The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทอาขยานบุพการี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ji-chat.sa, 2021-11-17 20:48:15

บทอาขยานบุพการี

บทอาขยานบุพการี

บทอาขยาน

บทอาขยาน
พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๒ ใหน้ ยิ ามคำ "อาขยาน" ไวว้ ่า บทท่องจำ การบอก

เลา่ การบอก การสวด เรอื่ ง นิทาน "อาขยาน" อ่านออกเสียงได้ ๒ อยา่ ง คือ อา - ขะ - หยาน หรอื อา - ขะ -ยาน
การท่องอาขยานในระยะแรก (พ.ศ. ๒๔๗๗ - ๒๔๗๘) เป�นการท่องจำ บทร้อยกรองที่ถือว่าไพเราะ ซึ่งตัดตอนมา
จากหนังสอื วรรณคดี โดยใหน้ ำมาทอ่ งประมาณ ๓ - ๔ หนา้ และมีการท่องบทอาขยานตดิ ต่อกนั เรอื่ ยมา

การท่องบทอาขยานจะใช้เวลาก่อนเลิกเรียนเล็กน้อย ให้นักเรียนทั้งห้องท่องพร้อมๆ กัน แต่เมื่อมีการ
ประกาศใช้หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๒๑ หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช ๒๕๒๑ และ
หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๒๔ จนถึงหลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๓๓ ในหลักสูตรทุก
หลกั สูตรมไิ ดร้ ะบใุ ห้ชดั เจนเกี่ยวกับการทอ่ งบทอาขยาน เปน� สาเหตุให้
การท่องบทอาขยานเร่ิมหายไปจากสถานศกึ ษาบางแห่ง จนถงึ ป�พุทธศักราช ๒๕๓๘ จงึ ไดม้ กี ารกำหนดบทอาขยาน
ขึน้ อีกครัง้ หน่ึงแตย่ ังไมแ่ พรห่ ลายเทา่ ท่ีควร

กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจึงมนี โยบายกำหนดใหม้ กี ารทอ่ งอาขยานอย่างจริงจังในสถาน ศกึ ษาต้งั แต่
ป�การศึกษา ๒๕๔๒ เปน� ต้นไป โดยมวี ตั ถุประสงค์ของการท่องอาขยาน ดงั นี้

๑. เพื่อให้นกั เรยี นตระหนักในคณุ ค่าของภาษาไทย และใหซ้ าบซง้ึ ในความไพเราะของบทร้อยกรอง
๒. เพ่อื เป�นพ้ืนฐานในการแตง่ คำประพันธ์
๓. เพอ่ื เป�นการสอ่ื ในการถ่ายทอดคุณธรรม คตธิ รรม และขอ้ คดิ ทเี่ ปน� ประโยชนแ์ ก่เยาวชน
๔. เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหม้ จี ิตสำนึกทางวฒั นธรรมของคนในชาตใิ นฐานะ "รากรว่ มทางวฒั นธรรม"
บทอาขยานท่กี ำหนดใหท้ อ่ งจำ
บทอาขยายทีใ่ ห้นักเรียนทอ่ งจำนนั้ แบ่งเป�น ๓ ประเภท คือ บทอาขยานที่เป�นบทหลัก บทรอง และบทเลือก
อสิ ระ
บทหลัก หมายถึง บทอาขยานท่ีกระทรวงศึกษาธิการเป�นผู้กำหนดให้นักเรียนนำไปท่องจำเพ่ือความ เป�น
อันหนึง่ อันเดียวกนั ทว่ั ประเทศ ดงั ปรากฏในเอกสาร
บทรอง หมายถึง บทอาขยานท่ีครูผู้สอนหรือสถานศึกษาเป�นผู้กำหนดให้นักเรียนท่องจำเสริมจากบท
อาขยานท่ีกระทรงศึกษาธิการกำหนด (บทหลัก) เป�นบทร้อยกรองท่ีมีลักษณะตรงตามหลักเกณฑ์การคัดเลือกบท
อาขยาน อาจเป�นบทร้อยกรองท่ีแสดงภูมิป�ญญาท้องถิ่น เช่น เพลงพ้ืนบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ค่าวชอ ผญา เพลงชา
นอ้ ง เพลงเรอื บทกวรี ่วมสมัยทม่ี คี ุณคา่ ฯลฯ โดยกำหนดให้ท่องจำภาคเรียนละ ๑ บท เปน� อย่างน้อย
บทเลือกอิสระ หมาย ถึง บทอาขยานท่ีนักเรียนแต่ละคนเลือกสรรมาท่องเองด้วยความสมัครใจ หรือด้วย
ความช่ืนชอบอาจเป�นบทร้อยกรองที่มผี ู้แตง่ ไว้ หรือเป�นบทร้อยกรองทน่ี กั เรียนแต่งขน้ึ เอง หรือผูป้ กครองเป�นผแู้ ต่ง

ขึ้นก็ได้ แต่ต้องบอกไดว้ ่ามีเหตุผลอย่างไรจึงเลือกบทร้อยกรองนน้ั ๆ มาท่องจำเป�นบทอาขยานของตนเองโดยความ
เหน็ ชอบของครูผสู้ อนหรอื สถานศึกษา

บทรอ้ ยกรองทจี่ ะคัดเลอื กให้เปน� บทรองและบทเลอื กอิสระ ควรมีลักษณะดงั นี้
๑. มเี นือ้ หา ความยากงา่ ยเหมาะสมกบั วยั
๒. มีความยาวพอเหมาะพอควร
๓. มคี ุณธรรม คตธิ รรม ให้แนวทางการดำเนินชีวิตทด่ี ีงาม
๔. มสี ุนทรียรสทางภาษา
๕. มีความถกู ตอ้ งตามฉันทลักษณ์
๖. มีรปู แบบทีห่ ลากหลาย
การอ่านบทอาขยานตามหลกั การทว่ั ไป
การอ่านบทอาขยานส่วนใหญ่เป�นการอ่านออกเสยี ง คือ ผู้อา่ นเปล่งเสียงออกมาดังๆ ในขณะทใี่ ชส้ ายตากวาด
ไปตามตัวอักษร ยึดหลักการอ่านออกเสียงเหมือนหลักการอ่านท่ัวไป เพื่อให้การอ่านออกเสียงมีประสิทธิภาพควร
ฝก� ฝน ดงั นี้
๑. กวาดสายตาจากคำต้นวรรคไปยังท้ายวรรค และเคล่ือนสายตาไปยังวรรคถัดไปอย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้อง
สา่ ยหนา้ ตามไป เพอื่ เป�นการอ่านลว่ งหน้า ทำใหก้ ารอ่านออกเสยี งตอ่ เนื่องกันไปโดนไมส่ ะดดุ ซะงกั
๒. ฝ�กเปล่งเสียงให้ดังพอประมาณโดยพิจารณาถึงกลุ่มผู้ฟ�งและสถานท่ี แต่ไม่ตะโกนควรบังคับเสียง
เน้นเสยี ง ปรับระดับเสยี งสูง - ต่ำ ใหส้ อดคลอ้ งกับจังหวะลีลา ท่วงทำนอง และความหมายของเนื้อหาที่อา่ น
๓. อ่านด้วยเสียงท่ีชัดเจน แจ่มใส ไพเราะ มีกระแสเสียงเดียว ไม่แตกพร่า เปล่งเสียงจากลำคอโดยตรงด้วย
ความม่ันใจ
๔. ควรทรงตัวและรักษาอากัปกิริยาให้ถูกวิธี จะช่วยให้ระบบกล้ามเน้ือต่างๆ ทำงานประสานกัน ทำให้เปล่ง
เสียงได้ดี มีท่วงท่าน่าเช่ือถือ ลักษณะการทรงตัวที่ถูกวิธีคือ ไม่ว่าจะยืนหรือนั่งอ่าน ลำตัวต้องตั้งตรง และอยู่ใน
อาการสมดุล ควรถือบทหรือหนังสือห่างจากสายตาประมาณหน่ึงฟุต ขณะอ่านพยายามให้ลำคอตั้งตรง เงยหน้า
เล็กนอ้ ย สบตากบั คนฟง� เปน� ระยะๆ
๕. อา่ นออกเสียงใหถ้ ูกอกั ขรวธิ ีหรือความนิยม และต้องเขา้ ใจเนอ้ื หาของบทอาขยานนี้ก่อน
๖. อ่านออกเสยี ง ร ล คำควบกลำ้ ให้ถูกตอ้ งชดั เจน
๗. อ่านให้ถูกจังหวะและวรรคตอน
๘. พยายามอ่านให้ได้อารมณแ์ ละความรู้สึกตามเนือ้ หา
การอ่านบทอาขยานเป�นทำนองเสนาะ
การอ่านบทอาขยานเป�นทำนองเสนาะช่วยให้บทอาขยานน้ันมีความไพเราะ นักเรียนเกิดความสนใจจดจำบท
อาขยานไดด้ ี และสนกุ สนานย่ิงขนึ้ การฝก� อา่ นทำนองเสนาะมขี ้ันตอนดังน้ี

๑. อ่านเป�นร้อยแก้วธรรมดาให้ถูกต้องชัดเจน ตามอักขรวิธีก่อน ทั้ง ร , ล ตัวควบกล้ำ อ่านออกเสียงให้ตรง
ตามเสยี งวรรณยุกต์

๒. อ่านใหถ้ ูกจังหวะวรรคตอน การอา่ นผดิ วรรคตอนทำให้เสียความ
๓. อา่ นให้สมั ผัสคล้องจองกันเพ่อื ความไพเราะ
๔. อ่านให้ถูกทำนองและลีลาของคำประพันธ์แต่ละชนิด คำประพันธ์แต่ละชนิดจะมีบังคับจำนวนคำสัมผัส
หรือคำเอก คำโท แตกต่างกัน การอ่านทำนองเสนาะจึงต้องอ่านให้ถูกท่วงทำนองและลีลาของคำประพันธ์แต่ละ
ชนิด
๕. อา่ นโดยใช้น้ำเสยี งให้เหมาะสมกับเนื้อหาและอ่านพยางคส์ ุดท้ายของวรรคดว้ ยการทอดเสยี ง แลว้ ปล่อยให้
หางเสยี งผวนขน้ึ จมูก

บทอาขยานบทหลกั ม. 1 ภาคเรยี นท่ี 2

บทอาขยานบทหลกั บพุ การี

ใครแทนพอ่ แม่ได้ ไป่มี เลยท่าน

คือคู่จันทรส์ ุรีย์ศรี สว่างหล้า

สิ้นท่านทวั่ ปฐพี มดื หม่น

หมองมง่ิ ขวัญซอ่ นหน้า นิ่งนำ้ ตาไหล ฯ

พอ่ แมเ่ สมอพระเจา้ บนสวรรค์

ลกู น่ิงน้อมม่งิ ขวญั กราบไหว้

นำ้ ตาตา่ งรสสคุ นั ธ์ อบรำ่ หอม�

หอมค่าน้ำใจไซร้ ท่านให้หมดเสมอ ฯ

ถงึ ตายเกดิ ใหม่ซ้ำ ไฉนสนอง

คณุ พ่อแมท่ ัง้ สอง สง่ั ฟ้า

นำ้ นมทล่ี กู รอง ดูดดืม่

หวานใหมใ่ นชาตหิ น้า กห่ี ลา้ �สลาย ฯ

รอยเท้าพ่อแมไ่ ด้ เหยียบลง ใดแล

เพียงแคฝ่ ุ่นธุลผี ง คา่ ไร้

กราบรอยท่านมิง่ มง- คลคู่ ใจนา

กายสทิ ธิใ์ สเ่ กล้าไว้ เพ่อื ใหข้ วญั ขลัง ฯ

องั คาร กัลยาณพงศ์
















































Click to View FlipBook Version