟฟาพลังงาน ทาํ ใหเ กิดไฟปา รุนแรงไปทั่วยุโรป แตม ี

ความรอน 2 แหงทอี่ ยไู มไกล กเ็ ส่ยี ง ขา วลอื หนาหูในตุรกวี า ไฟปา บางจดุ อาจ

ไดร บั ผลกระทบจากไฟปา เชน กนั เกิดจากฝมือมนุษย ซงึ่ ทางการตุรกียนื ยัน

ทางการตุรกยี งั ประกาศใหนกั ทอ งเท่ียว วา พวกเขากาํ ลังสืบสวนวามีการวางเพลิง

และชาวบา นในเมอื ง ตูรนุ จ ซง่ึ เปน สว น โดยกลมุ ติดอาวธุ ชาวเคริ ดหรอื ไม สวนผู

หนงึ่ ของเมืองตากอากาศ มารมาริส เช่ยี วชาญเชื่อวา ไฟปา สวนใหญใ นตุรกี

ในจังหวัดมูลา อพยพออกจากพ้นื ท่ี เกดิ จากภาวะโลกรอนผสมกับอุบัตเิ หตุ

เน่ืองจากไฟลกุ ลามอยางรวดเร็วเพราะ ฝมือมนุษย ขณะท่นี ายกรัฐมนตรี เรเจป

กระแสลมแรงและอากาศรอ นจัดจน ไตยปิ เอรโดอนั กลาววา มีไฟปา 1 จดุ

เรม่ิ จากการเลนกันของเดก็ ๆ.

JANIS NEWSPAPER

หนังสือพิมพ จานสิ รวบรวขาวทีน่ าสนใจ 1|10|2021

วิธปี องกนั ไฟปา หนา 4

ชวงเดอื นพฤศจกิ ายน - เมษายน เปน ชว งที่มี ไฟปาโคโลราโดราย
แรงสุดใน
สถิติการเกดิ ไฟปา สูงกวาชว งอนื่ ๆ เนอ่ื งจาก

สภาพอากาศแหง ลมพดั แรง ประกอบกบั

ตน ไมใหญจํานวนมากผลดั ใบ หญาแหง ตาย ประวตั ิศาสตร
โดยสาเหตุหลกั ของการเกดิ ไฟปา สวนใหญเกิด

จากมนุษยจุดไฟ เพื่อหาของปา และลา สัตว เมอื่ วนั ท่ี 16 ต.ค. เวบ็ ไซตขาวเอบีซี รายงาน

รวมถงึ การทาํ ไรเลือ่ นลอย เม่ือเกิดเพลงิ ไหม 1. ดูแลพ้นื ที่รมิ แนวชายปา เก็บกวาดพน้ื ท่ใี ห สถานการณไ ฟปา บรเิ วณภูเขารอ็ คก้ี ในรฐั

จึงเปนเชือ้ เพลิงอยางดีท่ีทาํ ใหไฟลุกลามอยา ง โลง เตยี น มิใหม ีใบไมแหง ก่ิงไมแหง หรือ โคโลราโด วากาํ ลงั สอ เคา รุนแรงที่สุดใน

รวดเรว็ และยากตอการควบคมุ หญาแหง กองสมุ เพราะหากเกดิ ไฟไหมจ ะเปน ประวตั ศิ าสตร หลังจากกระแสลมทีพ่ ัดมาดว ย

โดยเฉพาะพื้นที่ปาไมแ ละภูเขาสงู ประกอบกับ เชอ้ื เพลิง ความเร็ว 113 กโิ ลเมตรตอ ช่วั โมง ทาํ ใหเปลว

ปญ หาหมอกควนั ทีเ่ ปนผลกระทบมาจากไฟปา 2. สรา งแนวกนั ไฟลอ มรอบพนื้ ท่ี เพ่ือสกัดไม ไฟไหมลามอยางรวดเร็ว ทางการประกาศเตือน

สงผลใหป ระชาชนทีอ่ าศยั อยบู ริเวณดังกลา วได ใหไ ฟลกุ ลามไปยังพ้นื ทีอ่ น่ื หมนั่ เก็บกวาดและ ประชาชนอพยพออกจากทีอ่ ยูอาศยั แลว

รบั ความเดอื ดรอน โดยเฉพาะการใชรถใชถนน กําจัดเช้ือเพลิงบนแนวกันไฟ และระวังมใิ ห สํานักงานดบั เพลงิ โคโลราโดเปด เผยวา ไฟปา

จะมีความเสยี่ งตอการเกดิ อุบตั เิ หตสุ งู ขึน้ ดงั ตนไมล ม พาดขวางแนวกนั ไฟ หากเกดิ ไฟไหม "เดอะ คาเมรอน พีค" ทกี่ าํ ลังลกุ ไหมภูเขาฝง

นัน้ เพ่อื ความปลอดภัยขอแนะวิธปี องกันไฟปา ไฟจะลุกลามผา นขา มแนวกันไฟไปได ตะวันตกของฟอรท คอลลนิ ขยายวงรวดเร็ววัน

และการปฏิบตั ติ นอยางปลอดภยั กรณีอาศัยอยู 3. เพ่ิมความระมดั ระวังการจดุ ไฟในปา เปน ละกวา 50,000 ไร กินอาณาบริเวณความเสยี

ในพน้ื ท่ีที่มหี มอกควันปกคลมุ ดังน้ี พิเศษ ไมทง้ิ กนบหุ รล่ี งบนหญา แหง หากกอ หายไปแลว กวา 400,000 ไร อยา งไรกต็ าม

กองไฟหรอื ประกอบอาหารในปา ควรควบคุม ยงั ไมมีรายงานตัวเลขผเู สยี ชวี ติ หรือบาดเจ็บ

ดแู ลอยา งใกลชิด หลงั ใชง านเสรจ็ แลวควรดบั โดยเจาหนา ทด่ี บั เพลิงกวา 500 คน กําลัง

ไฟใหส นิททุกครั้ง เขา ไปควบคมุ แนวไฟปาไมใหล ามเขาเขตชุมชน

4. หลกี เลีย่ งการประกอบกจิ กรรมทีเ่ ปน คาดวา จะมกี ระแสลมแรงตอเนื่องไปจนถึงสดุ

สาเหตุใหเ กดิ ไฟปา เชน เผาขยะหรอื ตอซงั ขา ว สัปดาห เปนอุปสรรคตอการดับไฟปาที่เกดิ ขึน้

บริเวณริมขา งทาง เปน ตน เพราะนอกจากจะมี บนภเู ขา ทางตะวนั ออกของเมอื งฟอรท คอล

โอกาสทีไ่ ฟจะลุกลามเปนไฟปา แลว ยังทําให ลนิ ส เจา หนาท่ีควบคมุ เพลิงไดป ระมาณ 56%.

กรมปาไมช ้แี จงกรณีเพจของกรมปาไมเชญิ ควันไฟปกคลมุ เสน ทาง หากจําเปนตอ งจุดไฟ
ชวนปลูกตนไม 10 ลา นกลาในพื้นทป่ี า หรอื เผาขยะ ควรควบคมุ อยางใกลช ิด จดั
ภาคเหนอื เปนการปลกู ปา ตามหลักวิชาการ เตรยี มถังน้ําหรอื ทรายไวใ กลๆ จะไดด บั ไฟได
และรณรงคใหป ระชาชนมสี วนรว มภายใต ทัน

โครงการ 'ปลูกปาประชาอาสา' เพ่ือฟน ฟู

ปา และเพ่ิมพนื้ ท่สี เี ขียว โดยมไิ ดใ ชง บ

ประมาณปกตสิ ําหรบั การปลกู ปา

JANIS NEWSPAPER

หนงั สือพิมพ จานิส รวบรวขาวทน่ี าสนใจ 1|10|2021

วกิ ฤตไฟปา มหากาฬ ปญ หาของไฟปา ไมไ ดมเี พยี งแคการสูญเสยี หนา 5
พ้นื ที่และบา นเรอื นแตเพียงเทานน้ั จากการ

ในออสเตรเลีย เผาไหมทีเ่ กิดขน้ึ ไดทําใหอณุ หภมู ใิ น
ออสเตรเลียพุงสูงขน้ึ ในชว งเดือนธันวาคม

นานนบั 5 เดือน ที่ ‘ออสเตรเลยี ’ ตองเผชิญ 2562 อุณหภูมเิ ฉล่ยี อยทู ี่ 48.9 องศา

กับวิกฤตการณ ‘ไฟปา’ ทีแ่ ผขยายเปนวง เซลเซียสซึง่ ในวนั ท่รี อ นท่สี ุด คอื วนั ที่ 18

กวาง บานเรอื นมอดไหม ตน ไมนอ ยใหญ ธันวาคม 2562 มอี ณุ หภมู เิ ฉล่ยี ตลอดท้งั วัน แลวถา เปน คาความเขม ขน เฉล่ีย PM2.5 ทัง้

เหลือเพียงซากตอตะโก และท่เี ศรากวาน้ันกับ ที่ 41.9 องศาเซลเซยี ส สวนวันท่ี 8 ประเทศอยทู ่เี ทา ไร?

การสญู เสยี ชวี ติ "มนุษยแ ละสัตวปา " มกราคม 2563 กไ็ มนอ ยหนาเชนกัน หากนบั ตงั้ แตว นั ที่ 20 ธันวาคม 2562 ถึง

‘ออสเตรเลยี ’ เปน ที่รกู นั ดวี า มีผืนปา อุดม อุณหภูมเิ ฉลยี่ อยูที่ 42 องศาเซลเซียส 2 มกราคม 2563 คาความเขมขนเฉลี่ย

สมบรู ณแ ละสัตวป า หายากหลากหลายชนิด เทา นน้ั ยังไมพ อการเผาไหมของไฟปา ยัง PM2.5 ในออสเตรเลีย อยูท ่ี 200.1

บางชนิดไมสามารถพบเห็นไดใ นประเทศอนื่ ๆ ทาํ ใหเ กดิ เขมา ควันลอยคลงุ อยาง µg/m³ ขณะท่ี เมอื งทองเท่ยี วยอดฮิตของ

เรียกไดวา มีที่ ‘ออสเตรเลีย’ ท่เี ดียวแหง ‘แคนเบอรรา’ เมืองหลวงของออสเตรเลยี ที่ ไทยอยา ง ‘ซดิ นีย’ ก็แตะคา ความเขม ขน

เดยี วในโลก แตแลวความสูญเสยี กบ็ งั เกดิ เคยเปน หนึง่ ในเมอื งหลวงทค่ี ณุ ภาพอากาศดี เฉลย่ี 400 µg/m³ มาแลว

เม่อื เปลวไฟไดเ รม่ิ ตน ขน้ึ ณ รัฐนิวเซาทเวลส ทส่ี ุดมาโดยตลอด ในวันนีก้ ลับตดิ 1 ใน 10 อีกหน่งึ ความเสียหายท่เี ปน ความสญู เสียครัง้

จากวันนั้นจนมาถงึ วนั นี้ ไฟปาความสูง 70 อันดบั เมอื งหลกั ทมี่ คี ุณภาพอากาศย่ําแยท ่สี ุด ใหญจากวิกฤตการณไ ฟปา ในออสเตรเลยี

เมตร (ซดิ นยี  โอเปรา เฮาส สูง 67 เมตร) แยย ่งิ กวาเมอื งนิวเดลขี องอินเดยี แยย่งิ กวา ครัง้ น้ี คอื ชีวติ ของชาวออสซแ่ี ละสตั วป า

ไดเผาผลาญกินพ้ืนท่ีมากกวา 6 รฐั เมืองธากาของบังกลาเทศ และแยย่งิ กวา หลากหลายชนิด โดย ณ ขณะนี้ (7 ม.ค.

(นวิ เซาทเวลส, วิคตอเรีย, ควนี สแลนด, เซา เมอื งลาฮอรของปากสี ถาน โดยวนั ทเ่ี มือง 63) มีชาวออสซเี่ สียชีวิตแลวอยางนอย 25

ทอ อสเตรเลีย, เวสิ เทริ น ออสเตรเลยี และทสั แคนเบอรรามีคณุ ภาพอากาศยา่ํ แยท ี่สุด คือ ราย และสัตวปาหรอื สตั วตามธรรมชาติ ที่

มาเนีย) รวมกันแลว ขนาดมากถงึ 8.4 ลา น วนั ท่ี 1 มกราคม 2563 เปดทศวรรษใหม เปนสัตวเลยี้ งลูกดว ยนม สตั วป ก และสตั ว

เฮกตาร หรือราว 84,000 ตารางกโิ ลเมตร ดวยคาความเขม ขน เฉลีย่ PM2.5 ที่ เล้อื ยคลาน (ยกเวน แมลง คา งคาว และกบ)

หากเทียบกบั ประเทศใดประเทศหนึ่งบนโลก ก็ 855.6 µg/m³ สูงเกินคา มาตรฐาน ตายแลวกวา 500 ลานตวั ในจํานวนนี้มี ‘โค

ตองบอกวา ไฟปา ในออสเตรเลยี มีขนาดใหญ องคก ารอนามัยโลก (WHO) มากเกินกวา อาลา ’ เกือบ 8,000 ตัว คดิ เปน สัดสว น 1

กวา ‘ศรีลงั กา’ ซะอกี (ขนาด 65,610 34 คร้งั และถูกจดั ใหอ ยูร ะดบั เปนอนั ตราย ใน 3 ของประชากรโคอาลาในรฐั

ตารางกโิ ลเมตร) ขณะท่ี การคาดการณของ ตอ สุขภาพอยางรา ยแรง (Hazardous นวิ เซาทเวลส

นกั วิชาการดานสง่ิ แวดลอมในตางประเทศ Levels) ทง้ั นีท้ งั้ น้ันมีการคาดการณจากนกั วิชาการดาน

มองวา ระยะเวลาตงั้ แตเ ดอื นกันยายน 2562 สิ่งแวดลอมแหง มหาวทิ ยาลัยซิดนยี ว า ไฟปา

มาจนถึง 7 มกราคม 2563 ไฟปานา จะเผา ในครั้งน้อี าจสรา งความเสียหายและคราชีวติ

ผลาญไปแลว มากกวา 163,169 ตาราง สัตวปามากถงึ 1 พันลานตวั
กิโลเมตร จนทําใหประชนตอ งสละท้ิงบา น
‘ภาวะการสูญพันธ’ุ หรอื ทเ่ี รยี ก

เรือนตนเองและอพยพออกจากพน้ื ทนี่ ับพัน กันวา The Sixth Mass
ราย Extinction

JANIS NEWSPAPER

หนังสอื พมิ พ จานิส รวบรวขา วทีน่ าสนใจ 1|10|2021

หนา 6

นักวทิ ยช ี้วิกฤตอิ ากาศโลก อุณหภูมพิ ุงสงู ถึง 45 องศาเซลเซยี ส จนเกิดไฟปา ในชวงไมก ว่ี ันที่ผา นมา ทั้งนี้
คณะกรรมการระหวา งรฐั บาลวาดว ยการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (IPCC)

ทั้งคล่ืนความรอ นและไฟปา ไดเผยแพรรายงานเมื่อ 9 ส.ค. โดยชี้วา กิจกรรมของมนุษยเ ปนสาเหตขุ องการ
เปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศของโลกอยา งรวดเรว็ ท่ีไมเ คยเกิดข้นึ ในหลายพัน

เกิดจากมนษุ ย หรือหลายแสนป ภายใน 20 ป อณุ หภมู จิ ะสูงข้ึนเกิน 1.5 องศาเซลเซียส
เหนือระดบั กอ นยคุ อุตสาหกรรม เกดิ สภาพอากาศรุนแรงทัง้ ระดับน้ําทะเลท่สี งู ขึ้น

สถานการณไ ฟปารนุ แรงกําลงั โหมกระหน่าํ ท่วั อเมรกิ าเหนอื นา้ํ แข็งขว้ั โลกและธารนา้ํ แขง็ ละลาย คลื่นความรอน นํา้ ทวม และภัยแลง

และยุโรป เนื่องจากอณุ หภูมิสูงทแ่ี ผดเผาและสภาพอากาศท่ี มีเพยี งการลดกา ซเรอื นกระจกอยา งเรงดวนและจรงิ จงั ในทศวรรษน้ีเพื่อปองกัน

แหงแลงเปน เช้อื เพลิงอยางดใี หเกิดไฟปา ครั้งใหญที่สุดใน วกิ ฤติดงั กลา วได

รอบเกือบทศวรรษ ทําลายชวี ิตและทรัพยส ิน บางสว นของ ดานบอรสิ จอหนสัน นายกรัฐมนตรอี ังกฤษ เจาภาพการประชมุ สุดยอดดา น

ยุโรปเผชญิ กับคล่ืนความรอนรุนแรง ในขณะที่อากาศรอ นจัด สภาพภูมอิ ากาศของ ยเู อน็ ในเดือน พ.ย.ท่กี ลาสโกว เผยวา ตนหวงั วา รายงานน้ี

และลมกระโชกแรงทาํ ใหเกิดไฟปา ครงั้ ใหญใ น จะปลกุ ใหท กุ คนต่นื ตัวกอ นที่จะพบกนั เพอ่ื ชวยกนั ลดปญหาโลกรอน.

ประวตั ิศาสตรในรัฐแคลฟิ อรเ นียของสหรฐั ฯ ซง่ึ เปน เพียง

หนึง่ ในไฟไหมขนาดใหญ 107 แหง ท่ลี กุ ไหมใ น 14 รฐั ทั้งน้ี นกั วิทยาศาสตรร ะบุวาภัยแลง ครั้ง

เมือ่ 8 ส.ค.ไฟปา ดิกซขี นาดมหึมาที่ลุกไหมต อนเหนือของ ใหญท ่ีมีความรุนแรงมากขนึ้ เกดิ จากวกิ ฤติ

รัฐแคลฟิ อรเ นยี มาตัง้ แต 13 ก.ค. ยังคงลกุ ลามขยายพืน้ ท่ี ของการเปล่ียนแปลง สภาพภมู ิอากาศทมี่ ี

เผาผลาญในชั่วขามคนื จนกลายเปน ไฟปา ขนาดใหญอ นั ดบั สว นทําใหเ กิดไฟปาบอ ยมากข้ึน ตงั้ แต 1

2 ในประวัตศิ าสตรของรัฐ ยงั เปนไฟปาที่ยงั ลกุ ไหมลกู ใหญ ม.ค.-13 ก.ค. เกดิ เพลิงไหม 33,953

ท่ีสดุ ในสหรัฐฯ แตเ ปน เพียงหน่งึ ใน 11 ไฟปาท่ีเกดิ ขึ้นในรฐั รอ นจัดทําฝง ตะวันตกของ คร้งั เทยี บกับ 27,770 ครั้งในชว งเวลา
แคลิฟอรเ นยี ทาํ ลายพ้นื ที่ไปแลว กวา 1,875 ตร.กม. เดียวกันของปก อน และยงั เปน อนั ตรายมาก
ครอบคลุมพ้นื ท่ใี หญกวาลอสแอนเจลิส มีขนาดประมาณ สหรัฐเปน ทะเลเพลิงจาก ยงิ่ ขนึ้ นอกจากนี้ กรมอุตุนิยมวทิ ยาแหง

เกาะเมาอิในฮาวาย ซ่งึ นกั ผจญเพลงิ สามารถควบคมุ ไฟไว ไฟปา คร้งั ใหญ ชาติของสหรฐั ฯ ยังระบอุ กี วาคล่ืนความรอ น

ไดเ พียง 21% และมกี ารประเมินวาจะไมส ามารถดับไฟได ลกุ ลามเผาไหมพ ้นื ที่ปาและพุม ไม ในฝงตะวนั ตกยงั คงมอี ยอู ยา งตอเนอื่ ง และ

กอนวันท่ี 20 ส.ค. วนั เดยี วกันสถานการณไ ฟปาบนเกาะเอ อยางนอย 10 รัฐ โดยมีบานเรอื น จะทาํ ใหม อี ุณหภมู สิ งู เปนประวตั ิการณใ น

เวีย เกาะขนาดใหญอ นั ดับ 2 ของกรีซ ยังรุนแรง ประชาชน จาํ นวนหนง่ึ ถกู ไฟไหมแ ละ บางพน้ื ท่ีของรฐั แคลฟิ อรเนียและเนวาดา

กวา 2,000 คน ตองอพยพออกจากเกาะ โดยผปู ระสบภยั ประชาชนอกี หลายพันคนตอ ง โดยคาดวา คลน่ื ความรอ นจะส้นิ สดุ ลงในชว ง

รายหน่งึ ระบวุ า ภาพตรงหนานา สะพรงึ เหมือนวันส้นิ โลกใน อพยพออกจากพนื้ ท่ีเสยี่ งภยั โดย ตนสัปดาหห นา

ภาพยนตร ขณะท่นี กั ผจญเพลิงตอ งตอ สูอยางหนักเพ่ือ ไฟปาที่ใหญท ่ีสุดเกดิ ข้ึนในรฐั โอเร ผูจดั ทาํ
ควบคุมไฟ โดยมฝี รงั่ เศส เยอรมนี องั กฤษ อียปิ ต สเปน กอน กนิ พืน้ ทเี่ กือบ 2 เทา ของ นายพงศชนก จันทรอาํ พร ม.5/1 เลขที่ 4
และสวติ เซอรแ ลนด สงความชว ยเหลือใหก รซี ขณะที่ในภูมิ เมอื งพอรต แลนด โดยมีเจาหนา ที่
ภาคเพโลพอนนีส ทตี่ ้ังของเมืองโบราณโอลมิ เปย เร่มิ ดับเพลิงและเจาหนา ทสี่ นบั สนนุ นายธนทั บรรณจริ กุล ม.5/1 เลขท่ี 5
ควบคมุ ไฟได เชน เดียวกับในตอนเหนือของเอเธนส ไมน าน มากกวา 14,200 คน กาํ ลงั ตอ สู นายธรี ภัทร สขุ ใจ ม.5/1 เลขท่ี17
นายปาณัส วงศประเสริฐ ม.5/1 เลขที่32
มาน้กี รซี ประสบกบั คลืน่ ความรอ นรุนแรงสุดในรอบ 30 ป ไฟปา เมอื่ 13 ก.ค.

JANIS NEWSPAPER


Click to View FlipBook Version