The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บ้านพะโท ต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

บ้านพะโท ต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

บ้านพะโท ต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ

บา้ นพะโท

ดินแดนแห่งความอุดมสมบรู ณ์
ด้วยวิถีวฒั นธรรมปกาเกอญอ

โดย สานกั งานวฒั นธรรมจงั หวัดแม่ฮ่องสอน
ข้อมูลโดย นางสาวเวธกา วรรธวริฐ นักวิชาการวฒั นธรรมชานาญการ

บ้านพะโท

ก่อตัง้ เม่ือประมาณ ๑๗๐ ปี หมู่ท่ี ๓

ตาบลแม่กิ๊ อาเภอขนุ ยวม จังหวัดแมฮ่ ่องสอน

สภาพแวดล้อมโดยทั่วไป มีภูเขาล้อมรอบ
และมที วิ ทัศนส์ วยงาม

เป็นหมู่บ้านแรกถัดจากชายแดนท่ีมีเขต
ติดต่อกับ บ้านกลาง บ้านน้ามาง รัฐคะยา
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ในช่องทาง
ธรรมชาติ ระยะทางประมาณ ๑๐ กโิ ลเมตร

โดยปจั จบุ นั มนี ายจรญั ก่อนนันทนานนท์
เปน็ ผู้ใหญ่บา้ น

บา้ นพะโท

อาเภอขนุ ยวม จงั หวดั แม่ฮ่องสอน

ส่วนที่ ๒ ข้อมูลท่ัวไปของหมบู่ ้าน

จานวนประชากร จานวน ๑๒๘ คน เป็นกล่มุ ชาตพิ นั ธป์ุ กาเกอญอทงั้ หมด

จานวนหลังคาเรอื น - ชาย ๖๘ คน ข้อมลู ณ วนั ที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๖๕
- หญงิ ๖๐ คน

๓๑ หลังคาเรอื น

อาณาเขต บา้ นพะโท ต้งั อยู่ในตาบลแมก่ ิ๊ อาเภอขุนยวม จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ห่างจากอาเภอขนุ ยวม
ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ ๔๖ กิโลเมตร หา่ งจากจังหวัดแมฮ่ ่องสอน ไปทางทิศเหนอื

ประมาณ ๑๐๖ กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อ ดงั นี้

ทศิ เหนอื ติดตอ่ กบั บ้านหว้ ยต้นนุ่น ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกับ สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมียนมา

ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกบั บา้ นหว้ ยโปงเลา ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับ บ้านแมก่ ิ๊ และบา้ นห้วยส้าน

ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ เปน็ ภเู ขาสลบั ซับซ้อนอย่ใู นประเภทป่าดิบชนื้ ปา่ ดงดบิ เขา

และปา่ เบญจพรรณ มปี า่ ไมอ้ ดุ มสมบรู ณไ์ ปด้วยทรพั ยากรธรรมชาติ
ทีง่ ดงาม

การสาธารณปู โภค - ใช้พลงั งานแสงอาทิตย์ ไม่มีไฟฟ้าใช้ เน่ืองจากพนื้ ท่ชี ุมชนเปน็
เขตป่าสงวนแห่งชาตแิ ละเขตอนุรักษ์พันธสุ์ ัตว์ปา่ ดอยเวยี งหล้า
- มีนา้ ประปาภเู ขา

การคมนาคม

เ ส้ น ท า ง ถ น น ร ะ ห ว่ า ง จั ง ห วั ด แ ม่ ฮ่ อ ง ส อ น กั บ
บ้านพะโท มีทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๑๐๘ และจาก
ปากทางบ้านแม่ก๊ิ ถึง บ้านพะโท เป็นทางของ รพช.และ
ลูกรังตัดผ่านพ้ืนที่ป่าไม้ทิวเขา และภูเขา เป็นเส้นทางข้ึน
เขา - ลงเขา ท่ีมีความคดโค้งและลาดชัน มีทางโค้งต่อเน่ือง
เปน็ ระยะ ถนนแคบถนนบางช่วงเป็นลาหว้ ย

ภมู ิปญั ญา

๑. การทอผา้
๒. เครื่องจกั สานจากไม้ไผ่
๓. การตีโลหะ เชน่ มีด เคร่อื งมอื เคร่อื งใชท้ างการเกษตร

และเคร่ืองใชใ้ นครวั เรอื น
๔. การใชส้ มุนไพรรักษาโรค

การศึกษา เด็กและเยาวชนส่วนใหญ่ ศึกษาระดับปฐมวยั และประถมศกึ ษาท่ี

โรงเรียนบา้ นห้วยส้าน และศกึ ษาตอ่ ในระดบั มธั ยมศกึ ษาทโ่ี รงเรียนในอาเภอ
หรือต่างพื้นที่ตามโอกาส โดย ในชุมชนมีศูนย์การเรียนรู้ชุมชนบ้านพะโท เป็นศูนย์กลาง
รวบรวมข้อมูลข่าวสารความรู้ของชุมชนที่จะนาไปสู่การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้สาหรับ
ประชาชน

การสาธารณสขุ มโี รงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลแม่ก๊ิ

ห่างจาก บ้านพะโท ๑๕ กิโลเมตร

ปฏิทินวิถีชมุ ชนบา้ นพะโท

มกราคม กจิ กรรม อาหาร พืชเศรษฐกจิ
กุมภาพันธ์
- ประเพณหี นี่ซอโค่ - เผือก มนั มะเขือ - กล้วย
- จดั การขา้ วในธนาคารขา้ ว ฟักทอง จากไรห่ มนุ เวยี น ฯลฯ - มะละกอ
- ท้าฝายชะลอนา้ ดแู ลป่าต้นน้า
- วางแผนแจกแจงพืนท่ีทา้ ไร่หมุนเวียน (ฉ่า ดู - เขียด กุ้ง ปู ปลา ลกู ออ๊ ด - หมาก
หล่า) จากลา้ หว้ ย - กลว้ ย
- ผกั กูด มะเขอื พวง ฯลฯ
- เริ่มฤดกู าลไรห่ มนุ เวียน
(เตรียมพืนท่ี)

มีนาคม - ตากไร่ - เกบ็ น้าผึงป่า - กลว้ ย
เมษายน - ท้าแนวกนั ไฟของหมู่บ้าน/ตา้ บล/เขตพืนท่ี
ตะเข็บชายแดน - หนอ่ ไม้ ต้าลงึ หนอ่ คาหาน หนอ่ - กล้วย
หวาย ตาว
- เผาไร่ ตามนโยบายภาครัฐ - น้าผงึ ป่า แลน
- หยอดเมลด็ ขา้ วโพด ฟักทอง ปลกู เผือก มัน
ฯลฯ ในไร่ข้าว
- ปลกู กล้วย

กจิ กรรม อาหาร พชื เศรษฐกิจ

พฤษภาคม - หยอดข้าวไร่ พรอ้ มเมล็ดพนั ธพ์ุ ริก แตง มะเขือ - ไกป่ า่ หนูพกุ อ้น หนูนา แลน - กลว้ ย
มิถุนายน ฯลฯ - หน่อไม้ ฟกั ทอง ผกั กดู
กรกฎาคม - ปลกู งา มะเขอื พวง ตาลึง ยอดฟกั ข้าว ลิน้ จ่ี - กลว้ ย
สิงหาคม - เตรยี มพ้ืนที่ทานา หวา่ นกล้า ปา่ สม้ จ๊ีดปา่ ฯลฯ
- กาจดั วชั พชื ในไร่หมุนเวียน - กล้วย
- ปลกู บกุ ,ข้าวโพด - ไกป่ า่ หนพู ุก อ้น
- บวบ กระเจ๊ียบเขียว ผักกาด - กลว้ ย
- ดานา ผักอหิ ลืน ใบแมงลัก ขา้ วสาลี มะระ - มะตึ่ง (ลกู เนียง)
หน่อไม้ ผักกูด เพกา - ผักอหิ ลืน มะนอยต๊อบ พรกิ
- กาจัดวัชพืชในไร่หมนุ เวียน/นา เหด็ ปลวก เห็ดโคนฯลฯ

- ไกป่ ่า หนูพกุ อ้น
- บวบ กระเจ๊ียบเขียว ผักกาด
ผักอหิ ลนื ใบแมงลกั ขา้ วสาลี มะระ
หน่อไม้ ผกั กดู เพกา
เห็ดปลวก เห็ดโคนฯลฯ

- ไกป่ ่า หนูพุก อ้น
- แตง แตงไทย หนอ่ ไม้
มะนอยต๊อบ ถ่ัวฟกั ยาว
ยอดฟกั ทอง เหด็ ปลวก เห็ดโคน
ตัวอ่อนต่อ

กิจกรรม อาหาร พชื เศรษฐกิจ

- ดูแลไร่,นา - ไกป่ า่ หนพู กุ อ้น - ผกั อิหลืน
- หน่อหวาย หน่อตาว - เงาะ
กันยายน หน่อคาหาน หน่อไม้ ฯลฯ - ลิ้นจี่
ตุลาคม ดว้ งไมไ้ ผ่ ตวั ออ่ นตอ่ - อโวคาโด
- กล้วย

- เตรยี มอุปกรณส์ าหรบั เกีย่ วขา้ วตากขา้ ว ดว้ ยวัสดใุ น - เผือก มนั มนั สาปะหลัง แตง มะเขือ - กลว้ ย
ชมุ ชน(ไมไ้ ผ่) ฟักทอง ฟักเขียว ดอกตา้ ง ผักแว่น ฯลฯ - ผกั อิหลืน ผักกาด กระเจียบเขียว พริก
-วนั พระแม่มารี/รวมกลมุ่ อธษิ ฐานขอพร สวดมนต์ - หมปู ่า ด้วงไมไ้ ผ่ - เงาะ
ตามบา้ นในชุมชน - ลน้ิ จี่
- อโวคาโด

- เกยี่ วขา้ ว - เผือก มนั มันสาปะหลงั แตง มะเขอื - ถัว่ แดง
ฟกั ทอง ฟกั เขยี ว ดอกตา้ ง ผกั แว่น ฯลฯ - กาแฟ
พฤศจกิ ายน - หมปู า่ ด้วงไม้ไผ่ - มะพรา้ ว
- กลว้ ย

ธนั วาคม - ตขี ้าว เก็บข้าวจากไร่เข้า ยุ้งฉาง - ถั่วพู ถว่ั แปบ ผักกูด บอน - งา
- เทศกาลครติ สมาส ใบชะพลู ฟกั ทอง ฟกั เขียว - บกุ
ออ้ ย ฯลฯ - ข้าวโพด
- ใบพลู
- กลว้ ย

การบริหารจัดการทรพั ยากรนา – ป่า วิถีพะโท

ความเช่อื ธรรมนูญชุมชน

1. ห้ามตัดไม้บริเวณป่าต้นน้า บริเวณท่ีมีน้า ๑. ทกุ ครวั เรอื นในชุมชนต้องช่วยกันทาฝายชะลอน้า
ออกจากผิวดิน บริเวณป่าจิตวิญญาน และบารงุ ป่าต้นนา้ ประจาปี/เกบ็ เงนิ ครอบครัวและ ๕๐ บาท
๒. ไมท่ าไร่ ๒ ฝัง่ นา้ เพอ่ื เปน็ กองทุนบารุงรกั ษานา้ ป่าของชุมชน
๓. ไมท่ าไรค่ รอบภูเขา ๒. กาหนดพน้ื ที่บวชป่า – บวชนา้ – บวชปลา
๔. ห้ามลา่ ชะนี นกกก ๓. หา้ มบกุ รุกป่าตน้ น้า/การตัดไม้สรา้ งบ้านต้องแจ้งผ้นู าชมุ ชน
ความกวา้ งหน้าไม้ ตอ้ งไม่เกนิ หน้า ๑๒
๔. ห้ามตัดไม้เพอ่ื จาหนา่ ย
๕. หา้ มชอ๊ ตปลา /หา้ มใชส้ ารเคม/ี หา้ มหาปลาฤดูวางไข่
๖. ไม่ขยายพ้ืนท่ีทากนิ

แมฮ่ ่องสอนโมเดล : ตน้ แบบการบริหารจดั การพนื้ ทท่ี คี่ นสามารถอยู่ร่วมกับป่ าได้อย่างย่งั ยนื

การจัดการข้อมลู มรดกภูมิปัญญาวฒั นธรรมกลุ่มชาติพันธ์ุ
โดยสานกั งานวัฒนธรรมจงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ปี ๒๕๖๕

1. สนบั สนนุ กจิ กรรมสง่ เสริมประเพณีวฒั นธรรมท้องถ่ิน : ประเพณโี นกตะ ตู
ระหว่างวนั ที่ ๒๐ - ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔
ณ บา้ นละอบู หมู่ท่ี ๖ ตา้ บลหว้ ยห้อม อา้ เภอแมล่ านอ้ ย จังหวดั แมฮ่ ่องสอน

๒. การลงพืนท่ศี ึกษาและสา้ รวจชมุ ชนต้นแบบ การขับเคลอ่ื นพนื ทเ่ี ขต
คุ้มครองวถิ ีชีวิตกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน
วนั ท่ี ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๖๔ ณ บ้านพะโท หมู่ท่ี ๓ ต้าบลแม่กิ๊
อ้าเภอขุนยวม จังหวดั แม่ฮ่องสอน

การจัดการขอ้ มลู มรดกภูมิปญั ญาวัฒนธรรมกลมุ่ ชาติพันธโ์ุ ดยสานกั งานวัฒนธรรม
จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน ปี ๒๕๖๕

๓. สนบั สนุนงานประเพณี ลา้ งพระพกั ตร์ “พระเจา้ พาราละแข่ง”
ระหวา่ งวันที่ ๑๕ - ๑๖ มีนาคม ๒๕๖๕ ณ วดั หัวเวียง ต้าบลจองคา้
อ้าเภอเมอื งแมฮ่ อ่ งสอน จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

๔. สนับสนุนกจิ กรรมสรงนา้ พระพุทธนิโรคนั ตรายจตรุ ทศิ ประชานาถ
ในวันท่ี ๑๙ มนี าคม ๒๕๖๕
ณ บ้านละอูบ ตา้ บลห้วยหอ้ ม อ้าเภอแมล่ าน้อย จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน

การจัดการขอ้ มลู มรดกภูมิปัญญาวัฒนธรรมกลมุ่ ชาติพนั ธโ์ุ ดยสานกั งานวัฒนธรรม
จังหวัดแม่ฮ่องสอน ปี ๒๕๖๕

๕. การลงพืนที่จัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดท้าแผนบริหารจัดการเขตพืนท่ี
คุ้มครอง วิถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์และธรรมนูญหมู่บ้าน วันที่ ๒๐ มีนาคม
๒๕๖๕ ณ บ้านพะโท หมู่ที่ ๓ ต้าบลแม่กิ๊ อ้าเภอขุนยวม จังหวัด
แมฮ่ ่องสอน

๖. จัดแสดงและจา้ หนา่ ยผลติ ภณั ฑท์ างวฒั นธรรม ของกลุ่มชาตพิ ันธ์ุ
จงั หวัดแม่ฮ่องสอน ในงาน “เทศกาลชิมขา้ วเหนยี วมะม่วง”
Summer in the River : Let’s eat Mango Sticky Rice ระหว่าง
วนั ท่ี ๓๐ เมษายน - ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕

การจดั การข้อมลู มรดกภมู ิปญั ญาวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธ์ุโดยสานักงานวัฒนธรรม
จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน ปี ๒๕๖๕

๗. ลงพืนท่ีจดั ประชุมเชิงปฏิบัติการจดั เก็บข้อมูลและท้าแผนท่ีเดินดิน ภายใต้โครงการ ๘.ส่งเสรมิ การสืบสานไร่ ณ บา้ นพะโท หมทู่ ่ี ๓ ตา้ บลแม่กิ๊

ฟ้ืนฟูวิถีชีวิต กลุ่มชาติพันธ์ุกะเหร่ียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประจ้าปี พ.ศ. 2565 วัน
พฤหัสบดีท่ี ๕ พฤษภาคม 2565 ณ บา้ นพะโท หมู่ที่ ๓ ต้าบลแม่กิ๊ อา้ เภอขุนยวม

การจัดการข้อมลู มรดกภูมิปัญญาวฒั นธรรมกลุ่มชาติพนั ธโ์ุ ดยสานกั งานวัฒนธรรม
จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ปี ๒๕๖๕

๙. กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการการถ่ายทอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
การจักสาน จ๊อกือ (กุบแมงดา) ในวันเสาร์ ที่ ๔ มิถุนายน 2565 ณ บ้านพอนอคี
ตา้ บลห้วยโป่ง อ้าเภอเมืองแมฮ่ อ่ งสอน จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน

๑๐. รว่ มเวทเี สวนา ในรายการฟังเสยี งประชาชน ประเดน็ อนาคต (ร่าง) พระราชบัญญตั ิ
คุ้มครองและสง่ เสรมิ วถิ ชี ีวิตกลุ่มชาติพันธ์ุ กบั การท่องเท่ยี วชนเผา่ พนื เมือง จังหวดั
แมฮ่ อ่ งสอน โดย ส้านักส่ือสารสาธารณะ Thai PBS ภาคเหนือ ในวนั อังคารท่ี ๒๑
มิถุนายน ๒๕๖๕ ณ บา้ นละอูบ ตา้ บลห้วยหอ้ ม อา้ เภอแม่ลาน้อย จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน

การจัดการข้อมลู มรดกภมู ิปญั ญาวฒั นธรรมกล่มุ ชาติพนั ธ์โุ ดยสานักงานวัฒนธรรม
จังหวัดแม่ฮ่องสอน ปี ๒๕๖๕

๑๑. ผลิตส่ือประชาสัมพันธ์ การ์ตูนคาแรกเตอร์
กลมุ่ ชาตพิ ันธุ์ จังหวดั แมฮ่ ่องสอน จานวน ๑๓ ตัว

๑๒. จัดทาส่อื ประชาสัมพนั ธ์ส่งเสรมิ
การทอ่ งเท่ียวเพมิ่ มูลคา่ วิถี
วฒั นธรรมชาตพิ นั ธ์ุ “ละว้า”

การจัดการขอ้ มูลมรดกภมู ิปัญญาวฒั นธรรมกลุม่ ชาติพนั ธโ์ุ ดยสานกั งานวัฒนธรรม
จงั หวดั แม่ฮ่องสอน ปี ๒๕๖๕

๑๓. จดั ทาสอื่ ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์
เพื่อยกระดับต้นทุนทางวัฒนธรรม soft power
ของกลุ่มชาติพันธุ์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕

๑๔. สนบั สนุนการสืบสานประเพณีดีกู่ (ปอยขา้ วต้ม)
ของกลุ่มชาตพิ นั ธุ์กะแย(กะเหร่ียงแดง)
ในวนั ท่ี ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๖๕ ณ บ้านในสอย
ตาบลปางหมู อาเภอเมืองแม่ฮอ่ งสอน จงั หวัดแม่ฮ่องสอน

การจัดการข้อมูลมรดกภูมิปัญญาวฒั นธรรมกลุม่ ชาติพันธ์โุ ดยสานักงานวัฒนธรรม
จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ปี ๒๕๖๕

๑๕. กจิ กรรม ลานวฒั นธรรมกล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุกะเหรย่ี ง Pgaz k'nyau av lu av laj
ในวนั อาทติ ย์ท่ี ๑๘ กนั ยายน ๒๕๖๕

ณ ศาลาเอนกประสงคบ์ า้ นเปยี งหลวง ตาบลแม่ก๊ิ อาเภอขนุ ยวม จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน

การวิเคราะหศ์ ักยภาพชมุ ชนพะโท ด้วย SWOT ANALYSIS

S – strengths : จุดแขง็ W – weknesses : จุดอ่อน

๑. มีแหลง่ น้าตามธรรมชาตทิ อ่ี ดุ มสมบูรณ์ ๑. พน้ื ทข่ี องชมุ ชนเปน็ พื้นทป่ี ่าอนรุ กั ษแ์ ละป่าสงวนแหง่ ชาติ ทาให้เปน็

๒. มแี หลง่ อาหารตามธรรมชาติในพื้นที่ป่าและชมุ ชนอย่างอดุ มสมบูรณ์ ขอ้ จากดั ด้าน การพฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐาน
๓. มที รัพยากรป่าไม้และสตั ว์ปา่ ท่ีอดุ มสมบรู ณม์ ีความหลากหลายทางชวี ภาพ ๒. ถนนเป็นทางลูกรังการเดนิ ทางเขา้ พน้ื ท่ียากลาบาก มคี วามหา่ งไกลทา
๔. มพี ชื เศรษฐกิจและพืชสมนุ ไพรท่ีเป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม เช่น กาแฟ บกุ ใหเ้ ปน็ ขอ้ จากัดในการคมนาคมและการเข้าถงึ บรกิ ารภาครัฐ
อโวคาโด เงาะ ลิ้นจ่ีฯลฯ
๓. ไม่มีไฟฟ้าใช้ ใชพ้ ลงั งานแสงอาทติ ย์ท่ีมีข้อจากัดในการใช้
๕. มอี งค์กรเครอื ขา่ ยดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มทีเ่ ขม้ แขง็
๔. สัญญานโทรศัพท์ไม่ครอบคลุม
๖. มีวฒั นธรรมปกาเกอญอที่ดแู ลรกั ษาป่า ตน้ นา้
๕. เปน็ พืน้ ทไี่ ม่มีเอกสารสิทธ์ิ
๗.มภี ูมปิ ัญญาซง่ึ เปน็ ทนุ ทางสงั คม
๖. เปน็ พน้ื ท่ที ี่มีชายแดนติดตอ่ ประเทศเพอ่ื นบ้าน คอื เมียนมาร์ ทาให้
๘. ลักษณะการดาเนินชวี ติ ของคนในชมุ ชนมีความใกลช้ ดิ ผกู ผัน มีลกั ษณะ
การชว่ ยเหลอื เก้อื กลู เออ้ื อาทรซ่ึงกนั และกนั และยดึ ถือแนวทางปฏบิ ัตติ าม ได้รบั ผลกระทบเร่ืองหมอกควนั ไฟปา่

ประเพณีวัฒนธรรมและศาสนาอยา่ งเคร่งครัด

การวิเคราะหศ์ ักยภาพชมุ ชนพะโท ดว้ ย SWOT ANALYSIS

O - opportunities : โอกาส T – Threats : อปุ สรรค

๑. นโยบายรัฐบาล กระทรวง กรม มีโครงการศึกษาความ ๑.พืน้ ท่ีเปน็ ป่าสงวนแห่งชาติ และปา่ อนรุ กั ษ์ ท่ีเป็นอปุ สรรค
เหมาะสมในการพฒั นาโครงสร้างพื้นฐาน ในการพฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐาน
๒. มหี น่วยงานให้การสนบั สนุนในการจัดหาพลังงาน ๒.มีกฎหมายบงั คับใชห้ ลายฉบับ เชน่ พ.ร.บ. ป่าสงวน
ทางเลอื กทดแทนวธิ ีดาเนนิ การตามปกติ แห่งชาต,ิ พ.ร.บ.ปา่ อนุรักษ,์ ฯลฯ

แผนพืนทีค่ ้มุ ครองวิถีชีวิตกลุม่ ชาติพนั ธ์ุ

ที่ ยุทธศาสตร์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ วนั เวลา

ดาเนนิ กิจกรรม

๑ คมุ้ ครองวถิ ีชวี ิตและวฒั นธรรมกลมุ่ ชาติพันธุ์ ๑. สนบั สนนุ การสบื สานประเพณี ดีกู่ ๑.ร้อยละ ๘๐ ของคนในพ้ืนที่ มีส่วนร่วม ๒๐,๐๐๐.- กันยายน ๒๕๖๖
กล่มุ ชาตพิ ันธก์ุ ะแย
ดาเนนิ กจิ กรรม

๒. สนับสนุนกิจกรรมวันอาหารโลก ๒. วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธ์ุ ๒๐,๐๐๐.- ตลุ าคม ๒๕๖๖

๓. สนับสนนุ กิจกรรมวนั ภาษาและ ในพ้ืนที่ไดร้ บั การสบื สาน รกั ษา ตอ่ ยอด ๒๐,๐๐๐.- กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖

วฒั นธรรมปกาเกอญอ

๒ รกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติอย่างย่ังยนื ๑.โครงการรักษาทรัพยากร ปา่ ไม้ น้า ๑. ร้อยละ ๘๐ ของคนในพืน้ ที่ มสี ่วนรว่ ม ๒๐,๐๐๐.- มกราคม - กรกฎาคม
บ้านพะโท ดาเนินกจิ กรรม ๕๐,๐๐๐.- ๒๕๖๖
๒. ทรัพยากรปา่ น้าของชุมชนได้รบั การ
๒.จัดทาสือ่ ประชาสมั พันธ์ ไร่หมุนเวยี น บารุงรกั ษาอยา่ งย่งั ยนื

บา้ นพะโท

๓ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีบนฐานเศรษฐกิจ ๑.สนับสนนุ การจดั แสดงและจาหนา่ ย ๑.มีการจดั แสดงและจาหน่ายผลิตภัณฑ์ ๑๐๐,๐๐๐.- มกราคม -
กรกฎาคม ๒๕๖๖
วัฒนธรรม ผลิตภัณฑ์ทางวฒั นธรรมของกลมุ่ ชาตพิ ันธ์ใุ น ทางวัฒนธรรมของกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ ในงาน

งานเทศกาล ประเพณีและกิจกรรมสง่ เสรมิ การ เทศกาล ประเพณแี ละกิจกรรมสง่ เสรมิ

ท่องเที่ยวของจงั หวัด การทอ่ งเทย่ี วของจังหวัดไม่น้อยกว่า ๕

งาน/กจิ กรรม

๒. ประชาชนมีรายได้จากทนุ ทาง

วฒั นธรรม


Click to View FlipBook Version